ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (สำนักงานเขตทวีวัฒนา) : 50480000-7025

สำนักงานเขตทวีวัฒนา : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

น.ส.เสาวลักษณ ลาดนาเลา โทร. 5520

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลงลง โดยสถิติการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2563 พบการปนเปื้อนมีแนวโน้มไม่คงที่ กล่าวคือผลการตรวจวิเคราะห์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและลดลงสลับไปในแต่ละปี โดยพบการปนเปื้อนร้อยละ 0.25, 0.32, 0.11, 0.15 และ 0.17 ตามลำดับ สำหรับสถิติการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยพบการปนเปื้อนร้อยละ 5.89, 4.90, 3.03, 2.65 และ 2.43 ตามลำดับ สอดคล้องกับอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อประชากรแสนคน ใน 5 ปีที่ผ่านมา ปี พ.ศ. 2559 - 2563 เท่ากับ 1,016.89, 1,015.20, 1,683.44, 1,206.70 และ 911.82 ซึ่งลดลงอย่างต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2562 - 2563 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 อย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนายกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตาม ถึงแม้สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานคร มีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตทวีวัฒนา จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยมีความต่อเนื่อง หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่มาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย

50480400/50480400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน/ร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 5. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

1. ร้อยละ 90 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหารไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคหรือสารพิษ 2. ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี/เกรด C (3 ดาว) 3. ร้อยละ 30 ของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ระดับดีมาก/เกรด B (4 ดาว/Green Service) และระดับดีเลิศ/เกรด A (5 ดาว/Green Service Plus)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-21)

100.00

สรุปผลการดำเนินโครงการ ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ ทั้งหมด 200 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 3,320 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 3,320 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 100 3. สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี/เกรด C (3 ดาว) จำนวน 200 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 4. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ระดับดีมาก/เกรด B (4 ดาว/Green Service) และระดับดีเลิศ/เกรด A (5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 122 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 61

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2023-08-22)

98.00

22/08/2566 : ดำเนินการ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 4 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 184 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 184 ตัวอย่าง รวมตั้งแต่ตุลาคม 2565 - 20 สิงหาคม 2566 ตรวจ 3,213 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 3,213 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 96.00 (2023-07-24)

96.00

24/07/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 15 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 184 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 184 ตัวอย่าง รวมตั้งแต่ตุลาคม 2565 - 20 กรกฎาคม 2566 ตรวจ 3,193 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 3,193 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 93.00 (2023-06-26)

93.00

26/06/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 34 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 225 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 225 ตัวอย่าง รวมตั้งแต่ตุลาคม 2565 - 20 มิถุนายน 2566 ตรวจ 3,009 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 3,009 ตัวอย่าง 3. ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 แล้วเสร็จ 4. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์กิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-05-19)

75.00

19/05/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 33 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 414 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 414 ตัวอย่าง รวมตั้งแต่ตุลาคม 2565 - 20 พฤษภาคม 2566 ตรวจ 2,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 2,784 ตัวอย่าง 3. จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 72.00 (2023-04-21)

72.00

1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 25 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 185 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 185 ตัวอย่าง รวมตั้งแต่ตุลาคม 2565 - 20 เมษายน 2566 ตรวจ 2,370 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 2,370 ตัวอย่าง 3. เบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหารเดือนมีนาคม 4,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-03-24)

70.00

24/03/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 38 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 311 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 311 ตัวอย่าง 4. เบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหารเดือนมีนาคม 4,000 บาท 5. เบิกจ่ายค่าจัดซ์้อวัสดุเคมีภัณฑ์ 19800 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2023-02-23)

58.00

23/02/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 49 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 849 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 849 ตัวอย่าง 3. ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการตามแผนปฏิบัติงาน เดือนกุมภาพันธ์ 2566 4. เบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหารเดือนกุมภาพันธ์ 4,000 บาท 5. เบิกจ่ายค่าจัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา 1,250 บาท 6.เบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลา 20,000 บาท ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข 15,840 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 48.00 (2023-01-26)

48.00

26/01/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะทางกายภาพ 80 แห่ง 2. ตรวจสอบด้านความปลอดภัยของอาหารโดย สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนทางด้านเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ 1025 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 1025 ตัวอย่าง 3. ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการตามแผนปฏิบัติงาน 4. เตรียมจัดประชุมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา ในวันที่ 31 มกราคม 2566 5. เบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร เดือนธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 24.00 (2022-12-27)

24.00

27/12/2565 : ดำเนินการดังนี้ 1. ขออนุม้ติโครงการ 2. ตรวจสอบคุณภาพอาหารด้วยชุดทำสอบเบื้องต้น เดือนตุลาคม 65 จำนวน 26 แห่ง เดือนพฤศจิกายน 65 จำนวน 30 แห่ง เดือนธันวาคม 65 จำนวน 23 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหาร รวมทั้งหมด 456 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ 456 ตัวอย่าง 3. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะในสถานประกอบการอาหาร เดือนตุลาคม 65 จำนวน 26 แห่ง เดือนพฤศจิกายน 65 จำนวน 30 แห่ง เดือนธันวาคม 65 จำนวน 23 แห่ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:(5%) ขออนุมัติโครงการและจัดทำแผนปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:(24%) กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหาร
:24.00%
เริ่มต้น :2022-10-17 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-17 00:00:00
ขั้นตอน 3
:(24%) กิจกรรมตรวจสอบแนะนำด้านสุขลักษณะ
:24.00%
เริ่มต้น :2022-10-17 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-17 00:00:00
ขั้นตอน 4
:(15%) กิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา
:15.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:(10%) จัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา
:10.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:(12%) กิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน
:12.00%
เริ่มต้น :2023-03-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-03-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:(10%) รายงานผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหาร
:10.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50480000-7025

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50480000-7025

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5048-834

ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายปี 2566

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

0 / 0
2
40.00

0 / 0
3
0.00

100 / 100
4
0.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **