ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายเทศกิจ (อุดมศักดิ์ ทองอุทัย : 6079-81)
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ปัจจุบันกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางรวมความเจริญทั้งในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา ระบบการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การแพทย์และสาธารณสุข เป็นต้น ซึ่งจากการเป็นศูนย์รวมของความเจริญจึงมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นดังกล่าว หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาจากการก่ออาชญากรรมนับวันจะมีแนวโน้มรุนแรงและสถิติ การเกิดเหตุเพิ่มมากขึ้น อันเห็นได้จากคดีอาชญากรรมที่เกิดขึ้นจากข่าวหรือหนังสือพิมพ์หรือจากสื่อต่าง ๆ ถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอันส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในสังคมอย่างยิ่ง กรุงเทพมหานครในฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งขึ้น ซึ่งมีการกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2566 ที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2575) และนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กรุงเทพ 9 ดี (นโยบาย 9 มิติ) รวม 216 นโยบาย ด้านปลอดภัยดี (34 นโยบาย) เดินทางดี (42 นโยบาย) และบริบทที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2566 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด เป้าหมายที่ 1.2.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป้าประสงค์ที่ 1.2.1.1 เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมายการพัฒนากรุงเทพมหานคร และการติดตามประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตดำเนินการให้บริการสาธารณะเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลประชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและปกติสุข รวมไปถึงการดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากปัญหาอาชญากรรม มีบทบาทหน้าที่สำคัญในการป้องกันปัญหาดังกล่าวในด้านการดูแลและปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม การดูแลและติดตั้งอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยต่าง ๆ รวมไปถึงการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีความล่อแหลม จุดพื้นที่เสี่ยงภัย จุดเปลี่ยว หรือมีสถิติการเกิดอาชญากรรมบ่อยครั้ง เพื่อป้องกันหรือลดช่องว่างการก่ออาชญากรรม โดยมีการบูรณาการประสานความร่วมมือกันระหว่างฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต สำนักเทศกิจ สถานีตำรวจท้องที่ หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง จึงได้จัดทำโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ขึ้น
50470900/50470900
2.1 เพื่อป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยกับประชาชนในพื้นที่เขตบางนา 2.2 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตให้กับประชาขน และทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร 2.3 เพื่อให้เกิดการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 2.4 เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยลดความล่อแหลมในด้านสภาพแวดล้อม จุดเปลี่ยว ที่มีผลต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่
ร้อยละ 100 ของพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาได้รับการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราความปลอดภัยต่อการเกิดอาชญากรรม 10 จุด อย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง/วัน/จุด
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)
25/09/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่ เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบมีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 ประจำเดือนกันยายน 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 10 จุด จำนวน 12,000 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย ปากซอยแบริ่ง 13 3. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนา เดือนกันยายน 2566 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ปากซอยแบริ่ง 13 (แบบสอบถาม) 5. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ 6. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)
** ปัญหาของโครงการ :ขาดการส่งเสริมสนับสนุน การมีส่วนร่วม และการประสานความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-25)
25/08/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่ เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนกรกฎาคม 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่ เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนกรกฎาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนกรกฎาคม 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนกรกฎาคม 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนมิถุนายน 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,200 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนมิถุนายน 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนมิถุนายน 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-23)
23/05/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนพฤษภาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนพฤษภาคม 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนพฤษภาคม 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-25)
25/04/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนเมษายน 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,200 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณสะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณสะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนเมษายน 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนเมษายน 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-24)
24/03/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนมีนาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 2. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณสะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 4. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บริเวณสะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ (แบบสอบถาม) 5. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนมีนาคม 2566 6. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนมีนาคม 2566 ให้ผู้บริหารเขตบางนาและสำนักเทศกิจทราบ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : ฝ่ายเทศกิจ ได้ดำเนินการออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตามแผนปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,120 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 2. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ครบถ้วนทั้ง 10 จุดที่ติดตั้งตู้เขียว ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 3. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 4. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 5. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา (แบบสอบถาม) 6. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนกุมภาพันธ์ 2566 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-01-25)
25/01/2566 : ฝ่ายเทศกิจ สำรวจพื้นที่เสี่ยง แผนปฏิบัติงาน จัดทำคำสั่ง จัดทำโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 ในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีมีความปลอดภัยจากอาชญากรรมต่าง ๆ โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนธันวาคม 2565 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 2. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ครบถ้วนทั้ง 10 จุดที่ติดตั้งตู้เขียว ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 3. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย ครบถ้วนทั้ง 10 จุด 4. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 5. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) บางนา-ตราด 19 (แบบสอบถาม) 6. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนมกราคม 2566 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนมกราคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-28)
28/12/2565 : ฝ่ายเทศกิจ สำรวจพื้นที่เสี่ยง แผนปฏิบัติงาน จัดทำคำสั่ง จัดทำโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีจำนวน 10 จุด ดังนี้ 1.สะพานลอยคนข้ามหน้าแฟลตการเคหะบางนา 2.สะพานลอยคนข้ามหน้าหมู่บ้านถาวรนิเวศน์ 3.สะพานลอยคนข้ามหน้าศูนย์การประชุมไบเทค 4.กลางซอยลาซาล 16 5.ปากซอยจ่าโสด ถนนริมทางรถไฟสายเก่า 6.ซอยบางนา-ตราด 9 โรงเจร้าง 7.ป้ายรถประจำทางหน้าหมู่บ้านนภาลัย 8.ซอยสุขุมวิท 70/5 โค้งต้นโพธิ์ 9.ปากซอยบางนา-ตราด 19 10.ปากซอยแบริ่ง 13 ในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีมีความปลอดภัยจากอาชญากรรมต่าง ๆ โดยมีเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่ประจำเดือนธันวาคม 2565 ดังนี้ 1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ตรวจตราเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) ครบถ้วนทั้ง 10 จุด จำนวน 1,240 ครั้ง/จุด (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 2. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจและบังคับการ กวดขัน ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ครบถ้วนทั้ง 10 จุดที่ติดตั้งตู้เขียว ตามแผนปฏิบัติงานฯที่กำหนด 3. ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย ครบถ้วนทั้ง 10 จุด 4. หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หัวหน้าชุด ตรวจติดตามประเมินผลสภาพแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) 5. สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) (แบบสอบถาม) 6. ประสานหนังสือ สน.บางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางนาในเดือนธันวาคม 2565 7. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว)ในพื้นที่เขตบางนา ประจำเดือนธันวาคม 2565
** ปัญหาของโครงการ :เจ้าหน้าที่เทศกิจมีการปฏิบัติงานจำนวนมาก
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **