ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 90
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล (องอาจ)
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) เชื้อไวรัส H๑N๑ หรือไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ ได้เกิดขึ้นทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ได้แก่ การคมนาคม ธุรกิจการค้า การท่องเที่ยว การบริโภค ท้ายที่สุดแล้วส่งผลกระทบต่อการลงทุน การเงิน การตลาด สถานการณ์ของการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ในกรุงเทพมหานคร ยังคงมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจำเป็นต้องติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ การแพร่กระจายของเชื้อโรคอาจเกิดโดยทางตรงจากการสัมผัสน้ำมูก น้ำลาย น้ำเหลือง หรือเชื้อโรคอื่น ๆ ตามมาโดยทางอ้อม เช่น โรคตาแดง โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วง ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน แหล่งชุมนุมชน และกิจกรรมที่มีประชาชนจำนวนมากมารวมตัวกัน ดังนั้น ทุกภาคส่วนจึงมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ และโรคติดต่ออื่น ๆ ในหน่วยงานของตนเองและต่อชุมชนได้ และจากสถิติพบว่าการระบาดของผู้ป่วยส่วนใหญ่พบในสถานศึกษา และชุมชน สำนักงานเขตราชเทวี ได้ตระหนักถึงอันตรายจากโรคดังกล่าว และห่วงใยสุขภาพอนามัยของประชาชน ในฐานะที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันและควบคุมโรค จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันกำจัดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ และโรคติดต่ออื่น ๆ และลดจำนวนผู้ป่วยให้น้อยลง
50320400/50320400
1 เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคมือ เท้า ปากและโรคติดต่ออื่น ๆ 2 เพื่อลดอัตราการเกิดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ 3 เพื่อช่วยลดการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่าง ๆ ได้
สำนักงานเขตราชเทวี สามารถปฏิบัติการป้องกันและกำจัดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ได้ครอบคลุมทั่วพื้นที่เขตราชเทวี
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร |
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล |
๗.๒.๒ การพัฒนาระบบการบริหารแผนและการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ% |
๗.๒.๒.๒ การผลักดันผลการประเมินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-08-26)
26/08/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-27)
27/06/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-24)
24/05/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-03-21)
21/03/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-02-21)
21/02/2566 : รอข้อมูลจากผู้เกี่ยงข้อง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : วางแผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและกำจัดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ และโรคติดต่ออื่น ๆ ฉีดพ่น เช็ดถู น้ำยาฆ่าเชื้อโรคทางสาธารณสุข
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการโครงการภารกิจประจำของหน่วยงาน
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **