ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

สร้างต้นแบบการจัดการขยะต้นทางด้วยเครื่องอัดก้อนขยะกำพร้าและใบไม้ : 50340000-7150

สำนักงานเขตประเวศ : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทำให้มีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอยโดยเฉพาะปัญหาขยะมูลฝอยจากชุมชน หมู่บ้าน ห้างร้าน สถานประกอบการ ที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรและการเติบโตของเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. 2566 มีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้เฉลี่ย 10,500 ตัน/วัน ซึ่งในอนาคตหากไม่มีมาตรการในการลดปริมาณมูลฝอยจะทำให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และต้องใช้งบประมาณในการจัดการมูลฝอยเป็นจำนวนมาก อีกทั้งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมหากไม่มีการกำจัดและทำลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล

50340600/50340600

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1.เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะ เพื่อลดปริมาณมูลฝอย 2.2 เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนและประชาชนได้ตระหนักและรับรู้ความจำเป็นในการคัดแยกขยะและได้ใช้ประโยชน์ 2.3 เพื่อลดปริมาณมูลฝอยที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและนำไปกำจัด

เป้าหมายของโครงการ

สร้างต้นแบบการจัดการขยะต้นทางด้วยเครื่องอัดก้อนขยะกำพร้าและใบไม้ จำนวน 3 เครื่อง นำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ชุมชน 14 ไร่ ชุมชน 40 ไร่ และอาคารสำนักงานเขตประเวศ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-28)

100.00

28/09/2566 : ดำเนินการแล้วเสร็จตามที่เป้าหมายที่กำหนดไว้

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-08-31)

90.00

31/08/2566 : สร้างต้นแบบครื่องอัดก้อนขยะกำพร้าและใบไม้แล้วเสร็จ จำนวน 3 เครื่อง เพื่อนำไปใช้และขยายผลสู่ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่ให้ความสนใจ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. วิเคราะห์ปัญหา/ อุปสรรคที่ต้องการพัฒนาเพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ศึกษาข้อมูลกระบวนการจัดสร้างต้นแบบเครื่องอัดก้อนขยะกำพร้าและใบไม้
:10.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. ดำเนินการสร้างต้นแบบเครื่องอัดก้อนขยะกำพร้าและใบไม้
:20.00%
เริ่มต้น :2023-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. นำต้นแบบเครื่องอัดก้อนขยะกำพร้า หรือใบไม้ไปใช้ ประโยชน์ ในชุมชน และสำนักงานเขต
:20.00%
เริ่มต้น :2023-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะ
:10.00%
เริ่มต้น :2023-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7. ประสานหน่วยงานภายนอกรับผลผลิต เช่น SCG หรือส่งสำนักสิ่งแวดล้อม
:10.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:8. ติดตามผลการดำเนินงานและรายงานผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50340000-7150

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50340000-7150

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5034-1000

ตัวชี้วัด : ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 35

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

0 / 0
2
40.00

0 / 0
3
35.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **