ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายการศึกษา
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
1. หลักการและเหตุผล ในปี 2558 เป็นปีแห่งการก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนของกลุ่มประเทศสมาชิกรวม 10 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศบรูไนดารุสชาลาม กัมพูชา ฟิลิปปินส์ อินโดนิเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม แต่ละประเทศได้เตรียมให้เยาวชนและประชากรของตนพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนให้มากที่สุด ต่างให้ความสำคัญในการพัฒนาด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยเน้นให้สามารถสื่อสารได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว ในการใช้ภาษาที่เป็นภาษาทางการได้แก่ ภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น แต่ละประเทศยังเพิ่มโอกาสพิเศษให้แก่เยาวชนโดยส่งเสริมให้ได้เรียนรู้ภาษาอื่นเพิ่มเติมเพื่อให้สื่อสารกับประเทศใกล้เคียง เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมระหว่างประชาชนตามแนวตะเข็บชายแดนมากยิ่งขึ้น กรุงเทพมหานคร ในฐานะศูนย์กลางประชาคมอาเซียน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ภาษาอาเซียนอื่นๆ นอกจากภาษาอังกฤษ เพื่อให้เยาวชนในส่วนกลางสามารถสื่อสารภาษาถิ่นกับเยาวชนอาเซียนในแต่ละภาคส่วนได้อย่างเหมาะสม เช่นภาษามลายูซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมที่มีวัฒนธรรมมาแต่โบราณ มีต้นกำเนิด มีประวัติศาสตร์น่าสนใจ เป็นภาษาที่เป็นรากฐานการสื่อสารในประเทศแถบภาคใต้ของประเทศไทยและประเทศในแหลมมลายูหลายประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนิเซีย บรูไนดารุสซาลาม สิงคโปร์ ฯลฯ ซึ่งประเทศต่างๆ เหล่านี้ ล้วนมีบทบาททางด้านเศรษฐกิจ การค้าการส่งออกที่สำคัญในภูมิภาคาอาเซียนด้วย การที่เยาวชนกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้ภาษาที่มีความเชื่อมโยงไปยังประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้ ย่อมเกิดประโยชน์สำหรับการเจรจาต่อรองที่ได้เปรียบ การส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมครบทุกด้าน ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเขตคลองสามวา จึงได้จัดทำโครงการนำร่องสอนภาษามลายูให้แก่นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสามวา ในระดับมัธยมศึกษาจำนวน 1 โรงเรียนในลักษณะสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
50460700/50460700
2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และทักษะการใช้ภาษามลายู ให้แก่นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสามวา ระดับมัธยมศึกษา 2.2 นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสามวา ระดับมัธยมศึกษา ได้ตระหนักและเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
3. เป้าหมาย 3.1 ด้านปริมาณ โรงเรียนบางชัน (ปลื้มวิทยานุสรณ์) ชั้นมัธยมศึกษา (3 ห้อง) 120 คน 3.2 ด้านคุณภาพ 3.2.1 นักเรียนในโครงการฯ ได้พัฒนาองค์ความรู้ด้านภาษามลายูและสามารถใช้สื่อสารได้ 3.2.2 นักเรียนในโครงการฯ สามารถนำความรู้และทักษะไปขยายผลต่อได้
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-22)
22/09/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-25)
25/08/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-26)
26/07/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-26)
26/06/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-25)
25/05/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-04-25)
25/04/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-24)
24/03/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-02-23)
23/02/2566 : ดำเนินการจัดการเรียนการสอน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-23)
23/01/2566 : ดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาคเรียนที่2
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------