ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายโยธา
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
50410300/50410300
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
ตามที่สำนักงาน ก.ก./สยป. กำหนด
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ –การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ |
๔.๓ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีรูปแบบการจัดการภูมิทัศน์เมืองอย่างยั่งยืน |
๔.๓.๑ กรุงเทพมหานครมีการปรับปรุงองค์ประกอบทางภูมิทัศน์เมืองและส่งเสริมอัตลักษณ์และทัศนียภาพในการรับร% |
๔.๓.๑.๓ อนุรักษ์และฟื้นฟูย่าน (Districts) ตามผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะที่สอดคล้องกับผังเมืองรวม หรือพิจารณาเพิ่มเติมในอนาคตที่มีอัตลักษณ์และ พัฒนาพื้นที่ชุมชนอันมีความเป็นเอกลักษณ์ของในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)
29/09/2566 : 1. เข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักการระบายน้ำกำหนด - เข้าร่วมประชุม จำนวน 1 ครั้ง (Output) ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง วันที่ 27 มีนาคม 2566 เวลา 13.30 น. 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) การปรับภูมิทัศน์คลองในส่วนภารกิจของสำนักงานเขตหลักสี่และ จัดส่งให้สำนักการระบายน้ำ เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2566 ตามหนังสือที่ กท 7803/1451 3. ตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์และสถานที่ใน ความรับผิดชอบบริเวณสถานที่พักผ่อนริมคลอง จุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน (Check in) บริเวณสะพานข้ามคลอง - ลงพื้นที่ตรวจสอบจริง จำนวน 1 ครั้ง/เดือน ร่วมตรวจสอบกับสำนักการระบายน้ำ - คลองเปรมประชากร วันที่ 13 กันยายน 2566 - คลองลาดพร้าว วันที่ 14 กันยายน 2566 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบจริง จำนวน 1 ครั้ง/เดือน และร่วมตรวจสอบกับสำนักการระบายน้ำ คลองเปรมประชากร วันที่ 13 กันยายน 2566 และคลองลาดพร้าว วันที่ 14 กันยายน 2566 5. การบำรุงรักษาอุปกรณ์และสถานที่บริเวณในความรับผิดชอบ ดำเนินการโดย - ป้ายอำนวยความสะดวก/ป้ายประดับต่าง ๆ ต้นไม้/ไม้ดอกไม้ประดับ : ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ - ไฟฟ้าส่องสว่าง : ฝ่ายโยธา - ราวกันตกริมคลอง : ฝ่ายโยธา - สะพานข้ามคลอง : ฝ่ายโยธา 6. มีการคัดเลือกพื้นที่เพื่อสร้างอัตลักษณ์ที่โดดเด่น จำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ - พื้นที่บริเวณสะพานข้ามคลองเปรมประชากร ถนนเฉลิมพระเกียรติจุฬาภรณ์ (ถนนหมายเลข ๘) - พื้นที่บริเวณที่ว่างริมคลองชุมชนบางบัวร่วมใจพัฒนา (เชิงสะพานไม้ 2) 7. บริหารจัดการขยะอย่างเป็นระบบในพื้นที่ตามแนวคลองเพื่อไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะลงคลอง - กำหนดจุดทิ้งขยะ วิธีการโดย การกำหนดจุดทิ้งขยะของชุมชนริมคลอง - จัดการขยะชิ้นใหญ่ วิธีการโดย จัดทำแผนจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ชุมชนริมคลอง ทุกวันศุกร์ - เก็บขนขยะโดยจัดเก็บขยะทางเรือเป็นประจำทุกวันศุกร์ 8. รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญและให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนและสถานประกอบการในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมตามแนวคลอง - ลงพื้นที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (Output) จำนวน 36 ครั้ง - จัดกิจกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยตามแนวทาง “ไม่เทรวม” - นำขยะเศษอาหารทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ - นำสิ่งของที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ (Reuse and Recycle) 9. สร้างภาคีเครือข่าย และส่งเสริมกิจกรรมให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาคลอง ผ่านระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) โดยสร้างภาคีเครือข่าย จำนวน 2 เครือข่าย ได้แก่ - เฟซบุ๊คสำนักงานเขตหลักสี่ - เครือข่ายคลองเปรมประชากร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-04-30)
30/04/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-31)
31/03/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง 25 มกราคม 2566 มีผลการดำเนินการ ดังนี้ - ดำเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาฯ เพื่อรักษาสภาพคู คลอง จำนวน 10 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-31)
31/12/2565 : จัดเตรียมข้อมูล/จัดทำโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ :
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **