ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายโยธา
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
จุดจอดจักรยานปัจจุบันเป็นเพียงโครงเหล็กที่มักจะตั้งอยู่ตามใต้สะพานลอย หรือปากซอย โครงเหล็กเหล่านี้สามารถยกได้ หลายอันไม่ได้ยึดติดกับพื้น หลายอันตั้งอยู่ในจุดที่ไม่ปลอดภัย ไม่มี CCTV หรือขาดแสงสว่าง ภาพจำการจอดจักรยานไว้ในที่สาธารณะของคนจำนวนไม่น้อยจึงไม่ดีเท่าไหร่นัก ปัจจัยเหล่านี้ทำให้ผู้ขับขี่จักรยานไม่มั่นใจที่จะจอด จักรยานไว้ที่จุดจอด ดังนั้น กทม.จะพัฒนาจุดจอดรถจักรยานที่มีคุณภาพและปลอดภัย สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ใช้จักรยานและส่งเสริมการใช้จักรยานเป็นขนส่งสาธารณะระดับรอง (feeder) มาเชื่อมต่อกับระบบขนส่งสาธารณะ และเพิ่มจำนวนจุดจอดบริเวณหน้าปากซอยบริเวณป้ายรถเมล์ บริเวณจุดเชื่อมต่อการเดินทาง (hub) และสถานีขนส่งสาธารณะต่างๆ และกำหนดรอบการดูแลบำรุงรักษาอย่างชัดเจน เพื่อให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
50490300/50490300
1. พิจารณาออกแบบที่จอดให้มีลักษณะหลากหลาย เช่น จอดจักรยานแนวตั้ง จอดจักรยานแนวนอนขนานถนนจอดจักรยานเฉียง จอดจักรยาน 2 ชั้น โดยยืดหยุ่นตามความเหมาะสมกับพื้นที่ 2. โครงสร้างของที่จอดจักรยานต้องยึดติดกับพื้น 3. ออกแบบที่จอดจักรยาน โดย 3.1 ให้ยึดจักรยานติดกับพื้นทางเท้า หรือพื้นที่จอดจักรยาน พื้นต้องมีร่องไม่ให้ขยับล้อได้ และยกจากพื้นไม่ได้ 3.2 ให้คล้องโซ่ได้ทั้งล้อและท่อนอนจักรยาน (Top Tube)
สนับสนุน สจส. ในการจัดทำจุดจอดจักรยาน
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-28)
28/09/2566 :
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-07-29)
29/07/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-26)
26/06/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2023-05-30)
30/05/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-04-27)
27/04/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 51.00 (2023-03-26)
26/03/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-02-24)
24/02/2566 : 1.สำรวจจุดจอดจักรยานในเขตทุ่งในพื้นที่เขตทุ่งครุ 2.เพิ่มจุดจอดจักรยานเพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะ 3.เพิ่มเติมที่จอดจักรยานตามจุดจอดจักรยาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-01-31)
31/01/2566 : กำลังดำเนินการตามแผนที่กำหนด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 88
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **