ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการสัมมนาศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย ด้านมลพิษทางอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5) : 50330000-3297

สำนักงานเขตคลองเตย : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาจากมลพิษสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน มีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้รายงานว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับปัญหามลพิษทางอากาศถึงปีละ 7 ล้านคนทั่วโลก (WHO, 2557) โดยมลพิษทางอากาศที่เป็นปัญหาสำคัญ คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ประกอบกับข้อมูลการรายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศของประเทศไทย พบว่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ที่มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ส่วนใหญ่มีแหล่งกำเนิดจากกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศจากภาคพลังงาน เช่น โรงไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม การขนส่งและจราจร ฝุ่นละอองจากถนน เขม่าจากเชื้อเพลิงน้ำมันดีเซล การก่อสร้าง และการเผาในที่โล่ง (เผาเศษวัสดุทางการเกษตร ไฟป่า เป็นต้น) รวมถึงหมอกควันข้ามแดนจากปัญหาไฟป่าของประเทศเพื่อนบ้าน สำนักงานเขตคลองเตย ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสัมมนาศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มศักยภาพประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย ด้านมลพิษทางอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5) ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยการพาผู้แทนประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตยไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการและแนวทางการป้องกันและแก้ไขฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชนและประชาชน ในการแก้ไขฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ตลอดจนการลงพื้นที่ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบที่ได้รับรางวัล (การจัดการฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ในชุมชน) เพื่อเป็นการสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย ให้ตระหนักถึงผลกระทบจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ตลอดจนการป้องกันและดูแลสุขภาพให้ปลอดภัยจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5

50330400/50330400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อศึกษาแนวทางและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการและแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชนและประชาชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย เกิดจิตสำนึกและเพิ่มวิสัยทัศน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 แบบมีส่วนร่วม ตลอดจนเกิดกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5

เป้าหมายของโครงการ

มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 336 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น แบบพักค้าง จำนวน 4 วัน และศึกษาดูงาน ณ สำนักงานเขตคลองเตย และจังหวัดเชียงใหม่ แบบพักค้างจำนวน 4 วัน 2 คืน ประกอบด้วย - รุ่นที่ 1 ประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย จำนวน 156 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน จำนวน 12 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 168 คน - รุ่นที่ 2 ประชาชนในพื้นที่เขตคลองเตย จำนวน 156 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน จำนวน 12 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 168 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-04-24)

100.00

24/04/2566 : 1 เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่ รุ่นที่ 1 วันที่ 18-21 มกราคม 2566 และ รุ่นที่ 2 วันที่ 25-28 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว 2 เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 50,400 บาท แล้ว 3 เบิกจ่ายค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน 10,000 บาท แล้ว 4 เบิกจ่ายค่าอาหารครบมื้อ จำนวน 268,800 บาท แล้ว 5 เบิกจ่ายค่าอาหารไม่ครบมื้อ (วันแรก) จำนวน 436,800 บาท แล้ว 6 เบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 8,400 บาท แล้ว (เหลือ 33,600 บาท) 7 เบิกจ่ายค่าจ้างเหมารถยนต์โดยสารปรับอากาศขนาด 40 ที่นั่งขึ้นไป จำนวน 382,400 บาท (เหลือ 126,400 บาท) แล้ว 8 เบิกจ่ายค่าเช่าที่พัก จำนวน 504,000 บาท แล้ว 9 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน จำนวน 9,000 บาท (ไม่เบิกจ่าย) 10 คืนเงินเหลือจากการเบิกจ่าย จำนวน 169,000 บาท แล้ว

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-03-24)

90.00

24/03/2566 : 1 เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่ รุ่นที่ 1 วันที่ 18-21 มกราคม 2566 และ รุ่นที่ 2 วันที่ 25-28 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว 2 เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 50,400 บาท แล้ว 3 เบิกจ่ายค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน 10,000 บาท แล้ว 4 เบิกจ่ายค่าอาหารครบมื้อ จำนวน 268,800 บาท แล้ว 5 เบิกจ่ายค่าอาหารไม่ครบมื้อ (วันแรก) จำนวน 436,800 บาท แล้ว 6 เบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 8,400 บาท แล้ว (เหลือ 33,600 บาท) 7 อยู่ระหว่างเบิกจ่ายค่าจ้างเหมารถยนต์โดยสารปรับอากาศขนาด 40 ที่นั่งขึ้นไป จำนวน 382,400 บาท (เหลือ 126,400 บาท) 8 เบิกจ่ายค่าเช่าที่พัก จำนวน 504,000 บาท แล้ว 9 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน จำนวน 9,000 บาท (ไม่เบิกจ่าย) 10 คืนเงินเหลือจากการเบิกจ่าย จำนวน 169,000 บาท แล้ว

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-02-24)

90.00

24/02/2566 : 1 เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่ รุ่นที่ 1 วันที่ 18-21 มกราคม 2566 และ รุ่นที่ 2 วันที่ 25-28 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว 2 เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 50,400 บาท แล้ว 3 เบิกจ่ายค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน 10,000 บาท แล้ว 4 เบิกจ่ายค่าอาหารครบมื้อ จำนวน 268,800 บาท แล้ว 5 เบิกจ่ายค่าอาหารไม่ครบมื้อ (วันแรก) จำนวน 436,800 บาท แล้ว 6 เบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 8,400 บาท แล้ว (เหลือ 33,600 บาท) 7 อยู่ระหว่างเบิกจ่ายค่าจ้างเหมารถยนต์โดยสารปรับอากาศขนาด 40 ที่นั่งขึ้นไป จำนวน 382,400 บาท (เหลือ 126,400 บาท) 8 เบิกจ่ายค่าเช่าที่พัก จำนวน 504,000 บาท แล้ว 9 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน จำนวน 9,000 บาท (ไม่เบิกจ่าย) 10 คืนเงินเหลือจากการเบิกจ่าย จำนวน 169,000 บาท แล้ว

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-01-26)

40.00

26/01/2566 : เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่ รุ่นที่ 1 วันที่ 18-21 มกราคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-01-25)

40.00

25/01/2566 : เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่ รุ่นที่ 1 วันที่ 18-21 มกราคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2022-12-31)

5.00

31/12/2565 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการเตรียมการดำเนินงาน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. ขออนุมัติโครงการและรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ประชุมหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจง/รับฟังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานและร่วมกันถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อโครงการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. กำหนดรายละเอียดการโครงการจัดทำเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องประสานวิทยากร และสถานที่จัดสัมมนาฯ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดทำคำสั่งให้ข้าราชการเข้าร่วมโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. ขออนุมัติจัดสรรงบประมาณ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. ประสานรายละเอียดการศึกษาดูงานและที่พักในจังหวัดเชียงใหม่
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7. เดินทางเพื่อศึกษาดูงาน ณ จังหวัดเชียงใหม่
:40.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:8. ติดตามประเมินผล สรุปผลการดำเนินการและจัดทำรายงานเสนอผู้บริหาร
:10.00%
เริ่มต้น :2023-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-03-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50330000-3297

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50330000-3297

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด :

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **