ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายนราธร หัดทำ โทร.5723-5724
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและการที่ประชาชนต่างจังหวัดย้ายเข้ามาทำงานในกรุงเทพมหานครทำให้มีการบริโภคมากขึ้น ส่งผลให้มีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มขึ้นเรื่อย ๆ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นแยกเป็น เศษอาหาร เศษผลไม้ รวมทั้งใบไม้ ใบหญ้า มีจำนวนถึงร้อยละ 46 จากปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดหากยังไม่สามารถทำให้ลดลงได้จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมอย่างมากในอนาคตเพื่อลดปริมาณมูลฝอยดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์โดยการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้ในบ้านเรือนและปรับปรุงสภาพแวดล้อมเป็นการลดปริมาณมูลฝอย
50180600/50180600
2.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยและนำขยะเศษอาหารเศษผัก เศษผลไม้และใบหญ้า นำมาใช้ประโยชน์ในการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมัก 2.2 เพื่อลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร เศษผลไม้ ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย
จัดกิจกรรมการนำเศษอาหารมาใช้ประโยชน์ให้ชุมชน โรงเรียน ในพื้นที่เขตมีส่วนร่วมในการแปรรูปขยะ เศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ และใบไม้ใบหญ้า นำมาใช้ประโยชน์ในการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักอื่น ๆ
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : -ทำการหมักปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมักกับเศษอาหารและใบไม้ จำนวน 45 ลิตร - ทำการหมักปุ๋ยน้ำ จุลินทรีย์ ช้กากน้ำตาล 45 ลิตร เป็นส่วนผสมกับพืชผักผลไม้เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนนำไขยายผลการทำปุ๋ยจุลินทรีย์ด้วยตนเอง -นำน้ำชีวภาพที่หมัก เทลงคลองเพื่อบำบัดน้ำเสีย จำนวน 1000 ขวด -สนับสนุนมอบน้ำชีวภาพให้ประชาชนผู้มาขอรับน้ำชีวภาพไปทดลองใช้และทำปุ๋ยน้ำชีวภาพด้วยตนเองที่บ้าน จำนวน 100 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-29)
29/08/2566 : -ทำการหมักปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมักกับเศษอาหารและใบไม้ จำนวน 90 ลิตร -ทำการหมักปุ๋ยน้ำ จุลินทรีย์ ใช้กากน้ำตาล45ลิตร เป็นส่วนผสมกับพืชผักผลไม้ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนหรือหน่วยงานนำไปขยายผลการทำปุ๋ยจุลินทรีย์ด้วยตนเอง -นำน้ำชีวภาพที่หมักได้เทลงคลองเพื่อบำบัดน้ำเสีย จำนวน 1,200 ขวด -สนับสนุนมอบน้ำชีวภาพให้ประชาชนผู้มาขอรับจน้ำชีวภาพไปทดลองใช้และทำปุ๋ยน้ำชีวภาพด้วยตนเองที่บ้าน จำนวน 70 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-30)
30/07/2566 : -ทำการหมักปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมักกับเศษอาหารและใบไม้ จำนวน 80 ลิตร -ทำการหมักปุ๋ยน้ำจุลินทรีย์ ใช้กากน้ำตาล 40 ลิตร เป็นส่วนผสมกับพืชผักผลไม้เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนหรือหน่วยงานนำไปขยายผลการทำปุ๋ยจุลิทรีย์ด้วยตนเอง -นำน้ำชีวภาพที่หมักได้เทลงคลองเพื่อบำบัดน้ำเสีย จำนวน 1,000 ขวด -แจกน้ำชีวภาพให้ประชาชนได้ไปทดลองใช้และทำปุ๋ยน้ำชีวภาพด้วยตนเองที่บ้าน จำนวน 40 ขวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : - คัดแยกเก็บเศษผักผลไม้ในพื้นที่เขตและในตลาดนำมาหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพ โดยใช้กากน้ำตาล 150 ลิตร พืชผักผลไม้ จำนวน 2,500 กก.เพื่อเตรียมนำไปสาธิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขต -สนับสนุนและมอบปุ๋ยน้ำชีวภาพให้แก่ประชาชนที่สนใจนำไปทดลองใช้และใช้เป็นหัวเชื้อหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพและหมักปุ๋ยด้วยตนเองที่บ้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-05-25)
25/05/2566 : - เก็บเศษใบไม้ เศษพืชผักผลไม้ เศษอาหาร นำมาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมัก จำนวน 40 ลิตร - จัดเก็บเศษผักผลไม้มาหมักทำปุ๋ยน้ำจุลินทรีย์ ใช้กากน้ำตาล 25 ลิตร เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนหรือหน่วยงานนำไปขยายผลการทำปุ๋ยจุลินทรีย์ด้วยตนเอง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-24)
24/04/2566 : -คัดแยกจัดเก็บเศษผักผลไม้ในพื้นที่เขตและในตลาด นำมาหมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพโดยใช้กากน้ำตาล 120 ลิตร พืชผักผลไม้จำนวน 2,500 กก. เพื่อเตรียมนำไปสาธิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขต - สนับสนุนและมอบปุ๋ยน้ำชีวภาพให้แก่ประชาชนที่สนใจนำไปทดลองใช้และใช้เป็นหัวเชื้อหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพด้วยตนเองที่บ้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-03-24)
24/03/2566 : - เก็บเศษใบไม้ เศษพืชผักผลไม้ เศษอาหาร นำมาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมัก จำนวน 20 ลิตร -จัดเก็บเศษผักผลไม้มาหมักทำปุ๋ยน้ำ จุลินทรีย์ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนหรือหน่วยงานนำไปขยายการทำปุ๋ยจุรินทรีย์ด้วยตนเอง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : - ดำเนินการจัดเก็บเศษใบไม้ เศษพืชผักผลไม้ เศษอาหาร นำมาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพเป็นส่วนผสมในการหมักและแจกจ่ายเผยแพร่แก่ประชาชนนำไปทดลองใช้เองที่บ้าน - สาธิตการทำปุ๋ยใบไม้แห้งผสมหัวเชื้อจุลินทรีย์ (ขยะหอม) ให้แก่ประชาชน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-01-23)
23/01/2566 : - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ และได้ตั้งเบิกจ่ายเงินให้แก่ผู้ขายเรียบร้อยแล้ว - ดำเนินการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อการคัดแยกขยะและจัดเก็บขยะเศษอาหารมาหมักทำปุ๋ยชีวภาพในพื้นที่เขต - เตรียมหาเศษใบไม้ เศษอาหาร เพื่อเตรียมไปสาธิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขต
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-13)
13/01/2566 : เดือนตุลาคม 2565 - เดือนธันวาคม 2565 อยู่ระหว่างอนุมัติโครงการ ประชาสัมพันธ์ให้คำแนะนำและขอความร่วมมือประชาชนและโรงเรียนในการคัดแยกมูลฝอย นำเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ใบไม้มาใช้ประโยชน์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี / ไม่มี / เรียบร้อย / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี / ไม่มี / เรียบร้อย / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี / ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด
ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 70
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **