ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายปกครอง
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ตามพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานระบุว่าลูกจ้างสามารถลาคลอดได้ 98 วัน หมายความว่าลูกจ้างที่เป็นมารดาสามารถมีเวลาอยู่กับเด็กแรกเกิดเต็มเวลาประมาณ 3 เดือน อย่างไรก็ตามองค์กรอนามัยโลกและยูนิเซฟแนะนำว่าเด็กควรได้รับนมแม่เป็นอาหารหลักเพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก และควรให้ต่อเนื่องควบคู่ไปกับอาหารชนิดอื่นจนถึงอายุ 2 ปี เพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารครบถ้วน มีภูมิต้านทาน และลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ การจะทำให้ลูกกินนมแม่ต่อเนื่องสำเร็จต้องอาศัยหลายปัจจัยประกอบกัน หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญคือ การจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับมารดาในการปั๊มนมหรือให้นมลูก ดังนั้น กรุงเทพมหานครจะนำร่องจัดสรรห้องให้นม-ปั๊มนมลูกในสำนักงานและอาคารสถานที่ของกทม. โดยเป็นห้องแยกที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกตามที่จำเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าแม่จะสามารถปั๊มนมหรือให้นมลูกได้อย่างมีคุณภาพ และอีกทั้งเป็นการเพิ่มสายใยสัมพันธ์ แม่ลูกถือว่าเป็นหัวใจที่สำคัญ
50460100/50460100
เพื่อสร้างห้องปั๊มนม - ให้นมในสำนักงานเขตคลองสามวา
ห้องปั๊มนม - ให้นมในสำนักงานเขตคลองสามวา
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร |
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล |
๗.๒.๒ การพัฒนาระบบการบริหารแผนและการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ% |
๗.๒.๒.๒ การผลักดันผลการประเมินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-01-30)
30/01/2566 : สำนักงานเขตคลองสามวา ได้ดำเนินการปรับปรุงห้องปั้มนม-ให้นมบุตร เรียบร้อยแล้ว ณ ชั้น 1 BFC ประจำเดือนมกราคม มีประชาชนเข้าใช้บริการ 5 คน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2566
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **