ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย : 50250000-3635

สำนักงานเขตดอนเมือง : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

- การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด และปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนันสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยื่น ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560-2564 มุ่งเน้นการป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัย และบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพ อันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพ และนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน - สำนักงานดอนเมือง จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด และปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น

50250400/50250400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ควบคุม กำกับ และตรวจสอบการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การควบคุมป้องกันโรค และการประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง

เป้าหมายของโครงการ

ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เหตุร้องเรียน การควบคุมป้องกันโรค และการประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในบ้านเรือน ชุมชน สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 45 ครั้ง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-28)

100.00

28/09/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 45 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 35 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-30)

95.00

30/08/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 45 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 35 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 91.00 (2023-07-19)

91.00

19/07/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 38 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 35 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 81.00 (2023-06-21)

81.00

21/06/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 30 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 35 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-05-24)

75.00

24/05/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 25 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 35 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-04-24)

65.00

24/04/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 21 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 31 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 52.00 (2023-03-29)

52.00

29/03/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 17 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 25 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 23.00 (2023-01-25)

23.00

25/01/2566 : 1. ตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 9 ครั้ง 2. การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 10 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-03)

10.00

03/01/2566 : ขออนุมัติโครงการและดำเนินการตามแผนที่กำหนด

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ขออนุมัติโครงการและรายละเอียดการจัดกิจกรรม
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ดำเนินกิจกรรมที่ 1 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตดอนเมือง
:40.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ดำเนินกิจกรรมที่ 2 การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐
:40.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:สรุปรายงานส่งให้สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50250000-3635

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50250000-3635

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5025-6526

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

0 / 0
2
2.00

100 / 100
3
0.00

100 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **