ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (สำนักงานเขตบางกอกใหญ่) : 50180000-7083

สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ : (2565)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นายณัฐชนน ชูชมชื่น 5726

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา (2557 - 2561) ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มไม่คงที่ โดยสถิติการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารในปี 2557 – 2561 พบร้อยละ 1.9 1.9 2.6 2.5 และ 2.1 ตามลำดับ และพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลง ในปี 2557 – 2561 พบอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ 709.0 688.8 678.1 1,015.2 และ 467.2 ตามลำดับ โดยพบว่าในช่วงเวลาเดียวกันอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในระดับประเทศมีแนวโน้มลดลงเช่นกัน (1,708.8 1,685.6 1,838.4 1,130.3 และ 1,358.6 ตามลำดับ) อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่กรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ทั้งนี้ สืบเนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นแหล่งศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่ง การกระจายสินค้า แหล่งวัตถุดิบอาหารส่วนใหญ่มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัด ซึ่งมีอยู่หลากหลายช่องทาง การผลิตวัตถุดิบอาหารซึ่งคือต้นน้ำของอาหารเป็นขั้นตอนการผลิตที่อยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้แหล่งจำหน่ายอาหารซึ่งก็คือปลายทางของอาหารก่อนที่จะถึงมือผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครยังคงพบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารเคมีต่างๆในวัตถุดิบอาหาร ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครอย่างสูงสุด สำนักงานเขตบางกอกใหญ่จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 ขึ้น ภายใต้แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) กำหนดวิสัยทัศน์ให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ภายในปี พ.ศ. 2575 โดยยุทธศาสตร์ที่ 1 “มหานครปลอดภัย” ให้ความสำคัญกับการเป็นมหานครที่มีอาหารปลอดภัยสำหรับการบริโภค มีเป้าหมาย คือ “ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ที่กำหนดยุทธศาสตรากรพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนครอบคลุมความรอบรู้ด้านสุขภาพ การควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่คุกคากต่อสุขภาพ การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร

50180400/50180400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อปรับปรุง พัฒนา ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะและด้านการสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการอาหาร ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร ทั้งด้านเคมีและด้านจุลินทรีย์

เป้าหมายของโครงการ

1. ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 2. ร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อโรค 3. ร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของสารพิษ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2022-08-31)

100.00

31/08/2565 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 142 แห่ง สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 142 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100.00 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100.00 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 69 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 31 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 17 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 100.00 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 52.11

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2022-07-26)

80.00

26/07/2565 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 142 แห่ง สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 143 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 139 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 102 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 47 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 97.89 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 52.11

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 74.00 (2022-06-29)

74.00

29/06/2565 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 142 แห่ง สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 213 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 124 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 16 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 36 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 268 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 45 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 97.89 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 52.11

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 63.00 (2022-05-30)

63.00

30/05/2565 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 142 แห่ง สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 52 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 41 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 68 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 24 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 97.89 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 52.11

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2022-04-27)

58.00

27/04/2565 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 142 แห่ง สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จำนวน 139 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.89 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 138 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.18 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 70 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 56 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 83 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 30 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 97.89 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 52.11

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 52.00 (2022-03-28)

52.00

28/03/2565 : 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 152 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 141 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 105 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 43 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 65.71 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 32.14

** ปัญหาของโครงการ :- สถานประกอบการบางแห่งปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด-19

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 46.00 (2022-02-24)

46.00

24/02/2565 : 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 95 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 29 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 49 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 17 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 60.71 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 31.43

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 42.00 (2022-01-26)

42.00

26/01/2565 : 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 111 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 64 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 13 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 14 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 77 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 19 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 51.70 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 29.25

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 34.00 (2021-12-30)

34.00

30/12/2564 : 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 74 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 42 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 82 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 23 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 30.82 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครฯ (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 16.44

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-11-30)

20.00

30/11/2564 : อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 70 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 14 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 80 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 19 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-10-30)

10.00

30/10/2564 : จัดทำโครงการพร้อมแผนปฏิบัติงานเพื่อเสนออนุมัติโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. จัดทำโครงการพร้อมแผนปฏิบัติงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2021-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ตรวจสุขาภิบาลสถานประกอบการ ด้านกายภาพ เคมี จุลชีววิทยา
:60.00%
เริ่มต้น :2021-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดซื้อค่าตัวอย่างอาหารในสถานประกอบการ
:10.00%
เริ่มต้น :2021-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดประชุมเครือข่ายงานสุขาภิบาบอาหารในสถานศึกษาในพื้นที่ จำนวน 1 ครั้ง
:5.00%
เริ่มต้น :2022-07-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-07-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. จัดประชุมผู้ประกอบการตลาดในพื้นที่
:5.00%
เริ่มต้น :2022-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. สรุปและรายงานผลของโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50180000-7083

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50180000-7083

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5018-850

ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 97.89

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
23.63

100 / 100
2
48.93

100 / 100
3
97.89

0 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **