ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณพ.ศ. 2566 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ต่อเนื่องจากโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงาน ด้านอาหารปลอดภัย เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัว และตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย จากทุกสำนักงานเขต เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตบึงกุ่ม จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตบึงกุ่ม และสนับสนุนโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
50280400/50280400
2.1 เพื่อให้มีการป้องกัน เฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษในอาหารและน้ำ 2.2 เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 2.3 เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทางเลือกในการซื้ออาหารที่ปลอดภัยบริโภค
3.1 เก็บตัวอย่างอาหารจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 375 ตัวอย่าง เพื่อตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร และส่งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาและทางเคมี โดยเก็บตัวอย่างจากกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท และโรงเรียนในพื้นที่เขต 3.2 เก็บตัวอย่างผักสด เพื่อตรวจวิเคราะห์สารกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในผักสด จำนวน 300 ตัวอย่าง โดยเก็บตัวอย่างจากกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท และโรงเรียนในพื้นที่เขต 3.3 ตรวจสอบด้านสุขลักษณะทางกายภาพของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท และโรงเรียนในพื้นที่เขต ตามหลักการสุขาภิบาล ที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง สถานที่จำหน่ายและสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ. ๒๕๔๕ อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง 3.4 ดำเนินกิจกรรมเครือข่ายการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนระดับเขต โดยดำเนินการในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และโรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร 3.5 ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โดยดำเนินการในตลาดสด จำนวน 3 แห่ง 3.6 ส่งเสริมให้ผู้สัมผัสอาหารในสถานประกอบการในพื้นที่เขต เข้าอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร โดยการจัดอบรมของส่วนกลางหรือวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Study) 3.7 ส่งเสริมให้สถานประกอบการในพื้นที่เขต ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ครบทุกแห่ง
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-22)
22/09/2566 : ดำเนินการแล้วเสร็จ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-30)
30/08/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 45 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 45 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 30 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-27)
27/07/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 50 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 40 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 25 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-26)
26/06/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 40 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 40 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 20 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-05-31)
31/05/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 50 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 30 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 20 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-04-27)
27/04/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 45 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 25 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 20 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-03-24)
24/03/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 50 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 30 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 20 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 55 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 30 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 25 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-01-30)
30/01/2566 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารและผักสด แบ่งเป็นตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี จำนวน 50 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 25 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง และตรวจหายาฆ่าแมลงในผักสด จำนวน 25 ตัวอย่าง ตรวจสอบไม่พบยาฆ่าแมลงทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------