ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวณัฏฐิกา อินทรเจริญ โทร.7429
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงเริ่มโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ) ปีพ.ศ.๒๕๓๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช ให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ จนเกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย และให้มีระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชสื่อถึงกัน ทั่วประเทศ โดยมีการดำเนินงาน ๘ กิจกรรม คือ ๑) กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช ๒) กิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช ๓) กิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช ๔) กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ๕) กิจกรรมศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช ๖) กิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธุกรรมพืช ๗) กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ๘) กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช กรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเป็นทัพยากรที่สำคัญของประเทศ ร่วมสนองพระราชดำริ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2562 โดยกำหนดพื้นที่เขตจอมทองเป็นเขตนำร่อง ต่อมามอบหมายให้สำนักพัฒนาสังคม รับผิดชอบการดำเนินโครงการ ในปี พ.ศ.2549 ได้มอบหมายให้สำนักสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินโครงการฯ และขยายพื้นที่การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชครอบคลุม 50 สำนักงานเขต และปี พ.ศ.2552 มอบหมายให้สำนักการศึกษาดำเนินกิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โรงเรียนเคหะทุ่งสองห้องวิทยา 1 ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเป็นทรัพยากรที่สำคัญของประเทศ จึงได้ดำเนินกิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยการบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ให้เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชตามแนวทางพระราชดำริต่อไป
50410700/50410700
1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามแนวทางพระราชดำริฯ 2. เพื่อให้ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1. ด้านปริมาณ ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน มีความรู้ความเข้าใจในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 2. ด้านคุณภาพ ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน สามารถนำความรู้ ความเข้าใจในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล |
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ% |
๗.๒.๑.๒ หน่วยงานมีแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-04-28)
28/04/2564 : เบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-03-30)
30/03/2564 : โรงเรียจัดทำเอกสารเบิกจ่ายงบประมาณ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2021-02-25)
25/02/2564 : โรงเรียนดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2021-01-26)
26/01/2564 : โรงเรียนผู้รับผิดชอบโครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2020-12-28)
28/12/2563 : กำหนดการดำเนินการช่วงเดือน ก.พ. 64
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2020-11-23)
23/11/2563 : ประชุมเพื่อกำหนดหัวข้อการดำเนินโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-10-22)
22/10/2563 : ได้รับอนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 65.22
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **