ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางกัญธิญา นิลวดี
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญกับบุคคลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และก่อให้เกิดโรคร้ายกับผู้ที่ได้รับควันบุหรี่ จากรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2560 พบว่า ทั่วประเทศมีประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ ๑0.๗ ล้านคน เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 72,656 คน สูญเสียทางเศรษฐกิจกว่า 22,000 ล้านบาท สำหรับกรุงเทพมหานครมีผู้สูบบุหรี่ประมาณ 1.2 ล้านคน เป็นผู้สูบประจำ ประมาณ 1 ล้านคน อายุส่วนใหญ่ที่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรก 16 - 20 ปี รองลงมาอายุ 7 - 15 ปี แสดงให้เห็นว่าเด็กและเยาวชนยังสามารถเข้าถึงบุหรี่ได้ง่าย ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการบริโภคยาสูบนั้น มีพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 และแผนยุทธศาสตร์ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 - 2570 เป็นกลไกหลักในการดำเนินงาน ซึ่งคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานครได้มีมติเห็นชอบให้จัดทำแผนปฏิบัติการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 - 2570 โดยมีเป้าหมายลดความชุกของการเสพยาสูบ ของประชากรกรุงเทพมหานคร อายุ 15 ปีขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 13 และความชุกของการได้รับควันบุหรี่ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ลดลงร้อยละ 10 จากปี 2560 เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2565 โดยบรรจุกิจกรรมจัดตั้งเครือข่ายการดำเนินงานกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ การป้องกันมิให้เกิดผู้เสพยาสูบรายใหม่ และเฝ้าระวังธุรกิจยาสูบที่มุ่งเป้าไปยังเด็ก เยาวชนและนักสูบหน้าใหม่ และการบำบัดผู้เสพยาสูบไว้ในแผนปฏิบัติการ ที่ผ่านมาสำนักอนามัย โดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ดำเนินโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ต่อเนื่อง มาตั้งแต่ ปี 2562 - ปัจจุบัน เพื่อสร้างพื้นที่เขตนำร่องในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ และแผนปฏิบัติการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565- 2570 ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่มีความต่อเนื่อง มีแกนนำเยาวชนป้องกันนักสูบหน้าใหม่ เครือข่ายมีความเข้มแข็งในการดำเนินงาน คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และสนับสนุนบุคลากรของกรุงเทพมหานครที่สูบบุหรี่ให้เลิกสูบบุหรี่ สำนักงานเขตคันนายาว จึงจัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ เพื่อให้การดำเนินงานมีความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหา ได้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะเป็นการสร้างสังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมที่ปลอดภัย จากควันบุหรี่ต่อไป
50430400/50430400
2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้นำชุมชนและประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
โดยดำเนินการในกิจกรรมที่ ๒ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในกรุงเทพมหานคร (การจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน) ดังนี้ 3.1 เชิงคุณภาพ 3.1.1 เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน และประชาชน สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโดยแมลงร่วมกัน รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 สถานที่เป้าหมายมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่ ชุมชน จำนวน 42 ชุมชน
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-08-28)
28/08/2566 : ดำเนินการรณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชนพื้นที่เขตคันนายาว ทั้ง 42 ชุมชน เรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-27)
27/07/2566 : ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกภายในชุุมชนพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 63.00 (2023-05-25)
25/05/2566 : ดำเนินการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 62.00 (2023-04-25)
25/04/2566 : ดำเนินการรณรงค์โรคไข้เลือดออกในชุมชน พื้นที่จัดตั้งในพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2023-03-27)
27/03/2566 : ดำเนินการรณรงค์โรคไข้เลือดออกในชุมชน พื้นที่จัดตั้งในพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2023-03-24)
ดำเนินการรณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนจัดตั้ง ในพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-02-23)
23/02/2566 : รณรงค์ประชาสัมพันธ์การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนของพื้นที่เขตคันนายาว จำนวน 23 ชุมชน เบิกจ่ายเงินจำนวน 10,600 บาท
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-01-23)
23/01/2566 :กำลังดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไข้เลือดออกในชุมชนจัดตั้งในพื้นที่เขตคันนายาว จำนวน 7 ชุมชน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2022-12-29)
29/12/2565 : รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน จำนวน 11 ชุมชน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ้ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ้ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **