ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
โรคไข้เลือดออกเป็น ๑ ใน ๕ ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจากรายงานสถานการณ์โดยรวมของประเทศจำแนกตามเขตสุขภาพ ๑๓ เขต โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า สถานการณ์ไข้เลือดออกย้อนหลังในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีอัตราป่วยสะสมสูง ๑ ใน ๕ อันดับแรกของประเทศจำแนกตามเขตสุขภาพเกือบทุกปี คือ ปี ๒๕๕๙ อยู่ในลำดับที่ ๓ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๑๒๙.๓๙ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๐ เป็นอันดับ ๑ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๑๕๘.๗๖ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๑ เป็นอันดับ ๕ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๑๕๔.๔๗ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๒ เป็นอันดับ ๔ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๒๑๙.๗๗ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๓ เป็นอันดับ ๖ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๑๐๒.๔๗ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๖๔ เป็นอันดับ ๒ อัตราป่วยสะสมเท่ากับ ๒๒.๕๕ ต่อแสนประชากร ทั้งนี้ปัจจัยการแพร่ระบาดที่สำคัญของโรคไข้เลือดออก มาจากความหนาแน่นและการเคลื่อนย้ายของประชากร การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน ขณะเดียวกันการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายในพื้นที่นับว่ามีความสำคัญมากในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ.๒๖๗๕) มีเป้าหมายการพัฒนากรุงเทพมหานครสู่การเป็นมหานครปลอดภัย ปลอดโรคคนเมืองจึงกำหนดให้ไข้เลือดออกเป็นหนึ่งในเป้าหมายการดำเนินงานด้านการควบคุมโรคติดต่อและในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ได้กำหนดมาตรการด้านการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการเฝ้าระวังสอบสวนโรคติดต่อไว้ สำนักงานเขตคลองสามวา โดยฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตคลองสามวาขึ้น โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมและส่งเสริมพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เขตคลองสามวา ตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครต่อไป
50460400/50460400
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-26)
26/09/2566 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควยคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหนะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-08-24)
24/08/2566 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฎิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหนะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลานตามกลุ่มเป้าหมาย 2. ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :- ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลุกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลานแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-07-25)
25/07/2566 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมณณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือกออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีพ่นหมอกควันกำจัดยุงเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้รานหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นตัวเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-06-27)
27/06/2566 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :- ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-05-24)
24/05/2566 : 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :- ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-04-21)
21/04/2566 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :- ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-03-24)
24/03/2566 : ออกปฏิบัติงาตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :- ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-02-24)
-ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสารสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-25)
-ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมณณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง. 506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือด และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพ้นที่สำรสจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือด และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพ้นที่สำรสจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ภารกิจเขต-ประชาชนในพื้นที่เขตคลองสามวามีระดับความรู้สึกปลอดภัยอยู่ที่ระดับมาก (จาก 5 ระดับ)
ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **