ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร : 50230000-3574

สำนักงานเขตบางขุนเทียน : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครปีพ.ศ. 2563(ตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม 2563–20 มิถุนายน 2563) มีผู้ป่วยสะสมจำนวน 1,515 รายอัตราป่วย 26.74 ต่อประชากรแสนคน (ผู้ป่วยสะสมทั้งประเทศ จำนวน 20,562 ราย)ลักษณะทางระบาดวิทยาจำแนกตามกลุ่มอายุ พบว่ากลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยสูงที่สุดคือกลุ่มอายุ 5-14 ปี อัตราป่วย 55.48 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือกลุ่มอายุ15-34 ปี และกลุ่มอายุ 0-4 ปี ตามลำดับ พื้นที่เขตบางขุนเทียนมีผู้ป่วยสะสมจำนวน 30 ราย อัตราป่วย 16.14ต่อประชากรแสนคนแม้อัตราป่วยไม่อยู่ในระดับสูงมาก แต่ก็ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในลำดับต้นๆ ทำให้มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วย เสียชีวิต สูญเสียค่ารักษาพยาบาล และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม โรคไข้เลือดออกมีปัจจัยสนับสนุนมาจากความหนาแน่นของประชากร ความแออัด วิถีชีวิตชุมชนเมือง และการเคลื่อนย้ายของประชากร ทำให้ไม่สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ตามเป้าหมาย ประกอบกับประชาชนในพื้นที่ไม่ให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและปรับสภาพแวดล้อมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบริเวณบ้านและชุมชนที่อยู่อาศัยการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและขับเคลื่อนทุกภาคส่วน โดยให้ความสำคัญกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดจำนวนยุงลายพาหะนำโรค ซึ่งเป็นมาตรการสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่จึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ได้มีการรับรองมติ “สานพลังปราบยุงลาย โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน” เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน เริ่มจากในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน ทำทุกคน ทำทุกที่ จำเป็นต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากหลายภาคส่วนทั้งเครือข่ายความร่วมมือต่างๆ องค์กร ชุมชน หน่วยงาน ครอบครัวและบุคคล โดยนำแนวทางการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน (Integrated Vector Management : IVM) มาบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ รวมถึงการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักของชุมชน ผู้บริหารองค์กร และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและประสานความร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตบางขุนเทียนตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคไข้เลือดออก และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เขตบางขุนเทียนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป

50230400/50230400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อเสริมสร้างระบบกลไกในการดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้เกิดความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.เพื่อให้ชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตบางขุนเทียน เป็นพื้นที่ปลอดลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด

เป้าหมายของโครงการ

ดำเนินกิจกรรมชุมชนการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน ในชุมชนจดทะเบียนพื้นที่เขตบางขุนเทียน จำนวน 51 ชุมชน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล
๗.๒.๒ การพัฒนาระบบการบริหารแผนและการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ%
๗.๒.๒.๒ การผลักดันผลการประเมินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-10-02)

100.00

02/10/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-29)

80.00

29/08/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 68.00 (2023-07-24)

68.00

24/07/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-21)

60.00

21/06/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-22)

50.00

22/05/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-04-24)

40.00

24/04/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-03-28)

35.00

28/03/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-23)

30.00

23/02/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-19)

20.00

19/01/2566 : รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-29)

10.00

29/12/2565 : ขออนุมัติโครงการฯ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:กิจกรรม กรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย
:20.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ดำเนินกิจกรรมชุมชนการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน
:30.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก เฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกสนัสนุนวัสดุให้ชุมชนและสุ่มสำรวจความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออกในชุมชน
:30.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:การประเมินผลการดำเนินโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการให้ผู้บริหารทราบ
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50230000-3574

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50230000-3574

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5023-6525

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **