ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50390000-7109

สำนักงานเขตวัฒนา : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

น.ส.สมปอง กาญจนพิบูลย์ โทร 0 2381 3943

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่เพื่อให้การดำเนินงานดก้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตวัฒนาจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อให้หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชันได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องของความปลอดภัยของอาหารรวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

50390400/50390400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3.เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารอาหารและอาหารปลอดภัย 4.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

1.สุ่มตรวจและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารที่จำหน่าย ณ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต อาหารริมบาทวิถี และโรงเรียน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมี และร้อยละ 95 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคเกินเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2.ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารปฏิบัติตามเกณฑ์ด้านสุขลักษณะของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ ๑๐๐ 3.จัดการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา พื้นที่เขตวัฒนา เทอมละ ๑ ครั้ง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-26)

100.00

26/09/2566 : 1.การประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 จำนวน 43 คน 2.เก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทศสอบเบื้องต้น (Test kit) จำนวน 12,342 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3.การเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการสถาบันอาหาร ทั้งหมด 81 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 7 ตัวอย่าง และได้แนะนำให้ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องด้านสุขลักษณะ เก็บตัวอย่างอาหารตรวจซ้ำไม่พบการปนเปื้อน 4.สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1533 ราย จากทั้งหมด 1533 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (เป้าหมาย ร้อยละ 100) - Green Service Plus เกรด A (5 ดาว) จำนวน 361 ราย คิดเป็น ร้อยละ 23.55 - Green Service เกรด B (4 ดาว) จำนวน 624 ราย คิดเป็น ร้อยละ 40.70 - ระดับดี เกรด C (3 ดาว) จำนวน 548 ราย คิดเป็น ร้อยละ 35.75

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-24)

80.00

- ดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบ การอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในภาคสนาม ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้อง ปฏิบัติการที่ได้รับการว่าจ้างจากสำนักอนามัย ตามแผนปฏิบัติงานที่หน่วยรับจ้างและสำนักอนามัยกำหนด - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-26)

70.00

26/06/2566 : ออกปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร - เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ - ออกตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-25)

60.00

ดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหารและซูเปอร์มาร์เก็ต 1.กรณีตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในภาคสนาม ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการของสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย เพื่อยืนยันผลในกรณีที่ตรวจพบว่าปนเปื้อนโดยชุดทดสอบเบื้องต้น 2.เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-24)

50.00

24/04/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบ การอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร และซูเปอร์มาร์เก็ต ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในภาคสนาม ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-28)

40.00

28/03/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบ การอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-22)

30.00

22/02/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบ การอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร และซูเปอร์มาร์เก็ต - กรณีตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในภาคสนาม ตรวจวิเคราะห์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-04)

20.00

04/01/2566 : ตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในภาคสนาม โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร

** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอและติดภารกิจอื่น ทำให้ไม่สามารถออกตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. จัดทำโครงการพร้อมแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบ การอาหารและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี โดยจัดทำแผนปฏิบัติงานให้เป็
:70.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
:15.00%
เริ่มต้น :2023-07-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-07-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดกิจกรรมการพัฒนาตลาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย
:15.00%
เริ่มต้น :2023-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-03-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50390000-7109

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50390000-7109

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5039-953

ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของงานประจำพื้นฐาน

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 71.1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
28.14

0 / 0
2
49.36

0 / 0
3
71.10

0 / 0
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **