ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
ด้วยกรุงเทพมหานครได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งมีการดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครพบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร และอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ต่อประชากรแสนคนมีแนวโน้มลดลง และเพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืน และเกิดประโยชน์ ต่อประชาชนสูงสุด สำนักงานเขตทุ่งครุ จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมงานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครให้มีความต่อเนื่อง ทั้งยังส่งเสริมให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ ได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้ง เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ เพื่อก่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร
50490400/50490400
2.1 เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.3 เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป ในเรื่องอาหารปลอดภัย 2.4 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
3.1 ร้อยละ 96 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหาร ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค 3.2 ร้อยละ 98 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหาร ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ 3.3 ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร มีการพัฒนผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 3.4 ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการมีมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข 3.5 ร้อยละ 30 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-14)
14/09/2566 : รายงานผลการดำเนินงานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2566 สำนักงานเขต ทุ่งครุ ระหว่างวันที่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง ระหว่างวันที่ วันที่ 14 กันยายน 2566 รายละเอียดผลดำเนินงาน จำนวนสถานประกอบกิจการ (ราย) 233 ราย 1. มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 30 แห่ง 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 44 แห่ง 3. ตลาด - ประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง - ประเภท 2 จำนวน 4 แห่ง 4. ร้านอาหารพื้นที่ไม่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 108 แห่ง 5. พื้นที่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 43 แห่ง ตำเนินการแล้วเสร็จ ทั้งหมด 233 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2023-08-25)
25/08/2566 : จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 233 แห่ง แยกตามลักษณะการประกอบการดังนี้ - มินิมาร์ท จำนวน 30 แห่ง ตรวจรับรองป้ายครบ 30 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 - ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 44 แห่ง ตรวจรับรองป้ายครบ 44 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตรวจรับรองป้ายครบ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - ตลาดประเถท 2 จำนวน 4 แห่ง ตรวจรับรองป้ายครบ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 - หนังสือรับรองการแจ้ง จำนวน 108 แห่ง ตรวจรับรองป้าย 105 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.2 - ใบอนุญาตจำหน่ายอาหาร จำนวน 43 แห่ง ตรวรับรองป้าย 43 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ** ผลการปฏิบัติตามมารตรการโควิด ตรวจรับรอง228 แห่งคิดเป็นร้อยละ 98 คงเหลือ 5 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-21)
21/07/2566 : จำนวนสถานประกอบการ 233 แห่ง ตรวจสถานประกอบการ - ซูเปอร์มาเก็ต และมินิมาร์ท จำนวน 7 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 20 แห่ง - ตลาดประเภท 1 จำนวน 2 แห่ง รวม 23 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-06-19)
19/06/2566 : จำนวนสถานประกอบการ 234 แห่ง (จำหน่าย จำนวน 3 แห่ง ) ตรวจสถานประกอบการ - ซูเปอร์มาเก็ต และมินิมาร์ท จำนวน 6 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 15 แห่ง - ตลาดประเภท 1 จำนวน 2 แห่ง รวม 23 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-05-18)
18/05/2566 : จำนวนสถานประกอบการ 237 แห่ง (รายใหม่ จำนวน 6 แห่ง ) ตรวจสถานประกอบการ - ซูเปอร์มาเก็ต และมินิมาร์ท จำนวน 6 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 15 แห่ง - ตลาดประเภท 1 จำนวน 1 แห่ง รวม 22 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-04-24)
24/04/2566 :4/04/2566 : จำนวน สถานประกอบการอาหารทั้งหมด 231 แห่ง จำหน่าย 2 แห่ง สถานประกอบการรายใหม่ จำนวน 13 แห่ง - มินิมาร์ท 1 แห่ง - ซูเปอร์มาเก็ต 6 แห่ง - หนังสือรับรองการแจ้งจำหน่ายอาหาร 2 แห่ง - ใบอนุญาตจำหน่ายอาหาร 4 แห่ง - ตรวจสถานประกอบการอาหาร จำนวน 22 แห่ง - ตลาดประเภท 1 จำนวน 1 แห่ง - มินิมาร์ท และซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 6 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 15 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-03-20)
20/03/2566 : จำนวน สถานประกอบการอาหารทั้งหมด 218 แห่ง ยกเลิกกิจการ จำนวน 2แห่ง คงเหลือ 216 แห่ง - ตรวจสถานประกอบการอาหาร จำนวน 22 แห่ง - ตลาดประเภท 1 จำนวน 1 แห่ง - มินิมาร์ท และซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 6 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 15 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-02-20)
20/02/2566 : - ดำเนินกิจกรรมซื้อตัวอย่่างอาหาร 10,500.- บาท ( เดือน พ.ย. 65 - ม.ค 66 ) - ดำเนินกิจกรรมค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านสาธารณสุข 15,840.- บาท ( วันที่ 16 -19 กุมภาพันธ์ 66 ) - ดำเนินกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย 10,000.- บาท ( วันที่ 6 - 9 กุมภาพันธ์ 2566 ) จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 218 แห่ง - ตลาด จำนวน 9 แห่ง - หนังสือรับรองการแจ้งจำหน่ายอาหาร จำนวน 10 5 แห่ง - มินิมาร์ท จำนวน 28 แห่ง - ใบอนุญาตจำหน่ายอาหาร จำนวน 38 แห่ง - ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 38 แห่ง ดำเนินการตรวจสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร - เดือนตุลาคม 2565 จำนวน 12 แห่ง - เดือนพฤศจิกายน 2565 จำนวน 13 แห่ง - เดือนธันวาคม 2565 จำนวน 28 แห่ง - เดือนมกราคม 2566 จำนวน 22 แห่ง - เดือน กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 21 แห่ง ผลการดำเนินงานตรวจสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 96 แห่ง คิดเป็น 44.03 %
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-01-30)
30/01/2566 : กำลังดำเนินการกิจกรรมค่าตอบแทนบุคคลากรทางด้านสาธารณะสุขที่มีส่วนร่วมในโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 20
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 22.58
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **