ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายปกครอง
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
50410100/50410100
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร |
๗.๕ -เทคโนโลยีสารสนเทศ |
๗.๕.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการให้บริการเพื่อขับเคลื่อนภารกิจของกรุงเทพมหานคร% |
๗.๕.๑.๒ การพัฒนาระบบการจัดการภายในอย่างมีประสิทธิภาพ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : ตัวชี้วัดที่ 1 นวัตกรรมที่พัฒนา คือ เครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคนและทดลองใช้ในพื้นที่ที่มี ท่อระบายน้ำอยู่บนแนวทางเท้าหรือซอยที่แคบ จำนวน 1 เครื่อง รายละเอียดการดำเนินงาน : 1) จัดประชุมเพื่อระดมแนวคิดและการวางแผนดำเนินงาน 2) ฝ่ายโยธาดำเนินการออกแบบเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคน 3) ฝ่ายโยธาประมาณราคาค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการผลิตเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคน 4) ฝ่ายโยธาดำเนินการผลิตเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคนตามรูปที่ได้ดำเนินการออกแบบไว้ 5) ทำการทดสอบการใช้งานเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคนและทดลองใช้ในพื้นที่ ที่มีท่อระบายน้ำอยู่บนแนวทางเท้าหรือซอยที่แคบ 6) นำเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคนไปปรับปรุงข้อบกพร่องในการใช้งาน 7) นำเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคนไปใช้งานและรายงานผลการใช้งานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รายละเอียดการดำเนินงาน : 1) กำหนดข้อคำถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ และจัดทำแบบสอบถามโดยใช้ Google forms 2) เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาดำเนินการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคน 3) ผลสำรวจความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จำนวน 42 คน มีระดับความพึงพอใจร้อยละ 88.25 ข้อมูล ณ วันที่ 15 กันยายน 2566 ตัวชี้วัดที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพปฏิบัติงานลอกท่อระบายน้ำ (1) เพิ่มระยะทางในการขุดลอกท่อระบายน้ำในพื้นที่ที่มีท่อระบายน้ำบนแนวทางเท้าหรือซอยที่แคบ เมื่อเปรียบเทียบกับการขุดลอกท่อระบายน้ำโดยแรงงานคน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (2) ลดจำนวนผู้ทำหน้าที่ในการขุดลอกท่อระบายน้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 รายละเอียดการดำเนินงาน : 1) การขุดลอกท่อระบายน้ำด้วยแรงงานคน สามารถขุดลอกได้ระยะทางเฉลี่ย 14.29 เมตร/ชั่วโมง ในส่วนของการขุดลอกท่อระบายน้ำโดยใช้นวัตกรรม สามารถขุดลอกได้ระยะทางเฉลี่ย 28.57 เมตร/ชั่วโมง โดยมีระยะทางเพิ่มขึ้น 14.28 เมตร/ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 99.93 2) การใช้นวัตกรรมเครื่องมอเตอร์ระบายน้ำแทนการใช้แรงงานคน สามารถลดจำนวนแรงงานที่ทำหน้าที่ในการขุดลอกท่อระบายน้ำลงได้ จากเดิมเจ้าหน้าที่ประจำชุดการปฏิบัติงานของฝ่ายโยธาจะต้องช่วยกันชักลากขยะออกจากท่อระบายน้ำ ประมาณ 8 - 9 คน เมื่อมีการนำนวัตกรรม มาใช้งาน สามารถลดจำนวนเจ้าหน้าที่ลง โดยกำหนดเจ้าหน้าที่ประจำจุด จำนวน 4 จุด ดังนี้ - จุดที่ 1 จุดติดตั้งเครื่องมอเตอร์ จำนวน 1 คน - จุดที่ 2 จุดติดตั้งอุปกรณ์ในท่อระบายน้ำ จำนวน 1 คน - จุดที่ 3 จุดเริ่มดำเนินการขุดลอก จำนวน 1 คน - จุดทึ่ 4 จุดควบคุมเครื่องมอเตอร์ จำนวน 1 คน ในส่วนของเจ้าหน้าที่ที่เหลือ จะทำหน้าที่ในการจัดเก็บขยะจากท่อระบายน้ำใส่ถุงเพื่อนำไปกำจัดต่อไป มีการนำนวัตกรรมไปใช้ภายในปีงบประมาณ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 49.00 (2023-04-30)
30/04/2566 : ปรับปรุงโครงการและจัดส่งสำนักงาน ก.ก.
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-31)
31/03/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : เวียนแจ้งหลักเกณฑ์/แนวทางการพัฒนานวัตกรรมให้ทุกฝ่ายทราบ เพื่อเสนอแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรม
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : จัดเตรียมข้อมูล/จัดทำโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : โครงการการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **