ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายแสนศักดิ์ ประสาทศิลป์ (090-9256116)
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
เนื่องจากขยะมีแนวโน้มเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามจำนวนประชากร ทำให้กรุงเทพมหานครต้องเสียงบประมาณในการกำจัดมูลฝอยเป็นเงินจำนวนมาก และมีปัญหาพื้นที่สำหรับฝังกลบมีน้อยลง ซึ่งส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ในการนี้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้ประชาชารู้จักคัดแยกขยะเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ขยะเศษอาหาร ขยะยังใช้ได้ และขยะพิษ โดยขยะเศษอาหารเป็นขยะสดที่เน่าเสียย่อยสลายได้ จำเป็นต้องดำเนินการกำจัดอย่างรวดเร็ว โดยการแปรรูปเศษอาหารให้เป็นปุ๋ยชีวภาพสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
50370600/50370600
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ เช่น มูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 3. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและกำจัด
คัดแยกเศษผักผลไม้นำมาแปรรูปเป็นขยะเศษอาหารเป็นขยะหอม จำนวน 1,500 กิโลกรัม/เดือน
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-29)
29/09/2564 : จัดเก็บเศษผลไม้ในพื้นที่เขตนำมาแปรรูปทำน้ำหมักชีวภาพได้ปริมาณ 10 ตัน, สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ในพื้นที่เขตได้ปริมาณ 675 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 92.00 (2021-08-31)
31/08/2564 : รวบรวมเศษผัก ผลไม้ ในพื้นที่ นำมาแปรรูปทำน้ำหมักชีวภาพได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 620 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 83.00 (2021-07-31)
31/07/2564 : รวบรวมเศษผลไม้ในพื้นที่นำมาแปรรูปทำน้ำหมักชีวภาพได้ปริมาณ 9.5 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 668 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-06-30)
30/06/2564 : จัดเก็บขยะอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่เขต นำมาใช้ประโยชน์โดยการทำน้ำหมักชีวภาพ ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 688 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี (30 มิ.ย.64)
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2021-05-30)
30/05/2564 : รวบรวมมูลฝอยอินทรีย์ (เศษผลไม้) ทำน้ำหมักชีวภาพใช้ประโยชน์ในพื้นที่ได้ปริมาณ 9.5 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 687.6 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2021-04-29)
29/04/2564 : คัดแยกเศษผลไม้จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่ เช่น บ้านเรือนประชาชนที่ประกอบอาชีพขายผลไม้ รถเข็น แผงผัก ผลไม้ในตลาด สถานประกอบการ ร้านอาหาร โรงแรมในพื้นที่ นำมาแปรรูปทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 686.98 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี (29 เม.ย.64)
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-03-31)
31/03/2564 : คัดแยกเศษผลไม้จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่ เช่น บ้านเรือนประชาชนที่ประกอบอาชีพขายผลไม้ รถเข็น แผงผัก ผลไม้ในตลาด สถานประกอบการ ร้านอาหาร โรงแรมในพื้นที่ นำมาแปรรูปทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ได้ปริมาณ 10 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 685.5 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี (31 มี.ค.64)
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 41.00 (2021-02-26)
26/02/2564 : คัดแยกเศษผลไม้จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่ เช่น บ้านเรือนประชาชนที่ประกอบอาชีพขายผลไม้ รถเข็น แผงผัก ผลไม้ในตลาด สถานประกอบการ ร้านอาหาร โรงแรมในพื้นที่ นำมาแปรรูปทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 637.5 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2021-01-31)
31/01/2564 : คัดแยกเศษผลไม้จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่ เช่น ผู้ค้าผลไม้ รถเข็น แผงลอย และตลาดในพื้นที่ นำมาแปรรูปทำปุ๋ยน้ำชีวภาพเพื่อใช้ประโยชน์ เช่น การล้างคราบสกปรก ล้างคราบไขมัน ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 686.2 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2020-12-31)
12/31/2020 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ประชาสัมพันธ์และสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผลไม้ ณ ชุมชนซอยแม่เนี้ยว แยก 3, รวบรวมมูลฝอยอินทรีย (เศษผลไม้)จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่เขตทำน้ำหมักชีวภาพประจำเดือนธันวาคม 2563 ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ปริมาณ 686.47 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี (31 ธ.ค.63)
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 16.00 (2020-11-30)
30/11/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1. ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับการนำน้ำหมักชีวภาพในงาน cpgf ณ ศูนย์การค้าฟอร์จูนทาวน์ 2. รวบรวมเศษผลไม้จากแหล่งกำเนิดในพื้นที่เขตทำน้ำหมักชีวภาพประจำเดือนตุลาคม 2563 ได้ปริมาณ 9.5 ตัน และเดือนพฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณ 9 ตัน สำรวจการคัดแยกขยะอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 ได้ปริมาณ 691.98 ตัน และเดือนพฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณ 663.36 ตัน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี (30 พ.ย.63)
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-10-31)
31/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...เสนอขออนุมัติโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี (31 ต.ค.63)
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อทราบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน) (องค์ประกอบที่ 2)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 30 : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ 30 : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **