ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50180000-7158

สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรอบ ๕ ปีล่าสุด (ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓) พบว่าอัตราการป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ ๘๙.๘๔ ๙๑.๔๐ ๑๒๘.๗๒ ๑๑๖.๔๖ และ ๘๔.๕๒ ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ และลดลงในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บ่งชี้ว่ากรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร สืบเนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นแหล่งศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งการกระจายสินค้า แหล่งวัตถุดิบอาหารส่วนใหญ่มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัด ซึ่งมีอยู่หลากหลายช่องทางการผลิตวัตถุดิบอาหารซึ่งคือต้นน้ำของอาหารเป็นขั้นตอนการผลิตที่อยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้แหล่งจำหน่ายอาหารซึ่งก็คือปลายทางของอาหารก่อนที่จะถึงมือผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานครยังคงพบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารเคมีต่างๆ ในวัตถุดิบอาหารอยู่นั้น ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและ เกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครอย่างสูงสุด สำนักงานเขตบางกอกใหญ่จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕66 ขึ้น ภายใต้แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ฉบับปรับปรุง กำหนดวิสัยทัศน์ให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” โดยการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ในยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ ๑.๕ เมืองสุขภาพดี (Healthy City) ให้ความสำคัญกับการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารและการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร เพื่อให้ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ครอบคลุมความรอบรู้ด้านสุขภาพ การควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามต่อสุขภาพ การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี ทั้งนี้ เพื่อการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง และสถานประกอบกิจการด้านอาหารตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งในด้านการได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี และได้รับการป้องกันการเกิดโรคติดต่อในสถานประกอบการอาหาร

50180400/50180400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อปรับปรุง พัฒนา ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะและด้านการสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการอาหาร ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 2.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร ทั้งด้านเคมีและด้านจุลินทรีย์

เป้าหมายของโครงการ

3.1 ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 1) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) ร้อยละ 100 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย (ระดับ 4 ดาว/Green Service) ร้อยละ 20 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) ร้อยละ 10 3.2 ร้อยละ 96 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อโรค 3.3 ร้อยละ 98 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนของสารพิษ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)

100.00

29/09/2566 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 165 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 165 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 95 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.58 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 12.12

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2023-08-28)

98.00

28/08/2566 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 165 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 165 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 95 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.58 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 12.12

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-03)

95.00

03/08/2566 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 158 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 158 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95.76 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 91 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.15 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 11.51

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 93.00 (2023-06-26)

93.00

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 103 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 164 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 103 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62.80 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 48 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.27 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.27

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 86.00 (2023-05-30)

86.00

30/05/2566 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 103 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 164 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 103 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62.80 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 48 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.27 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.27

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 79.00 (2023-04-25)

79.00

25/04/2566 : ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 101 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 101 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 61.21 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 48 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.09 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.03 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 167 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 11 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 51 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 5 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 61.21 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 32.12

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-04-10)

72.00

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 90 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 90 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 54.55 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 37 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.42 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.03 1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยดำเนินการ 1. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 167 ตัวอย่างดังนี้ - บอแรกซ์ จำนวน 134 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน จำนวน 18 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ยาฆ่าแมลง จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดท จำนวน 8 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 2. เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3. ตรวจด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 33 แห่ง ไม่พบปัญหาด้านสุขลักษณะ 4. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีร้อยละ 54.55 2. โครงการกรุงเทพฯ อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงานงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยร้อยละของ สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( Green Service ) ร้อยละ 25.45

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-03-10)

55.00

10/03/2566 : 1. เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 00.00 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 00.00 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 00.00 2. เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 25 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 15.15 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.85 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.61 3. เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 33 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 5.45 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.61 4. เดือนมกราคม พ.ศ. 2566 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 54 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 54 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 32.73 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 23 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.94 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 1.82 5. เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการมีสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 79 แห่ง ของสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 165 แห่ง สถานประกอบการอาหารสามารถดำเนินการได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ร้อยละ 100) จำนวน 79 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 47.88 2. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B ตามกฎหมาย Green Service (ร้อยละ 20) จำนวน 32 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 19.39 3. ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด A ตามกฎหมาย Green Service Plus (ร้อยละ 10) จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.03

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. ขออนุมัติโครงการและแผนปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ตรวจสุขาภิบาลสถานประกอบการอาหาร ด้านกายภาพ เคมี และจุลชีววิทยา
:40.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดซื้อค่าตัวอย่างอาหารในสถานประกอบการ
:40.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดประชุมผู้ประกอบการตลาดในพื้นที่
:5.00%
เริ่มต้น :2023-06-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-06-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. จัดประชุมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาในพื้นที่ จำนวน 1 ครั้ง
:5.00%
เริ่มต้น :2023-07-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-07-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. สรุปและรายงานผลโครงการเสนอผู้บริหาร
:5.00%
เริ่มต้น :2023-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50180000-7158

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50180000-7158

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด :

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **