ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มไม่คงที่ จากสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อจุลินทรีย์แต่ละชนิด พบว่ายังคงเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้องอาศัยวิธีการและความร่วมมือจากหลายภาคส่วน รวมไปถึงการบังคับใช้กฎหมายที่นอกเหนือจากการเฝ้าระวัง เพื่อให้ทราบสถานการณ์แนวโน้มต่างๆ สำหรับเป็นข้อมูลในการวางแผนแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหารรวมทั้งเป็นการสร้างเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้ เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวรวมทั้งผู้เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการที่ได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
50230400/50230400
2.1 เพื่อปรับปรุงมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในตลาด สถานที่จำหน่ายอาหารสถานที่สะสมอาหาร โรงเรียน และซูเปอร์มาร์เก็ต 2.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานที่จำหน่ายและสะสมอาหาร 2.3 เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการร้องเรียนด้านอาหาร 2.4 เพื่อประสานความร่วมมือ และร่วมกำหนดทิศทางในการดำเนินงานให้แผนยุทธศาสตร์ ประสบความสำเร็จ 2.5 เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย 2.6 เพื่อสร้างเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 2.7 เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ ในการดำเนินการปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกฎหมาย
3.1 สถานที่จำหน่ายและสะสมอาหาร มีสุขลักษณะที่ดี โดยได้รับการตรวจประเมินสุขลักษณะทางด้านกายภาพ 3.2 เฝ้าระวังความปลอดภัยอาหารที่วางจำหน่ายในสถานที่จำหน่ายและสะสมอาหาร ซึ่งร้อยละ 90 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหารไม่พบการปนเปื้อน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ตลาด24 แห่ง สถานที่จำหน่ายอาหาร 180 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต 5 แห่ง มินิมาร์ท 54 แห่ง โรงเรียน 31 แห่ง และอาหารริมบาทวิถี 44 แห่ง
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-10-02)
02/10/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 70 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 2 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 0 แห่ง 4.มินิมาร์ท 0 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี 3 แห่ง 7.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 775 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-29)
29/08/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 70 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 2 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 0 แห่ง 4.มินิมาร์ท 0 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี 3 แห่ง 7.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 775 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 11 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 1 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 13 แห่ง 4.มินิมาร์ท 0 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี 0 แห่ง 7.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 269ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : .ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 4 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 2 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 34 แห่ง 4.มินิมาร์ท 0 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 402 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-22)
22/05/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 4 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 1 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 6 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 6 แห่ง 4.มินิมาร์ท 27 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 6 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 564 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-04-24)
24/04/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 4 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 1 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 4 แห่ง 4.มินิมาร์ท 17 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 359 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-03-30)
30/03/2566 : 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 4 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 1 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 4 แห่ง 4.มินิมาร์ท 17 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 359 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-02-23)
23/02/2023 อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 0 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 0 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 0 แห่ง 4.มินิมาร์ท 3 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 20 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 157 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-19)
19/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะร้านอาหารจำนวน 0 แห่ง 2.ออกปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะ ตลาดประเภท 1จำนวน 0 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 2 แห่ง 3.ตรวจซูเปอร์มาร์เกต 0 แห่ง 4.มินิมาร์ท 22 แห่ง 5.ร้านสะสมอาหาร 0 แห่ง 6.สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารตรวจสอบหารสารเคมีปนเปื้อนโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น และตรวจความสะอาดด้วยชุดSI-2 ในอาหาร ภาชนะ และมือผู้สัมผัสอาหาร 196 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2022-12-29)
29/12/2565 : ขออนุมัติโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **