รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 1,375 โครงการ

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบจากข้อมูลใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 32 ทวิ ประกอบกับกฎกระทรวงกำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ พ.ศ. 2548 กำหนดให้อาคารสาธารณะ 9 ประเภท โดยการพิจารณาคัดแยกจากใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรอื ยผ.4 ที่กองควบคุมอาคารออกระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 โดยฐานข้อมูลมีข้อมูลเลขที่ใบอนุญาต ใบรับแจ้ง ชื่อเจ้าของอาคาร ที่ตั้งอาคาร พิกัดอาคาร ลักษณะและการใช้สอยอาคารเป็นต้น จัดทำฐานข้อมูลอาคารสาธารณะ 9 ประเภท พร้อมผลการประเมินผลความเสื่ยงของอาคาร ร้อยละ 80 ของจำนวนใบอนุญาต อ.1 และใบแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่างปี พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 ที่ได้รับการพิจารณาคัดแยกเพื่อจัดทำฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2560 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ (กสน.) กรุงเทพมหานครประสบปัญหาน้ำท่วมขังจากฝนตกในพื้นที่อยู่บ่อยครั้ง ทั้งท่วมขังในซอยต่างๆ และในถนนสายหลัก ซึ่งในปัจจุบันสำนักการระบายน้ำได้มีการจัดทำระบบติดตามตรวจวัดสภาพน้ำครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งข้อมูลปริมาณฝน ระดับน้ำ อัตราการไหล และระดับน้ำท่วมบนถนน แต่ยังขาดเครื่องมือประมวลผล วิเคราะห์และสั่งการ สำรหับการจัดการระบายน้ำที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นสำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำแผนหลักการพัฒนาระบบจัดการการระบายน้ำเชิงรุก เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการนำเครื่องมือทีมีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ได้ เพื่อจัดหาระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักการระบายน้ำ ซึ่งส่งผลต่อภารกิจด้านการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้มีประสิทธิภาพ มีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
3 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 7,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,300,000.00 9,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,400,000.00 23,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 127,283,000.00 127,283,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 50,200,000.00 50,200,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 7,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 22,500,000.00 22,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 20,000,000.00 20,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 23,800,000.00 23,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 17,700,000.00 17,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 4,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
14 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,900,000.00 23,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,700,000.00 13,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,300,000.00 2,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
17 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 25,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,300,000.00 16,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,430,000.00 2,430,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
20 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 11,700,000.00 11,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบึงหนองบอน ซึ่งเป็นบึงขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างไว้ให้เป็นโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริสำหรับรับน้ำในช่วงหน้าฝน ซึ่งปัจจุบันบึงรับน้ำหนองบอนเป็นศูนย์กีฬาทางน้ำ ที่มีเรือหลายชนิดไว้ให้ผู้ที่สนใจกีฬาทางน้ำได้ไปใช้บริการกัน เช่น เรือใบ วินเซิร์ฟ เรือคายัค และพื้นที่โดยรอบยังเป็นที่นิยมของผู้ที่ชอบการปั่นจักรยาน ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน จำนวน 50 ชุด โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอนได้ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,426,000.00 11,426,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบอาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักและรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้อำนวยการเขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานครกำหนดแผนปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภาระกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานครให้การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานบรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2560 ด้านที่ 9 เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานโดยการส่งมอบบริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชน ซึ่งโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร มุ่งสนองต่อความต้องการของประชาชนในสังคมยุคใหม่ให้สู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ(Best Service Organization) ด้วยการลดระยะเวลาการให้บริการอย่างรวดเร็ว ถูกต้องทั่วถึงและเป็นธรรม 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์การชั้นเลิศด้านการบริการ 2. เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการประชาชนที่มารับบริการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎร 3. เพื่อให้ผู้มาติดต่อขอรับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. ผู้มารับบริการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ระยะเวลาการให้บริการลดลงร้อยละ 30 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
24 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมสำรวจจัดทำฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 อาคาร 1 และอาคาร 2 เนื่องจากอาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และอาคาร 2 มีปริมาณการใช้อุปกรณ์แสงสว่างเป็นจำนวนมาก และบางจุดมีวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่าทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ จึงดำเนินการสำรวจจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่อไป 1. เพื่อทราบถึงจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างทั้งหมดที่อยู่ภายในอาคาร 1 และอาคาร 2 2. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน มีฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของสาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และ 2 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
25 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
26 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น จำนวน ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้า ระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2560 พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 0.00 0.00 สำนักการศึกษา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 28.00
28 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 ปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จำนวน 50 เขต เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศที่มีประชากรอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่นในบางบริเวณ ทำให้สภาพพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่แทบจะตลอดเวลา สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำฐานข้อมูลทางด้านกายภาพต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ประชาชนและหน่วยงานราชการต่างๆ จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงแผนที่เชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยดำเนินการครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้มีความถูกต้องทันสมัยและเป็นปัจจุบัน ให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า 175 ระวาง ปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลข (ข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย) ให้มีความถูกต้องและทันสมัยเป็นปัจจุบัน แล้วเสร็จร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
29 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบการเดินทางสะดวก มิติที่ 4.1 การขยายตัวตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.4 ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการ สร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้กำหนดให้มีการส่งเสริม และสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการ ปลูกสร้างอาคารบ้านเรือนเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การตรวจสอบเพื่อค้นหาตำแหน่งที่ตั้งอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมาย ประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของ สำนักงานเขตตลิ่งชันประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จึงด้านจัดทำโครงการ “การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออก เลขรหัสประจำบ้านขึ้น” ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ในที่ดินและ อาคารตามข้อกำหนดผังเมืองของกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป 1.เพื่อสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน ให้เป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 2.เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคารและเลขหมายประจำบ้าน ในพื้นที่เขตตลิ่งชัน สำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3.เพื่อเป็นฐานข้อมูล ตรวจสอบเปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสาตร์และสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5.เพือนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ซึ่งปลูกสร้างพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งองอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหาและจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน - พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ - ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
33 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 3.2 โครงการการพัฒนาระบบการติดตามงานด้านงานสารบรรณและธุรการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามที่ ส.กก.กำหนด ตามที่ ส.กก.กำหนด ตามที่ ส.กก.กำหนด 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
34 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 25. กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของกองกลาง (ฝบ.) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการดำเนินการ ข่าวสาร และการให้บริการแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน รวมทั้งข้าราชการลูกจ้างของกรุงเทพมหานครทางเว็บไชต์กองกลาง เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการจากกองกลาง เพื่อเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกองกลาง สร้างความสะดวกสำหรับผู้รับบริการที่จะค้นหาข้อมูล หรือติดต่อขอรับบริการจากกองกลาง และช่วยในการสร้างความรู้สึกประทับใจแก่ผู้เยี่ยมชมเว็บไชต์กองกลาง - เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกองกลาง ให้มีความทันสมัยน่าเชื่อถือ และสร้างความประทับใจแก่ผู้เยี่ยมชมเว็บไชต์กองกลาง - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม การให้บริการต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไชต์กองกลาง 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
35 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 21. กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการค้นหาเอกสารที่ได้รับการจัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฝอ.) กองกลาง มีภารกิจประการหนึ่งในการจัดเก็บเอกสารประเภทคำสั่งของกรุงเทพมหานคร และคำสั่งสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และเอกสารด้านการทะเบียน ซึ่งจะมีข้าราชการและบุคลากรที่จำเป็นต้องการใช้คำสั่งดังกล่าว มาติดต่อขอรับสำเนาเพื่อไปประกอบกิจธุระต่าง ๆ ตามความประสงค์ - เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วในการค้นหาเอกสารที่ได้รับการจัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้มารับบริการ - เพื่อดำเนินการจัดเก็บเอกสารต้นฉบับคำสั่งและเอกสารด้านทะเบียนให้ถูกต้องครบถ้วนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
36 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 (13) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของกองการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 30.00
37 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 (11)กิจกรรมการจัดทำใบเสร็จรับเงินด้วยระบบคอมพิวเตอร์สำหรับเรียกเก็บเงินสำหรับผู้ได้รับสิทธิพักอาศัยในอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานคร ---------------------- ------------------------- ร้อยละความพึงพอใจของผู้ได้รับสิทธิพักอาศัยในอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครต่อการได้รับใบเสร็จรับเงินซึ่งจัดพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในระดับมากขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
38 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 (20)กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารบนเว็บไซต์ของกองการเจ้าหน้าที่ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของกองการเจ้าหน้าที่ให้ข้าราชการได้ทราบ 2. เพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลอีก 1 ช่องทาง การลงข้อมูลข่าวสารทางเว็บไซด์ของกองการเจ้าหน้าที่ 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
39 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 สปท./27 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียน สำนักงานปกครองและทะเบียนปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานปกครองและทะเบียน ตามข้อ 1 ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเรา ลงในเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียน (www.bangkok.go.th/ard) เพื่อปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียนให้มีข้อมูล ข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน 1. ปรับปรุงปฏิทินปฏิทินกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง 2. ปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 3. ปรับปรุงข่าวสาร เดือนละ 5 ข่าว/เรื่อง 4. ปรับปรุงกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัย 5. และอื่นๆ ที่เป็นประโยชนืกับผู้รับบริการ ค่าเป้าหมาย 90 คะแนน วิธีการคำนวณ ผลคะแนนการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
40 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน การจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อให้บริการประชาชน และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายในมีการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ จำนวนครั้งของการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ บนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
41 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2560 6) โครงการฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศระบบงานด้านคอมพิวเตอร์ถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ในการปฏิบัติงาน และการบริหารงานนโยบายต่าง ๆ ทั้งในส่วนภาครัฐและเอกชน กรุงเทพมหานครเป็นองค์กร หนึ่งที่เห็นความสำคัญ ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานราชการ เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันเป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) จำเป็นต้องมีการพัฒนาการดำเนินงานด้านการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดการระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงาน และ การสร้างงานหรือสื่อนำเสนอมัลติมิเดียออนไลน์ โดยสามารถนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและก้าวทัน ต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน ซึ่งเป็นการสนับสนุนนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการปรับสมรรถนะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีศักยภาพสูงขึ้น สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครจึงเห็นสมควรจัดการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมข้าราชการของกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถ ในการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารและพัฒนามหานคร 1. เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด 2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ และนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายรัฐบาลในการยกระดับงานบริการภาครัฐด้วยการปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิตอล ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานครประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน – อาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการพิเศษ สังกัดสำนัก สำนักงานเขต และส่วนราชการ ในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น ๑6 รุ่น ๆ ละ ๒๕ คน รวมจำนวน 400 คน วิทยากร รุ่นละ 2 คน และเจ้าหน้าที่ รุ่นละ ๑ คน รวมจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการรุ่นละ ๒๘ คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 448 คน 1,386,000.00 607,949.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
42 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 การรายงานสถานการณ์น้ำผ่านทาง Facebook/Twitter ข้อความประชาสัมพันธ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อรายงานสถานการณ์น้ำในช่วงเวลาต่างๆ ที่เป็นปัจจุบันผ่านทาง Facebook/Twitter ในช่วงฤดูฝน (ระหว่างเดือน พ.ค. - ก.ย. 60) ให้ประชาชนรับทราบ ข้อความประชาสัมพันธ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อรายงานสถานการณ์น้ำในช่วงเวลาต่างๆ ที่เป็นปัจจุบันผ่านทาง Facebook/Twitter ในช่วงฤดูฝน (ระหว่างเดือน พ.ค. - ก.ย. 60) ให้ประชาชนรับทราบ 250 ข้อความ 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-05-15 00:00:00 2016-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
43 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับงานต่างประเทศเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านสื่อออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับงานด้านต่างประเทศ และกิจกรรมด้านต่างประเทศของกรุงเทพมหานครผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศที่ www.bangkok.go.th/iad ให้ประชาชนได้รับทราบ เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานด้านต่างประเทศผ่านเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศ ประชาชนผู้สนใจทั่วไปเข้าชมเว็บไซต์ได้ตามจำนวนครั้งที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
44 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์เกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร การจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์ชื่อหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เขต แขวง ถนน ซอย เป็นภาษาอังกฤษ และให้บริการข้อมูลผ่านหน้าเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศ เพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบตัวสะกดภาษาอังกฤษและนำไปใช้งานได้ถูกต้อง เพื่อจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์ชื่อหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เขต แขวง ถนน ซอย เป็นภาษาอังกฤษ ผู้ใช้บริการ ได้แก่ ประชาชนผู้สนใจทั่วไป สามารถเข้าใช้บริการทางหน้าเว็บไซต์ได้ตามจำนวนที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
45 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2560 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2560 (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) การประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์และกระบวนการในการปฏิบัติงาน เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกส่วนราชการของสำนักอนามัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และเป็นเครื่องมือช่วยเผยแพร่และรวบรวมผลงานตัวอย่างนวัตกรรมที่ดีของสำนักอนามัย ผ่านสื่อต่างๆ และประชาชนผู้รับบริการ รวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันอย่างกว้างขวาง นำสู่การพัฒนาต่อยอดและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการและบุคลากรในการพัฒนา งานบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชนต่อไป 1. จัดประกวดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2. จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และผลงานวิชาการอื่นๆ เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดประชุมเปิดโครงการ 1 ครั้ง - จัดประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดประชุมคณะกรรมการ 5 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดยมีผู้ร่วมงาน 500 คน - จัดพิมพ์เอกสาร ผลงานนวัตกรรมฯ แจกผู้ร่วมงาน จำนวน 1,000 เล่ม 1,000,000.00 952,785.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
46 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2560 โครงการภาคีเครือข่ายดูแลถนน (Best Service ปี 2560) ๑.การซ่อมแซมถนน หรือการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ถนน พบว่ามีความล่าช้า ๒.การไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคใช้พื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานครเช่น ไม่คืนพื้นที่ผิวจราจร ๓.ความล่าช้าของการตอบกลับผู้ร้องเรียน และแจ้งเรื่องราวให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ไข ๔.การตรวจสอบการชำรุด ของถนน สะพานของสำนักการโยธาไม่ครอบคลุมทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕.การสื่อสารผ่านโทรศัพท์ให้ข้อมูลตำแหน่ง รายละเอียดปัญหาได้ไม่ชัดเจน ๖.เพิ่มช่องทางการร้องเรียนผ่าน Line@ Application ๑.เงื่อนไขประกอบการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคเข้าดำเนินการในพื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานคร ๒.การใช้ Line Applicationในการเพิ่มช่องทางการร้องเรียน ส่งรูปภาพ ตำแหน่งปัญหา แจ้งหน่วยงานและติดตามการแก้ไข ๓.การเพิ่มบทบาทให้ภาคประชาชนในการมีส่วนร่วมในการแจ้งปัญหาการชำรุดเสียหายของถนน สะพาน ๑.ดำเนินการเชิงรุกแก้ปัญหาได้รวดเร็ว ๒.ส่งรูป ตำแหน่งเรื่องราวร้องเรียนได้ชัดเจน ๓.ผู้รับบริการ เครือข่าย มีช่องทางการติดต่อที่มากขึ้น 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
47 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักการคลัง เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอิเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักการคลังไม่น้อยกว่า 24 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
48 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บโฉนดที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อป้องกันเอกสารสูญหายและเป็นฐานข้อมูลที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วนและรวดเร็ว โดยการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทเครื่องสแกนเนอร์มาสแกนโฉนดที่ดินฯ และจัดทำเป็นฐานข้อมูลโฉนดที่ดินฯ เพื่อให้ง่ายและสะดวกในการค้นหาโฉนดที่ดินฯ ที่หน่วยงานที่มาขอรับบริการ ทั้งนี้ เพื่อลดปัญหา อุปสรรค ลดการใช้ทรัพยากร เช่น กระดาษของหน่วยงาน ตลอดจนลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 1.เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอนการทำงาน โดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 2.เพื่อไม่ให้ต้นฉบับโฉนดที่ดินฯ ได้รับความเสียหาย 3.เพื่อให้หน่วยงานผู้รับบริการสามารถรับข้อมูลสำเนาเกี่ยวกับโฉนดที่ดินฯ ของหน่วยงานตนเองในรูปแบบสื่อดิจิตอล ได้สะดวกและรวดเร็ว และมีฐานข้อมูลของหน่วยงานตนเอง สามารถปรับใช้กับสื่ออิเลคทรอนิกส์อื่น ได้มากกว่าสำเนาโฉนดที่ถ่ายจากเครื่องถ่ายเอกสาร 1.กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับโฉนดที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานครในรูปแบบสื่อดิจิตอล ทัดเทียมกับยุคปัจจุบันที่มีการใช้สื่ออิเลคทรอนิกส์อย่างแพร่หลาย 2.เพิ่มช่องทางการให้บริการแก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ขอรับบริการ 3.ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และลดการใช้ทรัพยากร เช่น กระดาษ 4.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครผู้รับบริการมีข้อมุลสำเนาโฉนดที่ดินฯ ของหน่วยงานตนเองในรูปแบบสื่อดิจิตอล ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ มากขึ้น 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
49 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
50 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ทุก 15 วัน สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองทุก 15 วัน - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
51 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเพื่อประชาคมเมือง กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาโปรแกรมด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานครใช้ในการปฏิบัติงาน และเผยแพร่สารสนเทศภูมิศาสตร์ รวมถึงการให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร จึงดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเพื่อประชาคมเมืองขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือในการนำเข้าข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์และสื่อสารข้อมูลสารสนเทศของกรุงเทพมหานครสู่ประชาชน เพื่อให้มีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่เป็นสื่อกลางในการนำข้อมูลสารสนเทศของเมืองสู่การให้บริการและการมีส่วนร่วมของประชาชน ร้อยละ 80 โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานตามที่ดำเนินการได้ (ตามขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้) 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
52 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 12 แผนภาพต่อไป 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
53 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ภายใต้ระบบ BMA GIS ONLINE ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการนำเทคโนโลยีสารเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการประชาชน ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานครระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) ในการนี้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรเพิ่มช่องทางการพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานและประชาชนทั่วไป 1. เพื่อพัฒนาระบบ e-Learning ที่สามารถบรรจุเนื้อหา รายวิชา ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ให้บริการด้านวิชาการแก่ ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชนที่สนใจ 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและสามารถเลือกสรรการเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยได้ตลอดเวลาในทุกที่ ทุกโอกาส มีผู้เรียนในระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
54 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักพัฒนาสังคม ดำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพกิจกรรม ประกาศต่างๆ หน่วยงานต้องปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด 1.ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจุจุบัน 2.ภายใน 1 ปี ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้ครบถ้วนทุกรายการตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด (ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารของสำนักพัฒนาสังคม ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5. ติดต่อเรา) 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
55 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม รายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม มีความถูกต้อง และสามารถตรวจสอบได้ เพื่อจัดทำรายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม ส่งทันเวลาและถูกต้อง ตามที่ สนค. กำหนด ค่าเป้าหมาย 5 คะแนน 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
56 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 ค่าใช้จ่ายโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ในการให้บริการแก่ประชาชนโดยสำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจในด้านการสงเคราะห์และสวัสดิภาพสังคม การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนในกรุงเทพมหานครเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การจัดทำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวางกรอบแนวคิด การกำหนดแผนและการจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาระบบคุณภาพชีวิตที่ทำให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่อยู่ในวัยต่างๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประสบการณ์ความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ข้อคิดเสนอแนะและการให้คำปรึกษาได้ในทุกที่ทุกเวลาตามต้องการของผู้สูงอายุและคนทุกวัยในกรุงเทพมหานคร จึงจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและบุคคลทุกวัยสามารถเข้ามาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน การแสดงความรู้สึกและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนทุกวัยในสังคมอย่างเป็นอิสระเพื่อสื่อถึงบรรยากาศความอบอุ่นของครอบครัวที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย ทำให้เกิดช่องทางของการติดต่อสื่อสารด้วยเทคโนโลยีในชนทุกระดับชั้นที่แต่ละชุมชนของกรุงเทพมหานครให้การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในแต่ละชุมชนอย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนเมืองในกรุงเทพมหานครสามารถรองรับความต้องการของประชาชนในชุมชนเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะ Social Network ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและอินเตอร์เน็ตเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการเพิ่มช่องทางให้ผู้สูงอายุเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่เป็นความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com 3. เพื่อให้มีผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ตามโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร 1. จัดฝึกอบรมทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น การใช้งานโปรแกรมเว็บบราวเซอร์และการใช้เว็บไซต์ จำนวน 30 รุ่น ให้แก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป รุ่นละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 600 คน 2. จัดจ้างผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ ระยะเวลา 1 ปี 1,081,000.00 1,012,980.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
57 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพระนคร การปรับปรุงเว็บไซด์ของหน่วยงานมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานกับประชาชนและเป็นช่องทาง การให้บริการข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่อกับหน่วยงานในการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารและสร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนได้ ดำเนินกิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพระนคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
58 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การตรวจสอบและคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์ -สำนักงานเขตป้อมปราบฯ มีโรงพยาบาลหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อาทิ รพ.กลาง รพ.หัวเฉียว รพ.ยศเส จึงมีการออกสูติบัตรให้กับเด็กที่เกิดโดยสำนักงานเขตป้อมปราบฯเป็นจำนวนมาก ทำให้มีประชาชนมาติดต่อขอคัดและรับรองสูติบัตร กรณีสูติบัตรสูญหายหรือชำรุดอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการค้นหาสูติบัตรแบบเดิมที่ยังไม่มีการเก็บข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบค้นหาในห้องเก็บเอกสาร ทำให้ประชาชนต้องรอคอยเป็นเวลานานหรือบางครั้งต้องนัดหมายประชาชนมาในวันอื่่น ๆ ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชน ในการขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสูติบัตรที่่มีข้อมูลครบถ้วน (ยกเว้นสูติบัตรที่่ไม่ปรากฎชื่อผู้เกิด และ/หรือรายการในสูติบัตรที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง) โดยผ่านทาง Application Line ภายใต้ชื่อ "ป้อมปราบบริการสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์" -เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรอง สูติบัตรแบบเดิมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชาชนผู้รับบริการ โดยการลดระยะเวลาการรอคอยของประชาชน -เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชานผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบฯและกรุงเทพมหานคร -เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลารอคอยของประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมที่ต้องค้นหาด้วยระบบมือ 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
59 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับเว็บไซค์ของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ หน่วยงานให้บริการบนเว็บไซด์ประกอบด้วย -ปฏิทินกิจกรรม แผนงาน/โครงการที่หน่วยงานจะดำเนินการในแต่ละเดือนล่วงหน้า โดยต้องมีการลงปฏิทินกิจกรรมที่หน่วยงานจะดำเนินการเป็นรายเดือนโดยหน่วยงานจะต้องเผยแพรในเดือนนั้น เช่น กิจกรรมที ต้องมีการลงปฏิทินกิจกรรมในเดือนมกราคมให้แล้วเสร็จ -ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร - การให้บริการของหน่วยงานซึ่งอาจแยกหัวข้องานตามภารกิจของกองหรือฝ่ายตามโครงสร้างของหน่วยงาน หน่วยงานจะดำเนินการเป็นรายเดือนโดยหน่วยงานจะต้องเผยแพร่ล่วงหน้าอย่างน้อยให้แล้วเสร็จ ดังนี้ 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเราทางเว็บไซค์ 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
60 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงเว็ปไซต์ของสำนักงานเขต การดำเนินการบริการด้านสารสนเทศในยุคปัจจุบันมีความสำคัญในการให้บริการประชาชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะช่วยอำนวยความสะดวก เพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร และยังเป็นมาตรฐานที่สำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์บริการประชานสะดวก ฉับไว ให้บริการ 1. ปรับปรุงข้อมูลในเว็ปไซด์สำนักงานเขตบางรักให้เป็นปัจจุบัน 2. ประชาสัมพันธ์โครงการ / กิจกรรมต่าง ๆของสำนักงานเขตบางรักให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ให้เป็นประจำทุก 15 วัน หรือ 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
61 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับสภาพฝน สภาพน้ำท่วมผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ให้แก่ประชาชน สำนักงานเขตบางรักเป็นหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ที่มีภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการ ปฏิบัติการ ป้องกันและแก้ปัญหาน้ำท่วม สำนักงานเขตบางรักได้จัดกลุ่ม Line เพื่อกระจายข้อมูลเกี่ยวกับสภาพฝน สภาพน้ำท่วมขัง โดยกระจายข้มูลผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ผ่านกลุ่มเครือข่ายสมาชิกที่ต้องการรับทราบข้อมูล ข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน เพื่อให้ประชาชนทราบโดยมีแอดมินเป็นเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตบางรัก ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการส่งข้อมูลผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ให้แก่สมาชิกในกลุ่มดังกล่าว เพื่อให้ประชาน หรือสมาชิกในกลุ่มไลน์ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับฝน พื้นที่น้ำท่วมขัง และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ ภายในพื้นที่เขตบางรัก กลุ่มเครือข่าย ID จำนวน 80 คน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
62 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด สำนักงานเขตบางรัก (BFC) เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา สร้างกระบวนการที่ใสสะอาดในการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในการเข้าถึงบริการด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาติต่างๆ 1. เพื่อให้การดำเนินการของการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast&Clear : BFC) สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายในการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน 2. เพื่อนำไปสู่การพัฒนา ปรับปรุง การบริการที่สะดวก รวดเร็ว ทันสมัยและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นไว้บริการประชาชนได้เกินความคาดหวัง เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 2. ได้รับความพึงพอใจในการให้บริการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความมเชื่อมั่นต่อกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-12-20 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
63 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2017-01-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
64 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บเอกสารสูติบัตรเข้าในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีแนวคิดที่จะจัดเก็บเอกสารเก่าในระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อสะดวกในการจัดเก็บในการค้นหาและตรวจค้นข้อมูล เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง หากเอกสารต้นฉบับสูญหาย หรือชำรุดไปตามกาลเวลา 1. เพื่อสะดวกในการตรวจสอบเอกสารสูติบัตรของเจ้าหน้าที่และประชาชนในการตรวจค้นข้อมูลสูติบัตร 2. เพื่อเกิดความสะดวกของประชาชนในการใช้สูติบัตรแสดงตนต่อหน่วยงานต่าง ๆ หรือต่อทางราชการของต่างประเทศในกรณีเอกสารสูติบัตรที่จัดเก็บ ณ ฝ่ายทะเบียนเกิดการชำรุดสูญหาย 3. เพื่อสำรองข้อมูลไว้ ณ ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนเขตปทุมวัน เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลทะเบียนราษฏรของกรมการปกครองในกรณีที่กรมการปกครองเปิดระบบให้เชื่อมต่อสัญญาณได้ 1. เป้าหมายจัดเก็บข้อมูลสูติบัตรของบุคคลที่แจ้งเกิดในพื้นที่เขตปทุมวัน ลงฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะสูติบัตรที่ยังมิได้จัดเก็บในฐานข้อมูลทะเบียนราษฏรของกรมการปกครองโดยเริ่มจัดเก็บสูติบัตรฉบับปลายปี พ.ศ. 2492 ถึงสูติบัตรฉบับปี พ.ศ. 2493 รวมทั้งหมด 8,535 ราย 2. ผู้รับบริการได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและคัดรับรองรายการสูติบัตร ตัวชี้วัด 1.จัดเก็บสูติบัตรฉบับเก่าอยู่ในฐานข้อมูลสำหรับสูติบัตรที่ออกปลายปี พ.ศ. 2492 ถึง สูติบัตรที่ออกใน พ.ศ. 2493 จำนวน 8,535 ราย จัดเก็บได้ร้อยละ 80 (จำนวน 8,535 รายการ) 2.ความพึงพอใจของประชาชนในการตรวจสอบสูติบัตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
65 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear (BFC) ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง) โดยให้มีลักษณะเป็ฯศูนย์รับคำขอด้านทะเบียนราษฏรและการอนุญาตต่างๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำขอและพื้นที่พิจารณาแยกออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลา เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดีสะดวกสบายโปร่งใสปราศจากการเรียกรับสินบน รับรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเอง ผู้รับบริการศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (BFC) มีความพึงพอใจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
66 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมปรับปรุงระบบสารสนเทศและเว็บไซด์เพื่อให้บริการประชาชน สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตาม สืบค้นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อยจำนวน 12 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
67 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์สำนักงานเขตพระโขนง เพื่อสนับสนุนการดำเนินการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการประชาชน ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน เว็บไซต์ของหน่วยงานมีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ช่วยอำนวยความสะดวกในการให้บริการแก่ประชาชน เว็บไซต์ของหน่วยงานมีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตามเกณฑ์ที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระโขนง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
68 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
69 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการจัดเก็บทะเบียนพาณิชย์เพื่อบริการประชาชน ด้วยสำนักงานเขตบางเขน มีนโยบายในการบริหารจัดการหน่วยงานให้เป็นไปตาม พระราชกฤษฎีกาว่าดวยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 5 และหมวด 7 โดยมีเป้าหมายที่มุ่งใหเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน เพื่อการบริการประชาชนด้านการจดทะเบียนพาณิชย์ขึ้น เพื่อสร้างมาตรฐาน ในการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน สามารถอํานวยความสะดวกให้ประชาชนในหน่วยงานได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.เพื่อจัดเก็บใบทะเบียนพาณิชย์ และสะดวกในการค้นหาของเจ้าหน้าที่ 2.เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ แก่ผู้มาขอรับบริก 3.เพื่อปรับปรุงกระบวนการใหhริการที่สะดวกรวดเร็วและถูกต้องยิ่งขึ้น 4.เพื่อปรับทัศนคติวิธีคิด วิธีการทํางานของบุคลากรให้คํานึงถึงผลลัพธ์ในด้านการบริการ ประชาชน ผู้มาติดต่อรับบริการ 1.การสแกนใบทะเบียนพาณิชย์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555-2558 จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ 2.ความพึงพอใจในระดับมาก หรือค่าคะแนนเฉลี่ยเกินกว่า 3.51-4.50 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
70 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
71 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 พัฒนาระบบการให้หบริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อบุคคลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อบุคคลสามารถดำเนินการได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวดเร็ว สามารถตรวจสอบและคัดรับรองได้ทุกสำนักทะเบียน ไม่ต้องเดินทางมามาติดต่อขอคัดรัรบรองยังสำนักทะเบียนที่มีต้นขั้วเก็บรักษาไว้ เพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองเอกสารทะเบียนชื่อบุคคล และเป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ บันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลทตั้งแต่ปีที่มีการบันทึกเลขประชาชนลงในต้นขั้วชื่อบุคคล (พ.ศ. 2534 เป็นต้นไป) จำนวน 10,000 รายการ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การคัดรับรองทะเบียนชื่อบุคคลที่สำนักทะเบียนสะดวก รวดเร็ว และประชาชนพึงพอในในการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
72 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกให้ทันสมัยเพื่อให้ประชาชนได้สืบค้นข้อมูล 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน 2.เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสำนักงานเขตหนองจอกที่เป็นปัจุบัน ถูกต้อง และครบถ้วน ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ ตามหัวข้อ ดังนี้ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.เกี่ยวกับองค์กร 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
73 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 การเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านของเขตธนบุรี สำนักงานเขตธนบุรีมีพื้นที่การปกครอง จำนวน 8.556 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 7 แขวง มีจำนวนชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชนฯ จำนวน 44 ชุมชน ปัจจุบันข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนมีความสำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยทะเบียนบ้านของชุมชนเขตธนบุรี ทั้ง 44 ชุมชน ยังไม่มีการเพิ่มรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้าน ทำให้ไม่สามารถทราบฐานข้อมูลบ้านของชุมชน จำนวนคนที่มีรายชื่อในทะเบียนบ้าน ทำให้เกิดปัญหาในการจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในชุมชน ปัญหาคนในชุมชน ไม่สามารถสนองตอบต่อนโยบายการให้บริการสู่ความเป็นเลิศได้ ดังนั้น หากมีการนำข้อมูลของชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการขุมชนฯ มากำหนดเข้าในระบบทะเบียนบ้านแล้ว ทะเบียนบ้านแต่ละหลังที่อยู่ในชุมชน แต่ละชุมชนเข้ากับฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง จะทำให้ข้อมูลบ้านและประชากรในแต่ละชุมชนสามารถสืบค้น คัดแยกข้อมูล ได้อย่างถูกต้องจากรหัสของชุมชนที่กำหนดขึ้น ทำให้การให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการให้มีความสะดวกและมีประโยชน์มากขึ้น 1. เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการข้อมูลบ้านและประชากรในชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้รับความสะดวกเพิ่มขึ้น 2. เพื่อให้การนำข้อมูลของชุมชนมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้สะดวกยิ่งขึ้น เช่น การเลือกตั้งกรรมการชุมชน การบริการสาธารณสุข การเข้า ช่วยเหลือสิทธิต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรในแต่ละชุมชนเป็นปัจจุบันและถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้ 1. เพิ่มระบบรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านของเขตธนบุรี จำนวน 44 ชุมชน ลงในฐานข้อมูลให้ครบทุกหลังคาเรือน 2. เป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการข้อมูลบ้านและประชากรที่อยู่ในชุมชนได้อย่างถูกต้องและสะดวกเพิ่มมากขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
74 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บข้อมูลการขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้บริการประชาชนทางอินเตอร์เน็ต (รักษารอบปี 57) 1. เพื่อให้ประชาชนที่มาขอคัดสำเนาใบอนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร ได้รับความสะดวก รวดเร็ว 2. เพื่อพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น 3. เพื่อให้บริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ เพื่อจัดเก็บข้อมูลสแกนใบอนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคารตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530- 2556 เข้าในระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 3,349 ราย และให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
75 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การให้บริการประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ นับว่ามีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่นิยมการศึกษาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่เองก็ได้เห็นความสำคัญของการให้บริการในส่วนนี้และได้จัดทำข้อมูลเพื่อประชาสัมำพันธ์ข้อมูลข่าวสารและเป็นช่องที่สามารถติดต่อสื่อสารกับประชาชนได้สะดวก เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลและการดำเนินงานของหน่วยงานให้ผู้รับบริการทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ตามแนวทางที่กำหนด ทั้ง 5 ด้านคือ ปฏิทินกิจกรรม ปรับปรุงข้องมูล การให้บริการ ข่าวสาร และติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
76 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อย http://203.155.220.217/bangkoknoi หรือ http://www.bangkok.go.th/bangkoknoi เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆและประชาชน ได้สะดวก รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง -ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน -เป็นช่องทางรับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน -เป็นช่องทางตอบคำถามข้อคับข้องใจของประชาชน -เป็นชื่อทางในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารใหักับประชาชน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
77 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตตลิ่งชัน เพื่อให้การบริการข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ภารกิจของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ให้กับประชาชนได้รับทราบเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เพื่อเพิ่มช่องทางการบริการที่สะดวกและรวดเร็วแก่ประชาชน ระดับผลผลิต 5 เรื่องต่อเดือน นับจำนวนข่าวสารที่ดำเนินการเผยแพร่ภายในปีงบประมาณ 1. ข่าวสาร โดยต้องลงวันที่ที่นำข้อมูลออกเผยแพร่ท้ายหัวข้อข่าวสารทุกรายการ ประกอบด้วย 1.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมที่หน่วยงานนำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา 1.2 ภาพกิจกรรมเป็นการนำภาพถ่าย การจัดกิจกรรมมาเผยแพร่ 1.3 ประกาศ เป็นประกาศต่าง ๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ เช่น ประกาศของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงาน ประกาศอื่น ๆ เช่น การรับสมัครงาน ประกาศการจัดซื้อ-จัดจ้าง ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคาการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ระดับผลลัพธ์ ร้อยละ 100 นับจากจำนวนครั้งของการปฏิบัติงานตามข้อ 1 - 3 คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนครั้งทั้งหมดของการปฏิบัติงานตามข้อ 1 - 3 1. ปฏิทินกิจกรรม จะต้องลงกิจกรรมต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในปฏิทินกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน 2. ปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรทุก 1 เดือน 3. เผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
78 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตภาษีเจริญ สำนักงานเขตภาษีเจริญ เล็งเห็นความสำคัญของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน จึงดำเนินการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ในเว็บไซด์สำนักงานเขตภาษีเจริญให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เพื่อให้เว็บไซด์ของหน่วยงานได้รับการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตภาษีเจริญให้เป็นไปตามเกณฑ์และเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
79 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขม การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ต้องให้บริการประชาชนซึ่งอยู่ในรูปแบบเว็บไซต์ เป็นช่องทางสื่อสารที่จำเป็นในปัจจุบัน เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร สถิติและกิจกรรมต่างๆให้ประชาชนทราบ ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขมให้เป็นปัจจุบันและเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
80 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางขุนเทียน (ไม่ใช้งบประมาณ) สำนักงานเขตบางขุนเทียนมีการปฏิบัติราชการตามภารกิจของ 10 ฝ่าย เพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลข่าวสาร ภารกิจอำนาจหน้าที่ ให้บริการประชาชน จึงมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ให้เป็นปัจจุบันเพื่อให้ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับทราบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ประชาสัมพันธ์กิจกรรม โครงการต่างๆ ของสำนักงานเขตบางขุนเทียนให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์ ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5. ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
81 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
82 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บข้อมูลการขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้บริการประชาชนทางอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตดอนเมืองเป็นหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มีภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้องในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม สุขอนามัย การศึกษา ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการของสำนักงานเขตดอนเมืองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยที่ 1 (พ.ศ. 2556 - 2560) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (Smart service) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (Smart city) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครจึงต้องมีการกำหนดนิยามของตัวชี้วัดให้มีความชัดเจนดำเนินการศึกษา รวบรวม ข้อมูลเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตดอนเมืองได้ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดเก็บฐานข้อมูลใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร ของฝ่ายโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 - 2559 ซึ่งมีเป็นจำนวนมาก ทำให้การค้นหาเพื่อคัดสำเนาใบอนุญาตรายเก่าต้องใช้เวลานาน ไม่สะดวกต่อประชาชนที่มาขอรับบริการ จึงได้กำหนดให้มีการจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการสแกนใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร (อ.1) ไว้ในฐานข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตดอนเมือง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี สะดวกแก่การค้นหา และลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ 2. เพื่อเพิ่มช่องทางในการบริการประชาชนด้านการเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานได้สะดวก 3. เพื่อเพิ่มความสะดวกและความรวดเร็วต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าาที่ในการตรวจสอบข้อมูลใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร 4. เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 ของการสำรวจตามโครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
83 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 จัดเก็บทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันการให้บริการของฝ่ายทะเบียนจะบริการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ แต่ยังมีข้อมูลงานทะเบียนบางประเภทที่ยังไม่ได้มีการจัดเก็บลงระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถให้บริการผ่านระบบออนไลน์ได้ เช่นข้อมูลของทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมบางส่วนที่เป็นข้อมูลเก่าก่อนการเปิดให้บริการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะไม่สามารถตรวจสอบและคัดรับรองจากฐานข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมได้ เกิดความยุ่งยากในการตรวจสอบ และทำให้ผู้มารับบริการไม่ได้รับความสะดวกและเกิดความล่าช้าในการให้บริการ ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตจตุจักรจึงได้จัดทำโครงการจัดเก็บทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการจัดเก็บข้อมูลการทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ตั้งแต่ พ.ศ.2532-2551 ซึ่งเป็นข้อมูลที่ยังไม่ได้ดำเนินจัดเก็บลงระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้การบริการตรวจสอบและคัดรับรองข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเอกสารที่ต้องมีการจัดเก็บลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการ 3. เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการนำทรัพยากรขององค์กรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด และมีทัศนคติที่ดีต่อการให้บริการของฝ่ายทะเบียน ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2532-2551 ลงฐานข้อมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
84 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 เพิ่มรหัสชุมชนในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ข้อมูลจำนวนบ้านและจำนวนประชากรมีความจำเป็นต่อการกำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและการพัฒนาในด้านต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกันระหว่างจำนวนบ้านและบุคคลที่อยู่อาศัยในทะเบียนบ้าน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงบริการและสวัสดิการต่างๆ ที่รัฐจัดสรรให้ ดังนั้น ถ้าได้มีการนำข้อมูลชุมชนมากำหนดไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร โดยกำหนดรหัสแต่ละชุมชนเข้าไว้ในฐานข้อมูลบ้านแต่ละหลังในแต่ละชุมชน ก็จะทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลบ้าน และข้อมูลประชากร ในแต่ละชุมชนได้อย่างถูกต้องตามรหัสชุมชนที่กำหนดขึ้น สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการเลือกตั้งกรรมการชุมชน การตรวจสอบบุคคลในชุมชน ใช้ในด้านการศึกษา การสาธารณสุข ทำให้สามารถให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการที่สะดวก และนำระบบสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเพิ่มข้อมูลประเภทชื่อชุมชนในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรในพื้นที่เขตจตุจักร 2. เพื่อให้ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ สามารถนำข้อมูลบ้านที่ได้ระบุชุมชนไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ตามที่กฎหมายกำหนด 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการนำระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ 4. เพื่อให้ทราบจำนวนบ้านในแต่ละชุมชนที่ถูกต้องตรงตามฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร 1. เพิ่มรหัสชุมชน จำนวน 42 ชุมชน ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร 2. เพิ่มช่องทางการให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับบ้าน และประชากรที่อยู่ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง และสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
85 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ สำนักงานเขตบึงกุ่ม ให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบึงกุ่ม อย่างน้อย เดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
86 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซด์สำนักงานเขตสาทร หน่วยงานมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็ปไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ และติดต่อเรา 1. เพื่อสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลในทุก ๆ ด้านของสำนักงานเขตสาทรเป็นไปอย่างมีระบบ ทันสมัย และเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อให้การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผลงาน ข่าวเขตสาทร ข้อมูลต่างๆ ผ่านทางเว็บไซด์เขตสาทร ซึ่งสามารถนำไปใช้อ้างอิงได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่ให้กับผู้ต้องการข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตสาทร 5. เพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ การร้องทุกข์ 6. เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการให้บริการแก่ประชาชน 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผลงานต่าง ๆ ของเขตสาทร ไปยังกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด 2. เพื่อให้การปรับปรุงเว็บไซด์เขตสาทรมีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได้ศึกษาค้นคว้า และใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง 4. เพื่อเป็นสื่อกลางในการติดต่อสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
87 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
88 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางคอแหลม 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ของเขตให้ประชาชนทั่วไปทราบ 2. เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ จากประชาชน นำมาพัฒนาการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ของเขตให้ประชาชนทั่วไปทราบ 2. เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ จากประชาชน นำมาพัฒนาการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลคะแนน 90 คะแนน 1. ปฏิทินกิจกรรม (10 คะแนน/ปี) โดยหน่วยงานดำเนินการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 59 – สิงหาคม 60 ซึ่งจะต้องลงกิจกรรมต่างๆ ที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในปฏิทินกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือนและดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. เกี่ยวกับองค์กร (20 คะแนน/ปี) ดังนี้ 2.1 ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน 2.2 โครงสร้าง/ผู้บริหาร 2.3 แผนปฏิบัติราชการ 2.4 สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน ส่วนราชการ โดยแบ่งการให้คะแนน ดังนี้ 1) การนำเข้าข้อมูลให้ครบถ้วนทุกรายการ (5 คะแนน) มีกำหนดเวลาดำเนินการ ดังนี้ - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ธ.ค. 2559 ได้รับ 5 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ม.ค.2560 ได้รับ 4 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ก.พ.2560 ได้รับ 3 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน มี.ค.2560 ได้รับ 2 คะแนน หากพ้นจากที่กำหนด จะไม่ได้รับคะแนนในส่วนนี้ 2) การปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน (ข้อ 2.2 และข้อ 2.4) (15 คะแนน) ดังนี้ - ครั้งที่ 1 แล้วเสร็จภายใน 25 มี.ค.60 - ครั้งที่ 2 แล้วเสร็จภายใน 25 มิ.ย.60 - ครั้งที่ 3 แล้วเสร็จภายใน 25 ก.ย.60 3. ข่าวสาร (48 คะแนน) โดยต้องลงวันที่ที่นำข้อมูลออกเผยแพร่ท้ายหัวข้อข่าวสารทุกรายการ หากไม่ลงวันที่จะไม่นำเรื่องนั้นๆมารวมเพื่อคิดเป็นผลคะแนน ประกอบด้วย 3.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมที่หน่วยงานนำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา 3.2 ภาพกิจกรรมเป็นการนำภาพถ่ายการจัดกิจกรรมมาเผยแพร่ 3.3 ประกาศ เป็นประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ เช่น ประกาศของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงาน ประกาศอื่นๆ เช่น การรับสมัครงาน ประกาศเกี่ยวกับการจัดซื้อ-จัดจ้าง เช่นประกาศประกวดราคาประกาศสอบราคา ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ โดยแบ่งการให้คะแนน ดังนี้ - ปรับปรุง 2 ครั้ง/เดือน ได้ 1 คะแนน - ปรับปรุง 3 ครั้ง/เดือน ได้ 2 คะแนน - ปรับปรุง 4 ครั้ง/เดือน ได้ 3 คะแนน - ปรับปรุง 5 ครั้ง/เดือน ได้ 4 คะแนน ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 4. การให้บริการ (18 คะแนน ) ประกอบด้วย 4.1 การให้บริการของหน่วยงาน (10 คะแนน) เป็นการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอนระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ โดยลงช้อมูลแล้วเสร็จ ภายใน มี.ค.60 หากพ้นจากที่กำหนด จะไม่ได้รับคะแนนในส่วนนี้ 4.2 แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ (8 คะแนน)เป็นแบบฟอร์มการให้บริการของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัด สนป.ซึ่งดำเนินการเพิ่มเติมจากปีที่ผ่านมา 1 แบบฟอร์ม เสร็จภายในเดือน ก.พ.60 ได้รับ 4 คะแนนและดำเนินการเพิ่มเติมจากเดือน ก.พ.60 อีก 1 แบบฟอร์มเสร็จภายในเดือน พ.ค.60 ได้รับอีก 4 คะแนน 5. ติดต่อเรา (4 คะแนน) ต้องแสดงข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(e-mail) และแผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน โดยดำเนินการแล้วเสร็จ ภายในเดือนธันวาคม 2559 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
89 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต - หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน ๗๗ หน่วยงาน - เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) หรือเว็บไซต์ที่หน่วยงานจัดทำขึ้น และมีการ Link มายังเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร - ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตามข้อ ๑ ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย - ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เพื่อให้เพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตให้แก่ประชาชน กำหนดและปรับปรุงหัวข้อในเว็บไซต์ 5 หัวข้อ ดังนี้ 1 ปฏิทินกิจกรรม 2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3 ข่าวสาร 4 การให้บริการ 5 ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
90 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
91 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานและแผนที่ สำนักงานเขตบางพลัด สำนักงานเขตบางพลัดในฐานะหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะ การบริหารการปกครอง ความมั่นคง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งจำเป็นต้องมีการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่ตั้งชุมชน หน่วยออกเสียง และข้อมูลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง นำไปจัดแผนที่แสดงการดำเนินการลงในเว็บไซต์ Google maps ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน การวางแผนและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านที่ 9 เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน มิติที่ 9.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป้าประสงค์ที่ 9.5.1 นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการประชาชน มาตรการสร้างข้อมูลสารสนเทศเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน ของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2560 1. เพื่อเป็นคลังข้อมูลของสำนักงานเขตบางพลัด 2. เพื่อสร้างแผนที่ข้อมูล GIS โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 4. เพื่อประโยชน์ในการศึกษาของนักศึกษา และประชาชนทั่วไป จำนวนแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 แผนที่ (นับจากจำนวนแผนที่ที่ได้จัดทำแล้วเสร็จและสามารถเผยแพร่ให้บริการประชาชนผ่าน Google map และเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
92 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงบริการต่างๆในกทม. มีการลงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 1 เพื่อให้การรายงานข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางพลัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพิ่อปรับปรุงข่าวสารของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด อย่างน้อย 3 หัวข้อต่อเดือน ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม มีการลงกิจกรรมต่างๆที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน และดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ประกอบด้วย ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน โครงสร้าง/ผู้บริหาร แผนปฏิบัติราชการ สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน และข้อมูลทางกายภาพ 3. ข่าวสาร เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรมที่ได้นำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา ภาพกิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินการ ประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ 4. การให้บริการ การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอน ระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ ตามภารกิจหน้าที่ของสำนักงานเขตครบทุกฝ่าย 5. ติดต่อเรา ข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และ แผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
93 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็ปไซต์สำนักงานเขตจอมทอง เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ภาพกิจกรรม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน เพื่อปรับปรุงข้อมูลต่างๆ ในเว็ปไซต์ของสำนักงานเขตจอมทองให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ดำเนินการปรับปรุงเว็ปไซต์แต่ละหัวข้อ ดังนี้ 1. ปฏิทินกิจกรรม 12 คะแนน 2. เกี่ยวกับองค์กร 20 คะแนน 3. ข่าวสาร 48 คะแนน 4. การให้บริการ 16 คะแนน 5. ติดต่อเรา 4 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
94 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสวนหลวงให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อบริการประชาชน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชนเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกที่มากขึ้น 1.เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้านการให้บริการผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อพัฒนาหน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัยมีข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
95 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมพัฒนาเว็บไซต์หลักสี่เพื่อบริการข้อมูลแก่ประชาชน ปัจจุบันการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต้องมีความถูกต้องและรวดเร็ว ดังนั้นสำนักงานเขตหลักสี่จึงมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานและให้บริการบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเรา - ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานให้มีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน - เผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของสำนักงานเขตเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้รับทราบ - เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของสำนักงานเขต - เว็บไซต์ของหน่วยงานได้รับการให้มีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน - เผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของสำนักงานเขตเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้รับทราบทุกสัปดาห์ - เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของสำนักงานเขตและปรับปรุงให้ทันเหตุการณ์ 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
96 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสำนักงานเขตหลักสี่ ผ่านแอพพลิเคชั่น Line@ ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทำให้การติดต่อสื่อสารมีความสะดวก รวดเร็วขึ้น ซึ่งแอพพลิเคชั้น Line@ เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะทำให้การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูล ข่าวสาร เกิดความรวดเร็ว สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้นำ Line@ มาให้ประโยชน์ในการส่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ต่างๆให้ประชาชนได้ทราบ เพื่อที่จะช่วยทำให้ประชาชนและผู้รับบริการ ได้รับความสะดวก รวดเร็วในการติดต่อกับสำนักงานเขตหลักสี่ - จำนวนผู้ติดตามผ่านเครือข่ายแอพพลิเคชั่น Line@ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 100 ราย -ผู้ติดตามผ่านเครือข่ายแอพพลิเคชั่น Line@ มีความพึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
97 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear(BFC) การดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร การดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ผู้รับบริการของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear (BFC) เกิดความพึงพอใจสูงสุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
98 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม โครงการ ด้วยระบบสารสนเทศและเว็บไซต์ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม โครงการ ด้วยระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เป็นการเพิ่มช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างประชาชนและสำนักงานเขต เพื่อช่วยให้ภาคเอกชนและภาคส่วนต่างๆ รับรู้การทำงานและเกิดเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน 1. เพื่อให้ข้อมูลของเขตสายไหมเป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลของสำนักงานเขตได้ เพื่อให้ประชาชนผู้มาใช้บริการของสำนักงานเขตสายไหมและประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตสายไหมได้อย่างสะดวก รวดเร็วและได้ข้อมูลที่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
99 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ด้วยการบริการของสำนักงานเขตคันนายาว จำเป็นต้องให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมไปถึงการให้บริการด้านอิเล็กทรอกนิกส์ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว และสะดวกมากยิ่งขึ้น จึงต้องมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อยู่เสมอ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอีเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
100 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์การประเมินผล สำนักงานเขตวังทองหลางวังทองหลาง เล็งเห็นความสำคัญของเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน จึงดำเนินการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ในเว็บไซต์สำนักงานเขตวังทองหลางให้เป็นปัจจุบัน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว 1. เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเป็นปัจจุบัน 2. เพื่อให้ประชาชนหรือผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวก ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตวังทองหลาง เป้นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
101 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตคลองสามวา ปรับปรุงเว็ปไซค์สำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตคลองสามวาได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์ของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านการบริหารจัดการแนวใหม่ 3 . เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
102 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 ปรับปรุงเว็บไซต์เขตบางนาให้เป็นปัจจุบัน ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตบางนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตบางนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเผยแพประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตบางนา 2. ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางนาให้เป็นปัจจุบัน 3. เพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชน หน่วยงานมีการปรับปรุงเว็บไซต์ ทุก 15 วัน จำนวนครั้งในการปรับปรุงมากกว่า 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
103 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตทวีวัฒนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตทวีวัฒนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้กับประชาชน 2. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน มีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงาน จำนวน 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. เกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5.ติดต่อเรา ให้เป็นปัจจุบัน โดยปรับปรุงอย่างน้อย 2 หัวข้อต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
104 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตทุ่งครุ เพิ่มระบบสารสนเทศและ/หรือระบบภูมิสารสนเทศเพื่อบริการประชาชนหรือหน่วยงานภาครัฐ (e-Service/m-Service) เพิ่มระบบสารสนเทศและ/หรือระบบภูมิสารสนเทศเพื่อบริการประชาชนหรือหน่วยงานภาครัฐ (e-Service/m-Service) และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานราชการอิเล็กทรอนิกส์ ปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตทุ่งครุ 2 ครั้งต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
105 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทะเบียนราษฎร 1.เพื่อปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนราษฎร ให้เป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการสืบค้น และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง สร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ 2.เพื่อรวบรวมข้อมูลดัชนีของแฟ้มเอกสารต่างๆ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 1.ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารงานทะเบียนราษฎร ประเภทใบแจ้งย้ายถิ่นที่อยู่ ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2541 - 30 กันยายน 2560 2.ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทะเบียนบ้านฉบับปี 2499, ปี 2515, ปี 2526 และปี 2530 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
106 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 30,000,000.00 30,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
107 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 8,400,000.00 8,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
108 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,300,000.00 11,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
109 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 8,900,000.00 8,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
110 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 15. กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
111 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม 1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ 2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
112 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
113 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
114 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้ัองตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้องร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
115 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
116 4.0.2.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคาร รหัสประจำบ้าน ที่มีประชาชนมาขอรับบริการ การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
117 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การนำแผนฯไปสู่การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
118 9.0.1.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ การส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ หรือเริ่มที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยรับตรวจ จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
119 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการจัดเก็บรายงานผลการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในสามารถนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน การนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายในได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่นำเข้าเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ภายใน ๑๐ วันทำการ นับถัดจากวันที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครลงนาม 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
120 9.0.1.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1. 2560 การประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครผ่านโทรทัศน์วงจรปิด การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) 150 ครั้ง 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
121 9.0.7.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ 11,219,000.00 3,850,000.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2018-01-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
122 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1.1 2560 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลงนามสัญญาแล้วเสร็จ 5,000,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
123 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - สำนักการคลังพิจาณาแล้วเห็นควรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบเบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผล สามารถแก้ไขความล่าช้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสามารถรองรับปริมาณงานที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตเช่นเดียวกับ กรมบัญชีกลางที่ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้เบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการและลูกจ้างประจำ รวมถึงยังเป็น เครื่องมือให้ผู้บริหารารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ในการติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ และการบริหารจัดการ งบประมาณด้านบำเหน็จบำนาญ - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - เพื่อลดขั้นตอนและลดปริมาณเอกสารในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้มีระบบจัดเก็บฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ให้ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของงาน และบริหารงานได้อย่างประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสำรองข้อมูลให้สามารถปฏิบัติงานได้ หากเกิดสถานการณ์ไม่ปกติต่างๆ - เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในการจัดองค์กรในรูแบบ e-Office - กองบำเหน็จบำนาญมีระบบการปฏิบัติงานที่มี่ประสิทธิภาพ สามารถลดขั้นตอนและลดปริมาณ เอกสารของการปฏิบัติงาน - ข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานครที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการ สามารถได้รับบำเหน็จบำนาญ รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว - ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของ กองบำเหน็จบำนาญ เพื่อการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4,119,800.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
124 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้มีสิทธิใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครมีความพึงพอใจในคุณภาพ การบริหารจัดการด้วยระบบและรูปแบบที่ทันสมัย เป็นกลไกที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
125 9.0.3.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.2.1 2560 โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 291,233,000.00 289,896,750.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
126 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงข้อมุูลเว็บไซต์ของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครประกอบด้วยปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 77 หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย - ปฏิทินกิจกรรม - ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร - ข่าวสาร - การให้บริการ - ติดต่อเรา ผลคะแนนการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด ค่าเป้าหมาย 80 คะแนน 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
127 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน หน่วยงานบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเพื่อตรวจสอบยอดคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี ร้อยละ 95 ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่สามารถบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
128 9.0.5.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการสนับสนุนข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี นำข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณ ปริมาณข้อมูลข่าวสารและความรู้ด้านงบประมาณจัดทำผ่านระบบสารสนเทศสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณเพิ่มขึ้นกว่าปีก่อนร้อยละ 5 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
129 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ได้เล็งเห็นความสำคัญในการที่จะพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรกรุงเทพมหานครด้านไอซีทีจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยประสานขอความร่วมมือจากศูนย์บริหารองค์การสากล (GEMC) มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) เพื่อจัดให้มี การฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการยกระดับ มาตรฐานวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร กทม. ให้มีความรู้ ความชำนาญและทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูงต่อไป 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับประเทศ 2 เพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านไอทีของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐาน 3 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเป็นเกณฑ์ประเมิน Competencies ของบุคลากรสายงานไอที จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างเข้มข้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีสมรรถนะ และองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยมีผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 90 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 7 คนต่อรุ่น ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 5 คนต่อรุ่น และ 2) วิทยากร จำนวน 2 คนต่อรุ่น 646,000.00 228,200.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
130 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี (COM – 03) คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๗ อนุมัติหลักการแผนและมาตรการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานขั้นต่ำ และกำหนดให้ข้าราชการที่จะเลื่อนจากระดับ ๕ เป็นระดับ ๖ ต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์ สามารถทำแผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ก.พ. ได้มีมติให้เพิ่มเติมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนระดับ ๖ ทุกสายงาน มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ซึ่งมีผลปฏิบัติมาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ถือปฏิบัติและดำเนินการฝึกอบรมข้าราชการตามมติดังกล่าวมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อนุกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้มีประกาศ ลงวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญของทุกหน่วยงานเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จึงเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายจากข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ๖ และ ระดับ ๖ ว – ๗ ว/วช. เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และเพื่อให้การปฏิบัติสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีและมติ ก.พ. ดังกล่าว เห็นควรกำหนดให้มีการจัดฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 ต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญให้มีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานและวิธีการใช้งานในขั้นพื้นฐาน สามารถปฏิบัติงานด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการจัดการงานพิมพ์เอกสาร การจัดทำแผ่นตารางทำการ และการนำเสนอผลงาน ตลอดจนได้รับการฝึกอบรมตามมติคณะรัฐมนตรีและหลักเกณฑ์มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเพิ่มเติมตามที่ ก.พ. กำหนด ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ทุกสายงาน 243,500.00 179,569.25 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
131 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมระบบข้อมูลและข่ายงานระบบคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อปรับปรุงการบริหารงาน และการบริการประชาชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนของสำนักและสำนักงานเขต ได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศส่วนกลาง ตามโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ได้แก่ ระบบงานจัดซื้อ จัดจ้าง บัญชีทรัพย์สิน งบประมาณ รายได้ การเงิน บัญชี บุคลากร เรื่องราวร้องทุกข์ เงินเดือน บริหารคลังวัสดุกลาง บริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล ในปัจจุบันระบบ MIS ได้เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้การจัดระบบข้อมูลของหน่วยงาน นำไปสู่ การปฏิบัติงานที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ในระดับหนึ่ง และเพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการฯ ดังกล่าวเกิดผลสำเร็จต่อเนื่อง สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ติดตามผลการใช้ระบบ และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายและการใช้โปรแกรมระบบงานที่เป็นอุปสรรคปัญหาต่อการปฏิบัติงาน ให้เกิด ผลสำเร็จยิ่งขึ้น โดยได้ดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณดำเนินการปรับปรุงระบบงานดังกล่าว เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ และกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนั้น จึงเห็นควรดำเนินการจัดให้มี การฝึกอบรมคอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมระบบงานที่ได้พัฒนาปรับปรุงแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครทั้งระดับสำนักและสำนักงานเขต สามารถใช้ระบบงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบต่อไป เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ระบบงาน MIS ที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการ และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ประเภทผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา 135,800.00 119,020.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
132 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปัจจุบันนี้ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2556-2560) ในประเด็น-ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) แต่เนื่องจากข้าราชการ ของกรุงเทพมหานครยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.1.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่าง ๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้งสามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.1.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรม แบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครขั้นสูง (Advanced GIS) เป็นการฝึกอบรมแบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 286,800.00 223,050.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-03 00:00:00 2017-02-15 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
133 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2.1 2560 โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร (CIO) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ในฐานะหน่วยงานหลักซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการผลักดันและติดตามผลการดำเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดจัดการสัมมนาเพื่อพัฒนาผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการนำเทคโนโลยี-สารสนเทศมาปรับใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและบูรณาการข้อมูลให้ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานครได้ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการเป็นผู้นำในการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เอื้ออำนวยต่อการบริหารและการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครและสามารถบรรลุเป้าหมายมุ่งสู่การเป็นมหานครอิเล็กทรอนิกส์ (Digital City) 1. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติในการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเข้มแข็ง 2. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต ตระหนักถึงความสำคัญของการนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มาปรับใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและบูรณาการข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เอื้ออำนวยต่อการบริหารและการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานเพื่อปรับปรุงขับเคลื่อนและผลักดันการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 1. ดำเนินการจัดการสัมมนาและศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร (CIO) จำนวน 1 รุ่น ระยะเวลา 4 วัน 2. กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 คน ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต จำนวน 18 คน ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 1 คน ผู้อำนวยการกองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 4 คน 553,200.00 417,560.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
134 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซม และบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณค่าซ่อมแซมและลดปริมาณเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่ส่งซ่อม และลดกระบวนการปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ของเจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถบริการซ่อมได้สะดวกรวดเร็วขึ้น กองบริการระบบคอมพิวเตอร์ จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเสียเวลาในการส่งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์มายังกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ข้าราชการเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 200 คน ประกอบด้วย 3.1 เป้าหมายหลัก จำนวน 150 คน ดังนี้ (1) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับชำนาญการลงมา จำนวน 150 คน 3.2 ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน ดังนี้ (1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 4 คน) จำนวน 20 คน (2) วิทยากร (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 6 คน) จำนวน 30 คน 253,000.00 144,974.55 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
135 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์และพิจารณาความเป็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เรื่องที่ได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมที่เจ้าหน้าที่ดำเนินการวิเคราะห์แล้วเสร็จ และจัดทำรายงานเสนอเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการฯ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
136 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงาน/ส่วนราชการมีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข ผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาการใช้ระบบโประแกรมประยุกต์ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
137 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะเป็นหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครพิจารณาเห็นว่า เพื่อให้การพัฒนาและการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเกิดความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นสามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานและใช้ในการบริหารจัดการและการบริการภายในของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการให้บริการแก่ประชาชนและสาธารณะจึงเห็นควรจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) เพื่อเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาและดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมุ่งให้การบริการของ กรุงเทพมหานครเป็นการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหานครอิเล็กทรอนิกส์ (e-BMA) ๑. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่ครอบคลุมภารกิจระดับสำนักได้อย่างเหมาะสม ๒. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางบูรณาการข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจของหน่วยงานให้สามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการที่ดีแก่ประชาชนได้ ๓. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางการบูรณาการงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเหมาะสม ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการบริการตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕) และนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ๔. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเกณฑ์การติดตามความก้าวหน้า การดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็นรูปธรรม กรุงเทพมหานครจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร 7,870,000.00 6,280,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
138 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน มีความรับผิดชอบในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกำหนดนโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การระบายน้ำ การผังเมือง การจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ และติดตามผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสำนักและสำนักงานเขต ซึ่งในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน มีชุดความรู้ที่ใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย การให้คำแนะนำปรึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐานจึงเห็นควรทำการศึกษาเพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะนำไปสู่การมีตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากลต่อไป 1. เพื่อรวบรวมชุดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเมืองด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดตัวชี้วัดระดับการพัฒนาของเมืองในด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ดำเนินการสำรวจและรวบรวมข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน และจัดทำรายงานข้อมูล จำนวน 1 เล่ม 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
139 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการสร้างและออกแบบแผนผังความคิด (Mind Map) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของข้าราชการและหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ให้ก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพราะในการทำงานต่างๆ ในปัจจุบัน จำเป็นต้องมีการวางแผน กำหนดกลยุทธ์และขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์และความคิดเห็นในแง่มุมจากหลายๆ ฝ่ายมาประกอบกัน ขั้นตอนในการระดมสมองมักจะได้รับข้อมูลมาเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการนำมาร้อยเรียง ให้มีความสอดคล้องเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้เป็นแง่มุมต่างๆ สามารถแสดงให้เข้าใจในจุดสำคัญได้ชัดเจนไปในทิศทางที่ถูกต้อง การอบรมในหลักสูตรนี้จะเป็นการสร้างเครื่องมือที่สามารถสร้างแผนผังความคิดให้ออกมาในรูปแบบที่ดูง่ายและชัดเจน สื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลสามารถนำไปใช้ร่วมกับโปรแกรมสำนักงานอัตโนมัติได้อย่างง่ายดาย และยังนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานนำเสนอ (Presentation) ได้อีกด้วย 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญ ของการสร้างและออกแบบแผนผังความคิด 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้สามารถสร้างและออกแบบแผนผังความคิดด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปได้อย่างถูกต้อง โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 156 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 คน ได้แก่ ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ จำนวน 120 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 30 คน) 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 36 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 24 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 6 คน) 2) วิทยากร จำนวน 12 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 3 คน) 391,900.00 232,058.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
140 9.0.3.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1.1 2560 โครงการปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์คอมพิวเตอร์หลักสำหรับรองรับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ระบบงานสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้ต่อเนื่องตลอดเวลา โดยต้องมีระบบปรับอากาศที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่ส่งผลให้เกิดปัญหากับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงต้องมีระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าได้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของทุกอุปกรณ์ แต่ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของหน่วยงาน/ส่วนราชการต่างๆ นำมาติดตั้งเพิ่มขึ้นจำนวนมากตามการเพิ่มของระบบงานสารสนเทศและการขยายระบบเครือข่ายสื่อสาร ทำให้ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมาก และมีการปล่อยความร้อนเพิ่มขึ้นจำนวนมากเช่นกัน ศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 อุปกรณ์บางส่วนจึงมีอายุการใช้งานมาไม่น้อยกว่า 20 ปี มีสภาพเก่าประสิทธิภาพต่ำและมีขนาดไม่เหมาะสมตามการใช้งานจริงในปัจจุบัน มีการเกิดปัญหาชำรุดขัดข้องของระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าทำให้ระบบงานสารสนเทศและระบบเครือข่ายสื่อสารขัดข้องส่งผลกระทบต่อการให้บริการประชาชน นอกจากนั้นระบบป้องกันอัคคีภัยที่มีอยู่เดิมมีสภาพชำรุดไม่สามารถใช้งานได้ และไม่มีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำที่อาจทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรอันเป็นความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความเสียหายได้อย่างมาก มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ พร้อมมีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ การป้องกันอัคคีภัย และมีระบบเฝ้าดูที่สามารถแจ้งเตือนไปยังผู้ดูแลระบบได้โดยอัตโนมัติ เพื่อสามารถแก้ไขเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงทีและต้องปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้จ่ายกระแสไฟฟ้าได้สอดคล้องกับปริมาณการใช้งานและไม่เกิดการขัดข้องบ่อยครั้งอันจะเป็นการลดความเสี่ยงต่อการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของระบบเครือข่ายสื่อสารเกิดความชำรุดเสียหายจากปัญหาด้านกระแสไฟฟ้า ทำให้อุปกรณ์มีอายุการใช้งานนานส่งผลให้ระบบงานสารสนเทศต่างๆและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ 2.1 เพื่อปรับปรุงระบบปรับอากาศ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของศูนย์ข้อมูลในส่วนที่อาจก่อให้เกิดปัญหาหรือลดทอนประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ และติดตั้งระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ ระบบป้องกันอัคคีภัย ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ 2.2 เพื่อติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ 2.3 เพื่อปรับปรุงระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้า ปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานคร ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้าและติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ 10,000,000.00 10,000,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
141 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
6.2. 2560 โครงการสัมมนาเชิงวิชาการนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถแก่ตัวข้าราชการและหน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้ก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การให้ความรู้ในเรื่องนวัตกรรม (Innovation) หมายถึงการนำสิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีความทันสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม การนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (Innovation) มาประยุกต์ใช้ในองค์กร ซึ่งก็คือการนำเอาสิ่งใหม่อาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำรวมทั้งสิ่งประดิษฐ์เข้ามาใช้ในองค์กร เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ระบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียนและช่วยประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย การใช้วีดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เป็นต้น การนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่มาใช้กับกรุงเทพมหานคร จะส่งผลให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีความสามารถทัดเทียมและแข่งขันกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มศักยภาพภายในการปฏิบัติงาน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 360 คน ดังนี้ 1)ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ จำนวน 360 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 180 คน) 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน ดังนี้ 1)เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 30 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 15 คน) 2)วิทยากร จำนวน 10 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 5 คน) 362,000.00 278,193.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
142 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการให้บริการซ่อมแซมและบำรุงรักษาไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง เพื่อแก้ปัญหาข้อขัดข้องของระบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ใช้งานในลักษณะ Stand Alone ให้กับผู้บริหารและทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถแก้ไขและใช้งานได้ ร้อยละ 85 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
143 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมจัดทำวารสารไมโครวิชั่น เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี จึงต้องมีการเผยแพร่ความรู้ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 ครั้ง/ปี 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
144 9.0.3.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1.1 2560 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) กรุงเทพมหานครได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร โดยพัฒนาโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ประกอบด้วยระบบงาน 13 ระบบสามารถปฏิบัติงานได้ตามหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลถึงกันมีระบบฐานข้อมูลที่ใช้งานร่วมกัน โดยมีระบบคอมพิวเตอร์เครื่องแม่ข่ายและระบบฐานข้อมูลติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ชั้น 6 อาคาร 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 (ดินแดง) ปัจจุบันการสำรองข้อมูลจัดทำเป็น Tape Backup โดยเก็บไว้ที่กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ 1 ชุด ส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องแม่ข่าย (Server) ต่าง ๆ ไม่มีเครื่องสำรองซึ่งหากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ แผ่นดินไหว การชุมนุมทางการเมือง เป็นต้น จะทำให้ไม่สามารถให้บริการระบบงานดังกล่าวได้ ดังนั้น เพื่อให้การบริการประชาชนและการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ แม้จะเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องมีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) ๑.มีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)เพื่อให้ระบบสารสนเทศหลักของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ 1. ระบบรายได้ 2. ระบบการเงิน 3. ระบบบัญชี 4. ระบบงบประมาณ 5. ระบบจัดซื้อ 6. ระบบจัดจ้าง 7. ระบบบัญชีทรัพย์สิน 8. ระบบบุคลากร 9. ระบบงานเงินเดือน 10. ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ 11.ระบบงานบริหารคลังพัสดุกลาง 12. ระบบงานบริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และ 13. ระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล สามารถให้บริการประชาชนแลtการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานครได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายและระบบงานที่ติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเกิดขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ 2.เพื่อป้องกันไม่ให้ระบบฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครที่อยู่ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ เกิดความเสียหาย ซึ่งอาจจะทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลกลับมาใช้งานได้อีก 1. จัดหาระบบที่สามารถรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 2.ระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)สามารถทำงานได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็วในกรณีเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ 3.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถปฏิบัติงานได้ตลอดเวลาและมีประสิทธิภาพ  0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
145 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 การบันทึกทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 -เนื่องจากข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของเขตป้อมปราบฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)ในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถ ตรวจสอบค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนได้ ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ลงฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ซึ่่งมีจำนวนมากถึง 45,842 ราย โดยแบ่งการดำเนินกาารเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ระหว่างปี พ.ศ.2530-2546 จำนวน9,524 รายเรียบร้อยแล้ว และช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 จะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคฯ ระหว่างปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย -เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) -เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล (ชื่อตัว) จากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที่ -เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการด้านทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว) -สามารถจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย ได้แล้วเสร็จ -ประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
146 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3)ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา เป็นเขตแม่จากการแบ่งพื้นที่การปกครองเป็น 3 เขต จึงมีทะเบียนชื่อบุคคลเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนเป็นจำนวนมาก 2.เพื่อให้การตรวจสอบ ค้นหาทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) สามารถดำเนินการได้รวดเร็ว และตรวจสอบได้ทุกสำนักทะเบียนทั่วราชอาณาจักร 3.เพื่อลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการค้นหาด้วยมือ 4.ประชาชนได้รับความสะดวก และความพึงพอใจ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา 1.เพื่อลดระยะเวลา ขั้นตอนในการปฏิบัติงานเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน ในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3) 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการให้บริการขอสำนักทะเบียน โดยสามารถตรวจสอบและเรียกค้น ทะเบียนชื่อบุคคล ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บริการในเชิงรุก สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อป้องกันการชำรุด และเสื่อมสภาพของเอกสารทะเบียนชื่อบุคคล โดยสามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างถาวร 5.เพื่อสนองตอบต่อนโยบายผู้บริหารที่ต้องการให้กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยบริการที่ดีที่สุด และสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 1.นำเข้าข้อมูลทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ตั้งแต่วันที่ 17 พ.ค. 2532-2545 ประมาณ 12,700 รายการ จัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ได้ครบถ้วนถูกต้อง 2.ประชาชนที่มาติดต่อตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ณ สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลารอคอย พึงพอใจในบริการ 3.ประชาชนที่ต้องการตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ซึ่งจัดเก็บที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา สามารถรับบริการ ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
147 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชื่อตัว งานทะเบียนถือเป็นภารกิตหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยมีสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานในการให้บริการเกี่ยวกับงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน งานทะเบียนราษฎร และงานทะเบียนทั่วไป จากสถิติการรับบริการงานด้านทะเบียนทั่วไป พบว่า ในปัจจุบันประชาชนมาขอรับบริการเปลี่ยนชื่อตัวเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากมีความเชื่อในเรื่องความเป็นศิริมงคล จึงนิยมมาขอเปลี่ยนเป็นจำนวนมาก ซึ่งการรับบริการเปลี่ยนชื่อตัว เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อตัว (แบบ ช.3) เรียบร้อยแล้ว ณ งานทะเบียนที่วไป จากนั้นประชาชนจะต้องมารับบัตรคิวที่งานทะเบียนราษฎร เพื่อรับบริการแก้ไขรายการชื่อตัวในทะเบียนบ้าน แล้วจึงไปกดบัตรคิวต่อขอเปลี่ยนบัตรประชาชนใหม่ ณ งานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนต่อไป รวมแล้ว 3 ขั้นตอน ทำให้ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกเท่าที่ควร ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถสนองตอบความต้องการของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชือตัว เพื่อจะได้นำผลการดำเนินการในด้านลดขั้นตอนระยะเวลาขอรับบริการมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อยกระดับการให้บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. เพื่อพัฒนาการบริการประชาชนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการรับบริการ ลดขั้นตอนระยะเวลาการให้บริการเปลี่ยนชื่อตัวและแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านแล้วเสร็จ ณ จุดเดียวโดยลดระยะเวลาบริการให้น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 50 นาที (ไม่รวมเวลารอเรียกตามคิว) 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
148 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตจตุจักร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานเขตจตุจักร มีภาระกิจ ครอบคลุมทุกด้านตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านจึงมีความจำเป็นต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความแพร่หลายและมีความถูกต้อง -เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับประชาชน - เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินงาน ให้ประชาชนได้รับทราบ -เพิ่มช่องทางให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บริหารเขต มีการลงข้อมูลผลงานและกิจกรรมลงในระบบสาสนเทศทุกวันและมีการรายงานผู้บริหารเขตทราบทุก 15 วัน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้สืบค้นข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
149 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 ปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน ๗๗ หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) หรือเว็บไซต์ที่หน่วยงานจัดทำขึ้น และมีการ Link มายังเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตามข้อ ๑ ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรมข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสารการให้บริการติดต่อเรา ปรับปรุงข้อมูลตามเกณฑ์การประเมิลผลการปปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานกรุงเทพมหานครตามเกณฑ์ ประเมินผลที่กำหนด ปรับปรุงบริการบนเว็บไซต์ หัวข้อ ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
150 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 16.กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จาก กองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
151 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 5.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
152 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 15.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ. 2560 จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
153 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 7.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560 - กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
154 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 14.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท (ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ที่ได้รับ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
155 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2561 โครงการศึกษาวิจัยพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) สวนสาธารณะเป็นสถานที่พักผ่อนที่ประชาชนจำนวนมากเข้ามาใช้บริการ เพื่อประกอบกิจกรรมในด้านต่างๆ เช่น การออกกำลังกาย การพบปะสังสรรค์ หรือชุมนุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น ซึ่งทางผู้รับผิดชอบต้องมีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ห้องน้ำ และสถานที่จำหน่ายอาหารไว้รองรับผู้มาใช้บริการ อีกทั้งเนื่องจากสวนสาธารณะต้องมีการจัดสถานที่ให้สวยงามและร่มรื่นสำหรับผู้มาใช้บริการ ทำให้สวนสาธารณะต้องมีการใช้ปุ๋ยเป็นจำนวนมากในการบำรุงรักษาต้นไม้ ซึ่งเมื่อเกิดฝนตกจะทำให้ปุ๋ยบางส่วนถูกชะล้างลงสู่บึงในสวนสาธารณะ ประกอบกับมีประชาชนให้อาหารปลา ทำให้ปริมาณปลาในบึงเพิ่มมากขึ้น เป็นสาเหตุให้น้ำในบึงมีธาตุอาหารพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ซึ่งธาตุอาหารทั้งสองชนิดดังกล่าวเป็นธาตุที่สาหร่ายใช้ในการเจริญเติบโต ทำให้เกิดปัญหา Eutrophication ในแหล่งน้ำ โดยในช่วงกลางวันจะพบว่าน้ำในบึงมีสีเขียวเนื่องจากมีการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย จึงทำให้มีออกซิเจนละลายน้ำอยู่ในปริมาณมาก แต่ในเวลากลางคืนสาหร่ายใช้ออกซิเจนในการเจริญเติบโตทำให้เกิดการแย่งชิงออกซิเจนกับปลาในน้ำ ซึ่งหากปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำไม่เพียงพอให้จะทำให้ปลาตายได้ การบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การใช้สารเคมีเพื่อให้เกิดการตกตะกอน และการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่ง ซึ่งต้องใช้งบประมาณในการออกแบบก่อสร้าง การดำเนินงาน การดูแลรักษา ซึ่งหากใช้วิธีการนี้ก็จะส่งผลให้จำนวนตะกอนที่จะต้องกำจัดเพิ่มมากขึ้น และทำให้น้ำมีสภาพเป็นด่าง อีกทั้งวิธีการนี้ไม่สอดคล้องกลมกลืนกับสภาพของสวนสาธารณะและสภาพคุณลักษณะของน้ำในสวนสาธารณะที่มีค่าความสกปรกอยู่ระหว่าง 5 – 16 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากวิธีการดังได้กล่าวไปแล้วนั้น ยังมีการใช้พืชในการบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้มีการศึกษาอย่างกว้างขวาง เนื่องจากไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นเพื่อกำจัดธาตุอาหาร และความสกปรกในน้ำรวมทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสวนสาธารณะและคุณลักษณะของน้ำในสวนสาธารณะ จึงได้มีการศึกษาชนิดของพืชที่เหมาะสมกับการบำบัดน้ำในสวนสาธารณะโดยการใช้พืชขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลและบำรุงรักษา 1. ศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำของพืชในการกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ในบึงของสวนลุมพินี 2. เพื่อศึกษาชนิดของพืชที่เหมาะสมกับการบำบัดน้ำในสวนลุมพินีและสามารถนำผลไปประยุกต์ใช้กับสวนสาธารณะอื่นได้ 1.น้ำในบึงของสวนลุมพินีได้รับการบำบัดให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น 2.สามารถคัดเลือกพืชที่ใช้ในการกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส 3.เป็นแหล่งศึกษาดูงานสำหรับประชาชนและหน่วยงานที่สนใจ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
156 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
157 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 18,300,000.00 13,725,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
158 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 26,500,000.00 19,875,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
159 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 19,800,000.00 14,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
160 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 19,275,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
161 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 21,900,000.00 16,425,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
162 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 5,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
163 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 5,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
164 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 48,600,000.00 36,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
165 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 11,250,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
166 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,000,000.00 6,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
167 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,300,000.00 9,975,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
168 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
169 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,000,000.00 1,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
170 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,800,000.00 3,600,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
171 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
172 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 13,870,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
173 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 21,000,000.00 15,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
174 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 35,800,000.00 26,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
175 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
176 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 5,800,000.00 4,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
177 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง บริเวณชุมนุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,100,000.00 3,075,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
178 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางรัก ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
179 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
180 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
181 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 50.00
182 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
183 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) การตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญ เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มความปลอดภัยเพื่อให้การสนับสนุนการทำงานร่วมกับฝ่ายความมั่นคง การตรวจสอบภาพบริเวณที่เกิดเหตุ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการสำเนาภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการสืบสวนและนำไปประกอบคดีจากเหตุสาธาณภัยดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญภายในพื้นที่เขต 2.เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว โดยใช้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดในการเฝูาระวังการกระทาความผิด ตรวจจับการกระทาความผิด และบันทึกภาพไว้เป็นหลักฐานในการดาเนินคดี 3.ช่วยเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตารวจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงสามารถทางานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด 4.สามารถใช้ข้อมูลจากกล้องวงจรปิดในการสืบค้นและเป็นหลักฐานในการติดตามเหตุการณ์ต่างๆเพื่อความรวดเร็วและแม่นยาในการจับกุมผู้กระทาความผิด ที่ก่อเหตุในพื้นที่ได้ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีราชื่อติดตั้งกล้อง (CCTV) อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
184 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 โครงการตรวจประสิทธิภาพการทำงานกล้องวงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย ,เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก ,เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน และเพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก 3. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน 4. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที 1. ซอยแสนสุข ถนนพระราม 4 2. ซอยแสนสบาย ถนนพระราม 4 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
185 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 8,800,000.00 6,600,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
186 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,100,000.00 8,325,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
187 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 29,700,000.00 28,896,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
188 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึง กันยายน 2561 11,700,000.00 8,775,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
189 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลไม้ยืนต้นกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญ ในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้ ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม จึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงาน และสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป 1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” 2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
190 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
191 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 โครงการเพิ่มช่องทางการรับและแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ (โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) -เขตหลักสี่ อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขต ที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่สำคัญต่างๆ เช่น ศูนย์ราชการ มีโครงข่ายการคมนาคม เช่น ถนนแจ้ง-วัฒนะ ถนนวิภาวดีรังสิต รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่ส่วนต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ทำให้เกิดการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ว มีการสร้างคอนโดมิเนียม อาคารพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่เขตหลักสี่ มีการเดินทางสัญจรของผู้คนในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น การอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาทำงาน หรือการเดินทางเข้าออกเมือง ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การจราจร ความสะอาด ความสงบเรียบร้อย เป็นต้น การเข้าแก้ปัญหาในพื้นที่อย่างเร่งด่วนในด้านกายภาพ ไม่ว่าจะเป็นพื้นถนน/ทางเท้าชำรุด ปัญหาต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่เขตล้ม/โค่น ปัญหาฝาท่อระบายน้ำ/อุปกรณ์สาธารณูปโภคชำรุด ปัญหาน้ำท่วมขัง ปัญหาท่อระบายน้ำส่งกลิ่นเหม็น และอีกหลายๆปัญหาที่ส่งผลต่อความเดือดร้อนของประชาชนและนักท่องเที่ยว จึงมีความจำเป็นในการสร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนและกลุ่มนักท่องเที่ยว สมกับเป็นมหานครแห่งความปลอดภัยและมหานครแห่งความสุข 1. เพื่อแก้ปัญหาทางกายภาพที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแล เฝ้าระวังและแจ้งปัญหาที่พบเห็น 3. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำคัญของสำนักงานเขต 1. สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ที่ได้รับแจ้งร้อยละ 80 2. ระยะเวลามาตรฐานในการแก้ไขปัญหาที่ได้รับแจ้งผ่านเครือข่าย - กรณีเรื่องดำเนินการปกติและอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขต กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไม่เกิน 3 วันทำการ 3. เกิดเครือข่าย “เพิ่มช่องทางการรับและการแก้ไขเรื่องร้องทุกข์” ในแอปพลิเคชั่น LINE จำนวนไม่น้อยกว่า 100 ราย 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
192 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อจัดเก็บข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นให้เป็นปัจจุบัน เพื่อนำพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเข้าระบบฯให้เป็นปัจจุบัน พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเป็นประเภทสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และ ประเภทพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่ดี และนำเข้าระบบให้เป็นปัจจุบันทุกแห่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
193 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
3.1. 2561 พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา สำนักการศึกษานำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายเป็นหลัก จึงจำเป็นต้องพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาโดยจัดหาผู้มีความรู้ความชำนาญมาติดตั้งระบบสายสัญญาณที่มีข้อดีด้านประสิทธิภาพการส่งสัญญาณและอายุการใช้งานสายสัญญาได้ยาวนาน 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง ด้านปริมาณ 1. ติดตั้งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. ติดตั้งระบบไฟฟ้า (เต้ารับไฟฟ้า) จำนวน 200 จุด ด้านคุณภาพ บุคลากรของสำนักการศึกษาสามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศทั้งภายในและผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1,028,500.00 0.00 สำนักการศึกษา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
194 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
6.2. 2561 ยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีผ่านนวัตกรรม Maths-Whizz ในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้เป็นตัวกลางสำคัญที่จะส่งผลให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ และคุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนควรมีโอกาสเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ฝึกทักษะ กระบวนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมด้วยนวัตกรรมต่างๆ ที่หลากหลาย ซึ่งนวัตกรรม Maths-Whizz เป็นนวัตกรรมหนึ่งที่เป็นระบบการเรียนการสอนแบบพัฒนาตามศักยภาพของผู้เรียนเป็นรายบุคคล (Personalised Learning) และแก้ปัญหาความแตกต่างของอายุทางคณิตศาสตร์ (Maths Agetm) ซึ่งผลการวิจัยจากหลายประเทศ พบว่า นักเรียนที่เรียนรู้ผ่านนวัตกรรม Maths-Whizz จำนวน 60 นาที/สัปดาห์ ต่อเนื่องเป็นเวลา 12 เดือน จะมีพัฒนาการอายุทางคณิตศาสตร์ มากถึง 18 เดือน และช่วยเสริมสร้างกำลังใจให้นักเรียนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีความสุข ดังนั้น เพื่อให้โรงเรียนสามารถยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน่วยศึกษานิเทศก์ จึงได้จัดทำโครงการยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีผ่านนวัตกรรม Maths-Whizz ให้กับโรงเรียนที่เปิดโครงการสองภาษา (หลักสูตรไทย-อังกฤษ) เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนคณิตศาสตร์แบบบูรณาการ และสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะทางด้านคณิตศาสตร์เต็มตามศักยภาพ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานในระดับสากลต่อไป 1.เพื่อยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนที่เปิดโครงการสองภาษา (หลักสูตรไทย-อังกฤษ) สังกัดกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ใช้นวัตกรรม Maths-Whizz ในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นรายบุคคล (Personalised Learning) 3.เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการ และสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ ด้านปริมาณ 1.โรงเรียนที่เปิดโครงการสองภาษา (หลักสูตรไทย-อังกฤษ) ที่มีความพร้อมในการจัดห้องเรียนด้วยนวัตกรรม Maths-Whizz จำนวน 44 โรงเรียน 2. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา ศึกษานิเทศก์ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้นวัตกรรม Maths-Whizz ด้านคุณภาพ 1. นักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนที่เปิดโครงการสองภาษา (หลักสูตรไทย-อังกฤษ) มีพัฒนาการอายุทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น 2. ครูผู้สอนคณิตศาสตร์มีทักษะการสอนและสามารถใช้นวัตกรรม Maths-Whizz เป็นเครื่องมือส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารระดับสำนักการศึกษา และระดับกรุงเทพมหานคร สามารถวางนโยบายในการยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น 10,505,250.00 0.00 สำนักการศึกษา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
195 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 20,100,000.00 0.00 สำนักการศึกษา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
196 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
6.2. 2561 ประกวดผลงานนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ให้มีสมรรถนะ มีความเป็นมืออาชีพตามมาตรฐานที่กำหนด เนื่องจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนบรรลุตามเป้าหมาย อาชีพครูจึงเป็นอาชีพที่สำคัญที่ควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนต้องสร้างขวัญและกำลังใจให้กับกลุ่มข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครในการปฏิบัติหน้าที่ และให้เกียรติชมเชยต่อความสามารถของกลุ่มข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่ได้ร่วมสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ในอันที่จะส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมชุมชนทางการเรียนรู้ทางวิชาชีพของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร หรือ PLC (Professional Learning Community) ให้เข้มแข็งในระบบการศึกษาของกรุงเทพมหานคร จากความสำคัญดังกล่าว สำนักการศึกษาในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันมีโรงเรียนที่ต้องรับผิดชอบ จำนวน ๔๓๗ โรงเรียน และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๔,๑๘๕ คน จึงเห็นควรให้มีการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครที่มีผลงานดีเด่นด้านการพัฒนาการเรียนการสอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และอื่น ๆ ที่นำไปสู่การพัฒนานักเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติให้เข้ารับรางวัล และเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครูผู้สอนทั่วกรุงเทพมหานคร โดยจัดให้มีการประกวดผลงานนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้แสดงศักยภาพและความสามารถในการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระและงานที่รับผิดชอบ 2 เพื่อเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติและสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครที่มีความพร้อมและมุ่งมั่นในการสอนและงานที่รับผิดชอบ 3 เพื่อเป็นต้นแบบให้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครได้ศึกษาและเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ตลอดจนเผยแพร่ผลงานให้สาธารณชนรับรู้ต่อไป 1 ด้านปริมาณ - จัดให้มีการประกวดผลงานนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของข้าราชการครูกรุงเทพมหานครสำหรับกลุ่มข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๐ ประเภท ๆ ละ ๓ รางวัล ได้แก่ (๑) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (๒) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (๓) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (๔) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (๕) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (๖) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (๗) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (๘) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ... - 2 - (๘) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (๙) กลุ่มครูแนะแนว (๑๐) กลุ่มครูการศึกษาพิเศษ (เรียนร่วม) 2 ด้านคุณภาพ - ได้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีศักยภาพและคุณภาพ เป็นที่ยอมรับของสาธารณชน สามารถเป็นแบบอย่างและต้นแบบในการเรียนการสอนได้ - ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีขวัญ กำลังใจ และได้รับการยกย่องและเชิดชูเกียรติ 2,474,000.00 0.00 สำนักการศึกษา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
197 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 กิจกรรมสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน ปัจจุบันสังคมมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีลักษณะเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้มากขึ้น ทุกคนในสังคมจำเป็นต้องมีความสนใจข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ สภาพสังคมเช่นนี้ส่งผลให้ข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคนในสังคม และเนื่องจากห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหลากหลาย โดยเฉพาะห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการศึกษาทั้งการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาตลอดชีวิต เพราะเป็นสถานที่ให้บริการประชาชนทุกเพศทุกวัยได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารความรู้ต่าง ๆ ทั้งยังส่งเสริมให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน เพื่อนำไปพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทั้งในการทำงานและการดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ 1. เพื่อสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน 2. เพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน สำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
198 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 การจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 1.แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน (ตามกฎหมายประกันสังคม และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541) (ที่มา : กระทรวงแรงงาน) 2.กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังคมได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดี เช่น กลุ่มวินมอเตอร์ไซต์รับจ้างที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานเขต เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
199 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 70,000,000.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
200 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย 3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ 4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ 1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์ 3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี) 4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 10,000,000.00 1,497,786.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
201 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
202 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการนำข้อมูลในระบบสารสนเทศ (GIS) ของสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ของสำนักงานเขต สำนักงานเขตบางเขน ได้กำหนดตัวชี้วัด “ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน” ค่าเป้าหมายร้อยละ 100 และมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน 1 ระบบ ได้แก่ การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ของสำนักงานเขต (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน) -เพื่อให้มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ -มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ 1 ระบบ (การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
203 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม 1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ 2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
204 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
205 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 77.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมายประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน 2.1 เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว 2.2 เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำรหับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 2.3 เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2.4 เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 2.5 เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 3.1 ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 3.2 ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
206 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
207 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
208 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
209 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
210 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน - พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ - ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
211 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาต ก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล ระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องตาม ระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
212 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
213 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 5.กิจกรรมการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร(สำนักงาน ก.ก.) ได้มีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร โดยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. และเชื่อมโยงกับเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ ดังนั้นเพื่อให้การบริการข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครบนเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. มีความทันสมัย จึงจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุง/พัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ให้มีการจัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าใช้บริการให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. สามารถให้บริการข้อมูล ข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจความรับผิดชอบที่มีความทันสมัย ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
214 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 7. กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการให้เป็นศูนย์ฯ โดดเด่น (ฝอ.) นายกรัฐมนตรีกำหนดให้ปี 2560 เป็นปีแห่งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ ทุกส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐทุกแห่งมีศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ รวมทั้งให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีีร่วมกับทุกหน่วยงานเปิดเผยข้อมูลข่าวสารในการบริหารงานภาครัฐให้ได้ภายในปี 2560 และนำผลงานมาคัดเลือกเพื่อมอบประกาศเกียรติคุณศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการโดดเด่น ซึ่งหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 หน่วยงาน สมัครเข้ารับการคัดเลือก และสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารโดดเด่น สำหรับปี 2561 กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จะดำเนินการผลักดันให้หน่วยงานอื่น ๆ มีการดำเนินการได้ระดับเกณฑ์มาตรฐานขั้นสูงจนกระทั่งสามารถสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ โดดเด่นได้ กระตุ้นให้หน่วยงานมีความตื่นตัวในการดำเนินการอันเป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย และส่งผลให้หน่วยงานมีการดำเนินการด้านข้อมูลข่าวสารเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน เป็นการยกระดับคุณภาพการดำเนินการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพ-มหานคร และสอดรับกับนโยบายการบริหารงานของผู้ว่าราชการกรุงเทพเทพมหานคร "นโยบายทันใจ" นโยบายที่ 1 สะอาด (CLEAN) การบริหารราชการใสสะอาด - กระตุ้นให้หน่วยงานมีความตื่นตัวในการดำเนินการอันเป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย และหน่วยงานมีการดำเนินการศูนย์ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐาน - ผลักดันให้หน่วยงานสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารโดดเด่น ไม่น้อยกว่า 8 หน่วยงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
215 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 (5) กิจกรรมการส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 เพื่อจัดทำฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหาครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีการใช้องค์ความรู้ และนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 80 ของผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
216 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 (16) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของกองการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
217 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล และบันทึกเป็นฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในหน่วยงาน จำนวนองค์ความรู้ด้านการตรวจสอบภายใน หรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การประชุม การเผยแพร่ในระบบอินทราเน็ต การจัดทำคู่มือ การจัดทำรายงาน ฯลฯ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
218 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ การส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ หรือเริ่มที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยรับตรวจ จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
219 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน การจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อให้บริการประชาชน และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายในมีการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ จำนวนครั้งของการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ บนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
220 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดเก็บรายงานผลการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในสามารถนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน การนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายในได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่นำเข้าเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ภายใน ๑๐ วันทำการ นับถัดจากวันที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครลงนาม 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
221 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 2. โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นองค์กรหลักที่มีหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรและองค์กรของกรุงเทพมหานครอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง มุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการโดยยึดหลักสมรรถนะและการพัฒนาขีดความสามารถ เพื่อให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ ส่วนวิชาการ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร โดยจัดทำระบบ e-Learning ซึ่งได้รับความสนใจจากข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานครเข้าเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวเน้นการเรียนรู้จากความสนใจของผู้เรียนที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดทักษะที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง 1. เพื่อให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ online ได้ตามความสะดวกทั้งด้านเวลา และสถานที่ 2. เพื่อให้มีหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ผ่านระบบสารสนเทศ ที่รองรับรูปแบบการเรียนรู้ในอนาคต 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สถาบันฯ ในการควบคุม และพัฒนาระบบการเรียน online จัดทำเนื้อหาการเรียนรู้และให้บริการในระบบ e - Learning ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง/ปี เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร และผู้สนใจทั่วไป สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ online ซึ่งจะรองรับได้ไม่ต่ำกว่าปีละ 500 คน 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
222 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 10. โครงการฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศระบบงานด้านคอมพิวเตอร์ถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการปฏิบัติงาน และการบริหารงานนโยบายต่าง ๆ ทั้งในส่วนภาครัฐและเอกชน กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรหนึ่งที่เห็นความสำคัญ ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานราชการ เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันเป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) จำเป็นต้องมีการพัฒนาการดำเนินงานด้านการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดการระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงาน และ การสร้างงานหรือสื่อนำเสนอมัลติมิเดียออนไลน์ โดยสามารถนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและก้าวทัน ต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน ซึ่งเป็นการสนับสนุนนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการปรับสมรรถนะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีศักยภาพสูงขึ้น สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครจึงเห็นสมควรจัดการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมข้าราชการของกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถ ในการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารและพัฒนามหานคร ๑. เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ๒. เพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ และนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายรัฐบาลในการยกระดับงานบริหารภาครัฐด้วยการปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิตอล ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานครประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน – อาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการพิเศษ สังกัดสำนัก สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น ๑๕ รุ่น ๆ ละ ๒๕ คน รวมจำนวน ๓๗๕ คน วิทยากร รุ่นละ ๒ คน และเจ้าหน้าที่ รุ่นละ ๑ คน รวมจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการรุ่นละ ๒๘ คน รวมจำนวนทั้งสิ้น ๔๒๐ คน 1,520,000.00 1,261,054.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
223 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 29. กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการวางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นปัจจุบัน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจในการพัฒนาองค์การและทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จึงได้มีการจัดเก็บฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการแต่ละหลักสูตรที่สถาบันฯ เป็นผู้จัดดำเนินการ 1. เพื่อออกแบบและจัดทำระบบฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2561 ของสถาบันฯ ร้อยละ 90 ของความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
224 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2561 29.โครงการเข้าร่วมการประชุมด้านนวัตกรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ตัวชี้วัดที่ 6) บุคลากรกรุงเทพมหานครได้เข้าร่วมการประชุมเกี่ยวกับนวัตกรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณืเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนาตามหลักสมรรถนะมีการนำเนื้อหาความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนามาเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์หรือปรับปรุงการปฏิบัติงาน บุคลากรกรุงเทพมหานครได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และนำเนื้อหาความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนามาเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์หรือปรับปรุงการปฏิบัติงาน (ตัวชี้วัดที่ 6 เป้าหมาย ร้อยละ 30) 897,300.00 540,475.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-11-15 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
225 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2561 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2561 (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) การกระตุ้นให้สร้างผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์หรือกระบวนการในการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคมให้เกิดขึ้นในองค์กร เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกส่วนราชการของสำนักอนามัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และเป็นเครื่องมือช่วยเผยแพร่และรวบรวมผลงานตัวอย่างนวัตกรรมที่ดีของสำนักอนามัย ผ่านสื่อต่างๆ และประชาชนผู้รับบริการ รวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันอย่างกว้างขวาง นำสู่การพัฒนาต่อยอดและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการและบุคลากรในการพัฒนางานบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชนต่อไป 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคิดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2. จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อยอดผลงานนวัตกรรมฯ ตัดสินผลงาน และแสดงผลงานนวัตกรรมระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัย - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดยมีผู้ร่วมงาน 450 คน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยมีการประกวดและตัดสินผลงานในวันจัดงาน ตลอดจนการจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมฯ ปี พ.ศ. 2561 จำนวน 1,000 เล่ม 900,000.00 886,819.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
226 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,000,000.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
227 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน โดยกองการพยาบาลสาธารณสุข เริ่มการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 มีรายงานจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่จากการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระหว่างเดือน เมษายน-กันยายน 2559 มีจำนวน 4,784 ราย และระหว่างเดือนตุลาคม 2559 -มีนาคม 2560 มีจำนวนถึง 9,273 ราย นับว่าเป็นสถานการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาโปรแกรม การจัดเก็บข้อมูลของผู้ป่วยและผู้สูงอายุเพื่อการดูแลต่อเนื่อง (Home Health Care) นั้น โปรแกรมในส่วนของระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และระบบการให้การพยาบาลในลักษณะ Home Ward ของศูนย์บริการสาธารณสุข ยังมีข้อจำกัดในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน เนื่องจากข้อจำกัดของการพัฒนาโปรแกรม รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล ในปัจจุบันที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงความต้องการในการใช้ข้อมูลทางการรักษาพยาบาลและข้อมูลการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะข้อมูลพยาบาลผู้จัดการสุขภาพ (Nurse Care Manager) ข้อมูลผู้ดูแลช่วยเหลือ (Caregiver) ข้อมูลแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ซึ่งเป็นข้อมูลที่สนับสนุนการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพของการพยาบาล ได้แก่แผนการจัดระบบการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) การพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา เพื่อวางแผนให้การพยาบาลผ่านระบบสารสนเทศ เชื่อมโยง Family doctor เชื่อมโยงการสั่งการรักษาพยาบาลผ่านระบบ Telemedicine เป็นการนำเทคโนโลยีมาช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลเครือข่าย เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางและค่าใช้จ่ายเพื่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล เป็นบริการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ปัจจุบัน กองการพยาบาลสาธารณสุขตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้เกิดระบบงานที่สนับสนุนการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ให้เกิดความรวดเร็ว เพื่อการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของหน่วยบริการปฐมภูมิอย่างเหมาะสมไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวมากเกินไป ให้บริการดูแลด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตามปัญหาสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี เข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้างสังคมแห่งความเอื้ออาทร และสมานฉันท์ กองการพยาบาลสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถช่วยให้กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และส่งมอบบริการที่ดีมีคุณภาพให้กับประชาชนต่อไป 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ในการบริหารจัดการงานการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศให้สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระหว่างหน่วยงาน กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานครโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และ สถานพยาบาลเครือข่าย ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และให้อยู่บนระบบ Cloud ของ กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 4 เพื่อพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ดูแล (Mobile Application for Caregiver) สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 1 ระบบสารสนเทศสามารถใช้งานระบบการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างประสิทธิภาพ โดยมี 1.1 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 1.2 ระบบการรายงาน (Management Report Systems) 1.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Report System) 1.4 ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems) 2 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 3 ระบบสารสนเทศเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านระหว่างหน่วยงาน ได้แก่โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร และอยู่บนระบบ Cloud ของ กทม. 4 ระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 5 โมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile Application for Caregiver) สำหรับผู้ดูแล (Caregiver) สามารถใช้งานสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ระบบ 15,918,258.00 0.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
228 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 20,000,000.00 24,965,480.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
229 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment การดำรงชีวิตของผู้คนในปัจจุบันต้องการความสะดวก รวดเร็ว โดยเฉพาะการให้บริการภาครัฐ ซึ่งต้องมีบริหารจัดการที่รวดเร็วซึ่งปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการชำระภาษีอยู่แล้วรวม 7 ช่องทาง เพื่อเพิ่มความพึงพอใจแก่ประชาชนจึงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาเพิ่มช่องทางการรับชำระภาษีอีก 1 ช่องทาง คือ การรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกปลอดภัย โดยไม่ต้องพกเงินสดรวมทั้งไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จจ่าย 1.เพื่ออำนวยความสะดวกและเพิ่มทางเลือกการชำระให้แก่ประชาชนผู้ชำระจากธนาคารเดียวเป็นหลายธนาคาร 2.เพื่อให้บริหารประชาชนในการชำระภาษี ด้วยวิธีการที่ทันสมัย สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน 3.พัฒนารูปแบบการให้บริการของกรุงเทพมหานคร เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Goverment) 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานด้านการเงิน และการจัดเก็บรายได้ของกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเพิ่มบริการทางเลือกให้แก่ประชาชนในการชำระภาษี 3.ประชาชนมีความพึงพอใจในการให้บริการของกรุงเทพมหานครเพิ่มมากขึ้น 500,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
230 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
231 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 โครงการ Application Bangkok2U รู้ทันเหตุการณ์ สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการอำนวยความสะดวกด้านการจราจรที่มีเครือ ข่ายข้อมูลที่สามารถต่อยอดและใช้ประโยชน์เพื่อการบริการข้อมูลการเดินทางและการท่องเที่ยวของประชาชนและผู้มาเยือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิเช่น ข้อมูลจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ข้อมูลจากสำนักระบายน้ำ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รวมถึงข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมอุตุนิยมวิทยา บก.จร. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น ปัจจุบันกรุงเทพมหานครประสบปัญหาด้านการจราจรซึ่งมีสภาพหนาแน่นและติดขัด เนื่องจากปริมาณจำนวนยานพาหนะที่เพิ่มขึ้น มีการก่อสร้างรถไฟฟ้าหลายสาย และปัญหาอีกส่วนหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสภาพการจราจรในกรุงเทพมหานครคือ ปัญหาน้ำท่วมขังผิวการจราจรหลังจากเกิดเหตุฝนตกหรือปริมาณน้ำฝนจำนวนมากที่รอการระบายลงสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ ทำให้เกิดปัญหาสภาพการจราจรที่ติดขัดสะสมเพิ่มมากขึ้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว ทำให้เกิดปัญหาวิกฤตการจราจรเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมง โครงการ Application Bangkok2U เป็นหนึ่งในภารกิจของผู้ว่ากรุงเทพมหานครที่ได้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรุงเทพมหานครในการบริการประชาชนและผู้มาเยือนในเขตกรุงเทพมหานครในทุกๆ ด้าน เพื่อบริหารและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและผู้มาเยือนในการรับข้อมูลข่าวสารจากกรุงเทพ มหานคร เช่น ตรวจสอบสภาพการจราจรรับทราบข้อมูลสภาพอากาศ ข้อมูลสถานการณ์ฝนตก และการระบายน้ำท่วมขังในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แบบเป็นปัจจุบัน (Real Time) และข้อมูลเส้นทางรถและเรือสาธารณะ เป็นต้น นอกจากนี้ทางประชาชนและผู้มาเยือนยังสามารถรับข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร และแจ้งเหตุได้ด้วย ผ่านทาง Application Bangkok2U บนสมาร์ทโพนในระบบ IOS และ Android หรือ คอมพิวเตอร์ชนิดแท็บเล็ต (Tablet) และผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อให้ประชาชนเตรียมตัวได้ทันท่วงที เลือกวางแผนหรือจัดการเส้นทางการเดินทางได้อย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงเส้นทางที่สภาพการจราจรที่หนาแน่น เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางลดพลังงานเชื้อเพลิง ลดมลภาวะทางด้านอากาศและเสียง 1 พัฒนา Application Bangkok2U เพื่อให้ประชาชนและผู้มาเยือนได้มีข้อมูลในการตัดสินใจในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) อาทิเช่น ข้อมูลสภาพฝน สภาพน้ำท่วม สภาพจราจรบนท้องถนน และข้อมูลอื่นที่เป็นประโยชน์ในการเดินทางและการท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร 2 สร้างช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสารและข้อเสนอแนะในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย 32,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
232 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.2.1 2561 โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 415,484,400.00 410,315,400.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
233 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,699,099.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 94.54
234 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 8,400,000.00 6,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
235 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ทุก 15 วัน สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
236 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2561 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง เริ่มใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในเชื่อมโยงระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ระบบ MIS ระบบหนังสือเวียน ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำหรับศูนย์บริการข้อมูลเมือง (One Stop Service Center) ซึ่งระบบดังกล่าวมีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี ทำให้ระบบมีปัญหาการทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. เป็นเทคโนโลยีที่ล้าสมัย ไม่รองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน 2. ปัจจุบันสำนักผังเมืองมีข้อมูลขนาดใหญ่จำนวนมาก จึงเกิดปัญหาการโอนย้ายข้อมูลทำได้ช้า 3. ไม่รองรับระบบคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ และ Smart Device ทำให้ไม่สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 4. ข่ายสายสัญญาณเก่ารับส่งสัญญาณได้น้อย 5. การกระจายจุดเชื่อมโยงระบบไม่ทั่วถึง 6. ระบบป้องกันภัยคุกคามของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นระบบเก่า ทำให้ระบบฐานข้อมูลของสำนักผังเมืองมีความเสี่ยงถูกภัยคุกคามจากภายนอกเข้าโจมตี ดังนั้น การปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงมีความจำเป็นเพื่อให้สามารถสนับสนุนนโยบายและการบริหารงานส่วนกลาง และสนับสนุนให้การดำเนินงานของสำนักผังเมืองโดยองค์รวมประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการปรับปรุงในครั้งนี้เป็นการทดแทนของเดิมที่เป็นอุปกรณ์เก่าและมีอายุ ใช้งานมากกว่า 10 ปี เพื่อให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการใช้งานของผู้ใช้งานภายในสำนัก ผังเมือง และเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครที่ปรับปรุงใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สำนักผังเมืองมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีโครงสร้างพื้นฐานที่มีความมั่นคง สามารถสนับสนุน นโยบายและการบริหารงานส่วนกลางสามารถสนับสนุนให้การดำเนินงานของสำนักโดยองค์รวมประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เกิดการบูรณาการ และเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงานภายในสำนักผังเมือง และเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร สามารถให้การบริการได้อย่างต่อเนื่องและพร้อมใช้งาน โดยไม่เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในและภายนอก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งเพราะช่วยให้การโอนย้ายข้อมูลสามารถเชื่อมโยงและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้รับบริการด้านข้อมูลสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารจัดการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ด้วยความรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ดำเนินการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง ดังนี้ 1. จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับระบบเครือข่ายมีสาย 2. จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย 3. จัดหาและติดตั้งระบบบริหารจัดการระบบเครือข่าย 4. จัดหาและติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยจากภัยคุกคามจากภายนอก 5. จัดหาและติดตั้งระบบพิสูจน์ตัวตนเพื่อตรวจสอบสิทธิ์ของผู้ใช้งานระบบเครือข่าย 6. จัดหาและติดตั้งสายใยแก้วระหว่างอาคาร และภายในอาคาร 7. การติดตั้งสายสัญญาณอย่างน้อยเป็น UTP Category 6 จากสวิตช์ไปยังเต้ารับแบบ Structure Cabling ไม่น้อยกว่า 250 จุด 8. จัดหาและติดตั้งเครื่องสํารองไฟฟ้า (UPS) 9. จัดหาและติดตั้งระบบสายส่งกระแสไฟฟ้า รองรับการปรับปรุงระบบทั้งหมด 7,000,000.00 4,868,500.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
237 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง - การจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง หมายถึงหน่วยงานสามารถจัดทำ งบการเงินประจำปีได้ถูกต้อง ตามคู่มือการบัญชีกรุงเทพมหานครโดยสามารถส่งงบการเงินให้กองบัญชี สำนักการคลัง ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 - กองบัญชีฯ จะตรวจสอบงบการเงินประจำปีของหน่วยงานโดยกระทบยอดและตรวจสอบความสัมพันธ์ของรายการบัญชีของหน่วยงานและสอบยันยอดบัญชีของส่วนกลางเฉพาะรายการบัญชีที่ต้องยืนยันยอดระหว่างส่วนกลางและหน่วยงาน - สำนักการคลังโดยกองบัญชี ตรวจสอบความถูกต้องและประเมินผลสำเร็จตามกรอบการประเมินและเกณฑ์การให้คะแนนในตัวชี้วัดจากความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
238 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที (กบพ) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ได้เล็งเห็นความสำคัญในการที่จะพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรกรุงเทพมหานครด้านไอซีทีจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยประสานขอความร่วมมือจากศูนย์บริหารองค์การสากล (GEMC) มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) เพื่อจัดให้มี การฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการยกระดับ มาตรฐานวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร กทม. ให้มีความรู้ ความชำนาญและทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูงต่อไป 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับประเทศ 2 เพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านไอทีของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐาน 3 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเป็นเกณฑ์ประเมิน Competencies ของบุคลากรสายงานไอที จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างเข้มข้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีสมรรถนะ และองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยมีผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 60 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 7 คนต่อรุ่น ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 4 คนต่อรุ่น และ 2) วิทยากร จำนวน 3 คนต่อรุ่น 436,000.00 272,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
239 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง ความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง เพื่อความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง จัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
240 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง ความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง เพื่อจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
241 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต คิดเป็นร้อยละ 80 (ตามเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2561) 26,855,300.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2019-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
242 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2.1 2561 โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้พัฒนาบุคลากรผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารงานได้อย่างชาญฉลาดและสร้างสรรค์ และสามารถวางแผนยุทธศาสตร์การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนาภารกิจของหน่วยงาน สามารถบูรณาการและสร้างคุณค่าจากข้อมูลของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และสามารถสร้างเครือข่ายผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ การดำเนินงาน และติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึงแนวคิดในการบริหารจัดการสารสนเทศเพื่อพัฒนาหน่วยงานให้ทันสมัย สามารถสร้างสรรค์การบริการให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรองรับการปฏิบัติงานของผู้บริหาร-สารสนเทศระดับสูง พิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของการดำเนินการของหน่วยงานข้างต้น จำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการสัมมนาและศึกษาดูงานหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้เกิดการศึกษาเปรียบเทียบการบริหาร-จัดการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานและการบริการประชาชน เพื่อให้เกิดแนวคิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและของกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 1. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต ตระหนักถึงความสำคัญและมีทัศนคติที่ดีในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหาร งานของหน่วยงานและของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต มีความรู้ ความสามารถในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ เพื่อพัฒนากระบวนการ -ทำงานและบูรณาการข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานของหน่วยงานและของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง เพื่อให้การบริหารจัดการและการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร เป็นไปตามทิศทางการพัฒนาที่กำหนดไว้ร่วมกัน ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนัก และสำนักงานเขต ผู้บริหารหน่วยงาน และข้าราชการที่ได้รับมอบหมาย จำนวน 28 คน เข้ารับการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล แบบไป - กลับ จำนวน 7 วัน และศึกษาดูงาน ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนภายในประเทศ แบบพักค้าง จำนวน 3 วัน 2 คืน รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 10 วัน 484,500.00 484,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
243 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 16 แผนภาพต่อไป 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
244 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปัจจุบันนี้ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2556-2560) ในประเด็น-ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) แต่เนื่องจากข้าราชการ ของกรุงเทพมหานครยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.1.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่าง ๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้งสามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.1.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรม แบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2. หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 75 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2.1 ด้านการใช้ทรัพยากรส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 25 คน 2.2 ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 25 คน 452,000.00 227,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-03 00:00:00 2018-02-15 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
245 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซม และบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (Advanced) เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณค่าซ่อมแซมและลดปริมาณเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่ส่งซ่อม และลดกระบวนการปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ของเจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถบริการซ่อมได้สะดวกรวดเร็วขึ้น กองบริการระบบคอมพิวเตอร์ จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (Advanced) เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเสียเวลาในการส่งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์มายังกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ข้าราชการเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 195 คน ประกอบด้วย 3.1 เป้าหมายหลัก จำนวน 150 คน ดังนี้ (1) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับชำนาญการลงมา จำนวน 150 คน 3.2 ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 36 คน ดังนี้ (1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 6 คน) จำนวน 30 คน (2) วิทยากร (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 3 คน) จำนวน 15 คน 363,300.00 362,194.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
246 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 โครงการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี (COM – 03) คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๗ อนุมัติหลักการแผนและมาตรการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานขั้นต่ำ และกำหนดให้ข้าราชการที่จะเลื่อนจากระดับ ๕ เป็นระดับ ๖ ต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์ สามารถทำแผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ก.พ. ได้มีมติให้เพิ่มเติมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนระดับ ๖ ทุกสายงาน มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ซึ่งมีผลปฏิบัติมาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ถือปฏิบัติและดำเนินการฝึกอบรมข้าราชการตามมติดังกล่าวมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อนุกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้มีประกาศ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญของทุกหน่วยงานเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จึงเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายจากข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ๖ และ ระดับ ๖ ว – ๗ ว/วช. เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และเพื่อให้การปฏิบัติสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีและมติ ก.พ. ดังกล่าว เห็นควรกำหนดให้มีการจัดฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญให้มีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานและวิธีการใช้งานในขั้นพื้นฐาน สามารถปฏิบัติงานด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการจัดการงานพิมพ์เอกสาร การจัดทำแผ่นตารางทำการ และการนำเสนอผลงาน ตลอดจนได้รับการฝึกอบรมตามมติคณะรัฐมนตรีและหลักเกณฑ์มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเพิ่มเติมตามที่ ก.พ. กำหนด ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ทุกสายงาน 297,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
247 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 โครงการฝึกอบรมระบบข้อมูลและข่ายงานระบบคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อปรับปรุงการบริหารงาน และการบริการประชาชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนของสำนักและสำนักงานเขต ได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศส่วนกลาง ตามโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ได้แก่ ระบบงานจัดซื้อ จัดจ้าง บัญชีทรัพย์สิน งบประมาณ รายได้ การเงิน บัญชี บุคลากร เรื่องราวร้องทุกข์ เงินเดือน บริหารคลังวัสดุกลาง บริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล ในปัจจุบันระบบ MIS ได้เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้การจัดระบบข้อมูลของหน่วยงาน นำไปสู่ การปฏิบัติงานที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ในระดับหนึ่ง และเพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการฯ ดังกล่าวเกิดผลสำเร็จต่อเนื่อง สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ติดตามผลการใช้ระบบ และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายและการใช้โปรแกรมระบบงานที่เป็นอุปสรรคปัญหาต่อการปฏิบัติงาน ให้เกิด ผลสำเร็จยิ่งขึ้น โดยได้ดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณดำเนินการปรับปรุงระบบงานดังกล่าว เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ และกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนั้น จึงเห็นควรดำเนินการจัดให้มี การฝึกอบรมคอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมระบบงานที่ได้พัฒนาปรับปรุงแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครทั้งระดับสำนักและสำนักงานเขต สามารถใช้ระบบงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบต่อไป เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ระบบงาน MIS ที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการ และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ประเภทผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา 221,900.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
248 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการการใช้งานระบบสารสนเทศสนับสนุนการเชื่อมโยง หนึ่งแอพพลิเคชั่นจะมีชุดชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านหนึ่งชุด ยิ่งในองค์กรขนาดใหญ่มีหลากหลายแอพพลิเคชั่น ผู้ใช้บริการก็จะมีความยุ่งยากในการจดจำรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านของแต่ละระบบ การพัฒนาเทคโนโลยีการเข้าถึงการใช้บริการของระบบด้วยการพิสูจน์ตัวตนเพียงครั้งเดียว (Single Sign-On : SSO) ช่วยแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น เพราะ SSO จะจัดการให้ผู้ใช้บริการกรอกล็อกอินเพียงครั้งเดียว ก็จะสามารถเข้าใช้งานระบบทุกระบบที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ จึงช่วยลดปัญหาการจดจำรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ปัญหาการต้องเปลี่ยนรหัสผ่านในทุกแอพพลิเคชั่นเมื่อถึงเวลาอันควร ปัญหาความล่าช้าในการล็อกอิน ความพยายามล็อกอินซ้ำ ๆ การลืมรหัสผ่านหรือรหัสผ่านหมดอายุ 1 เพิ่มประสิทธิผลการทำงานของผู้ใช้ (Improved user productivity) ผู้ใช้งานระบบใช้การล็อกอิน ครั้งเดียวและเข้าใช้ได้ ทุกแอพพลิเคชันที่ตนเองมีสิทธิ์ 2 ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาทรัพยากรในการจัด เก็บ Username และ Password (Reduced account maintenance) 3 ง่ายต่อการรักษาความปลอดภัยของระบบ (Strengthen security) 4 ช่วยให้การพัฒนาระบบเป็นไปอย่างรวดเร็ว (Improved developer productivity) 5 ช่วยให้การบริหารจัดการง่ายขึ้น (Simplified administration) 1 รวบรวมข้อมูลผู้ใช้งาน สิทธิ์ในการเข้าถึงระบบงาน และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำเป็นฐานข้อมูล 2 มีระบบการจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน สิทธิ์ในการเข้าถึงระบบงาน และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 3 มีระบบบริหารจัดการผู้ใช้งานของกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยและลดความซ้ำซ้อน ในการจัดเก็บข้อมูล เป้าหมายร้อยละ 80 49,989,300.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
249 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ตามโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 ระยะเวลาที่ผ่านการใช้งานมานานกว่า 5 ปี ทำให้อุปกรณ์มีสภาพที่เก่าและคุณสมบัติต่ำลงเมื่อเทียบกับภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในเทคโนโลยีปัจจุบัน และมีความสามารถไม่ทันกับภัยคุกคามของเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยงานเห็นความสำคัญตรงจุดนี้จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการปรับปรุง ระบบเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ตามโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 เพื่อป้องกันปัญหา ภัยคุกคามต่าง ๆ ที่มีการพัฒนารูปแบบการโจมตีอย่างรวดเร็วและซับซ้อน ในปัจจุบันเพื่อทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยเดิมที่มีอยู่ทำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันความเสียหายจากภัยคุกคามและผู้ไม่หวังดีต่อระบบการทำงานของกรุงเทพมหานคร เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันภัยระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ให้มีความสามารถเชิงการป้องกันและรักษาความปลอดภัย โดยไม่มีช่องโหว่ตลอดเวลา และสามารถวิเคราะห์ปัญหาการโจมตีเพื่อการป้องกันในอนาคตได้ จัดหาอุปกรณ์ป้องกันภัยระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ เพื่อป้องกันภัยคุกคามทุกด้านต่อการทำงานของระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร เป้าหมายร้อยละ 80 49,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
250 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2561 โครงการฝึกอบรมเทคนิคการสร้าง Extension บนโปรแกรมสำนักงาน (กบพ.) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการให้ความรู้แก่ข้าราชการของกรุงเทพมหานครเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถแก่ตัวข้าราชการและหน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้ก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทกับกรุงเทพมหานครอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทำให้การทำงานของกรุงเทพมหานครในทุกหน่วยงานต้องพึ่งพาระบบคอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน ซึ่งการปฏิบัติราชการมีการทำงานที่เป็นระเบียบแบบแผนและขั้นตอน รวมทั้ง จำเป็นที่จะต้องใช้เอกสารประกอบการปฏิบัติงานเป็นจำนวนมาก เช่น เอกสารเสนอขออนุมัติงบประมาณ เอกสารที่ใช้ในการขอเสนอโครงการ เป็นต้น ทำให้การใช้งานโปรแกรมสำนักงานจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การสร้าง Extension บนโปรแกรมสำนักงาน จะทำให้การทำงานของข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว และถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ เนื่องจากเอกสารของทางราชการมีหลายประเภท หลายรูปแบบ การสร้าง Extension บนโปรแกรมสำนักงาน จะเริ่มตั้งแต่การกำหนดและสร้างรูปแบบ (Template) ตามประเภทของเอกสารราชการ และจัดทำเป็นเมนูฝังเพิ่ม ไปในโปรแกรมสำนักงาน เพื่อการใช้งานที่ง่ายและมีความถูกต้อง เนื่องจากผู้ใช้งานคือข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานครสามารถเลือกเอกสารได้ตามที่ต้องการจากเมนูการใช้งาน และนำไปแก้ไขเพิ่มเติมได้ตามความต้องการ ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้าง Extension บนโปรแกรมสำนักงานของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดทำ Extension บนโปรแกรมสำนักงาน เพื่อนำไปใช้ในหน่วยงานได้ ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 117 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ (จำนวน 3 รุ่น รุ่นละ 30 คน) จำนวน 90 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 27 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ (จำนวน 3 รุ่น วันละ 6 คน) จำนวน 18 คน 2) วิทยากร (จำนวน 3 รุ่น วันละ 3 คน) จำนวน 9 คน 433,000.00 252,002.70 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
251 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของศูนย์บริการกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้กำหนดแนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบให้กับสำนักงานเขต เห็นชอบให้ดำเนินการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของศูนย์บริการกรุงเทพมหานครจำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) และให้เพิ่มระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานเขต ทั้ง 4 แห่ง จัดซื้อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 มีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี จึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทดแทน และจัดหาเพิ่มเติมให้เพิ่มเติม ให้ฝ่ายอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC สำนักงานเขต จำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC และมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่มีอยู่เดิม ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของฝ่ายต่าง ๆ 2. ให้เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 3. กรุงเทพมหานครมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและระบบประชาสัมพันธ์ 4. กรุงเทพมหานครมีระบบการจองคิวรับบริการด้วย Mobile Application 30,338,600.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
252 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้กำหนดแนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบให้กับสำนักงานเขต เห็นชอบจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) และให้เพิ่มระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานเขต ทั้ง 7 แห่ง จัดซื้อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 มีอายุการใช้งานมากกว่า 6 ปี และไม่มีเครื่องสำหรับให้บริการของฝ่ายอื่น ๆ จึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทดแทน และจัดหาเพิ่มเติมให้ฝ่ายอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC สำนักงานเขต จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มี ความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่มีอยู่เดิม 2. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมให้ฝ่ายต่าง ๆ ที่ลงมาปฏิบัติงานณ ศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 42,391,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
253 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ พร้อมระบบคิวและระบบการประเมินความพึงพอใจ เพื่อติดตั้ง ณ ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast &Clear : BFC) ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่-พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของ สำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้เห็นชอบการกำหนดแนวทางการจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พร้อมระบบและอุปกรณ์ให้กับสำนักงานเขต โดยให้ใช้รายละเอียดเดียวกันกับการจัดหาให้แก่ 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC โดยจะจัดหาให้แก่สำนักงานเขต จำนวน 39 เขต และจุดบริการด่วนมหานคร 11 จุด สำนักงานเขต จำนวน 39 เขต และจุดบริการด่วนมหานคร 11 จุด มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC และมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3.1. เพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของฝ่ายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 3.2. กรุงเทพมหานครมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและระบบประชาสัมพันธ์ 3.3. กรุงเทพมหานครมีระบบการจองคิวรับบริการด้วย Mobile Application 66,952,800.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
254 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐของกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการบูรณาการฐานขอมูลประชาชนและการบริการภาครัฐโดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเปนประธานกรรมการ มีมติที่ประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ เห็นชอบแนวทางการดําเนินการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ และเมื่อวันอังคารที่ 22 มีนาคม 2559 กรุงเทพมหานครได้ลงนามบันทึกข้อตกลงกับสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง จำนวน 2 ฉบับ ประกอบด้วย บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยวิธีเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และการใช้ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของกรุงเทพมหานคร และบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้โปรแกรมสำหรับอ่านข้อมูลจากบัตรประจำตัวประชาชน ต่อมาปลัดกรุงเทพมหานครมอบหมายให้ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการวางระบบเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลทะเบียนกลางฯ ให้กับ สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักผังเมือง สำนักพัฒนาสังคม และสำนักการคลัง โดยให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลประสานการปฏิบัติงานกับหน่วยงานดังกล่าว รวมทั้งจัดทำรายละเอียดประมาณการในการดำเนินการและขอจัดสรรงบประมาณไปยังสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ตามหนังสือสำนักงานปกครองและทะเบียนที่ กท 0406/2791 ลงวันที่ 25 เมษายน 2559 ดังนั้น เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการเพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร จากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยวิธีเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐเพื่อสนับสนุนการให้บริการประชาชนต่อไป 1. กรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลประวัติทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อให้บริการประชาชนแบบ Online ได้ 2. ประชาชนมีความสะดวกในการรับบริการจากกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น โดยสามารถใช้เพียง บัตรประจําตัวประชาชนแบบอเนกประสงค (Smart Card) ในการขอรับบริการ 3. เจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการประชาชนด้วยความรวดเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้น 4. กรุงเทพมหานครสามารถเชื่อมโยงและใช้ข้อมูลประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อเป็น ไปตามบันทึกข้อตกลงฯ และมติที่ประชุมคณะกรรมการบูรณาการฐานขอมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ 1.มีระบบเชื่อมโยง (Linkage Center) เพื่อให้บริการข้อมูลประวัติทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อให้บริการประชาชนแบบ Online ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีการติดตั้งอุปกรณ์อ่านบตรประจำตัวประชาชนให้ฝ่ายต่าง ๆ ของสำนักงานเขตรวม 8 ฝ่าย เพื่อสามารถให้บริการต่อประชาชนแทนการใช้สำเนาบัตรประชาชน 5,955,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
255 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน ที่จุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยเปิดให้บริการในส่วนของการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและคัดรับรองสำเนา รวมถึงการให้บริการชำระภาษีและการให้บริการ รับจดทะเบียนพาณิชย์ ปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 - 8 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้อง ทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับ ปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานคร อีกทั้งประชาชนได้รับความสะดวกสบายในการเข้ารับบริการ และเป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 เห็นชอบให้ดำเนินการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร จุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ให้สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ และได้รับความพึงพอใจจากประชาชน 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ให้บริการ ณ จุดบริการด่วนมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง 2.เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนสามารถทำงานร่วมกับระบบของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1,533,100.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
256 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2561 จัดหาระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ในบริเวณศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร(ดินแดง) โดยกำหนดให้มีพื้นที่ใช้งานประกอบด้วยห้องประชุมสภากรุงเทพมหานคร ห้องประชุมย่อยสำหรับใช้เป็นห้องประชุมกรรมาธิการ ห้องปฏิบัติงานของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ห้องปฏิบัติงานสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งภายในอาคารดังกล่าวยังไม่มีระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการสำหรับเจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ สำหรับให้บริการรับส่งข้อมูลและมีระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเป็นการสื่อสารภายในองค์กรในรูปแบบการสื่อสารแบบง่ายประหยัด (Easy use and Save cost) และปลอดภัยมีความเป็นส่วนตัว ด้วยการพัฒนารูปแบบของเทคโนโลยีที่พกติดตัวผู้ใช้อยู่ตลอดเวลาอย่างสมาร์ทโฟน (Smart Phone) และแอปพลิเคชัน (Application) บนสมาร์ทโฟนทำให้เกิด Community และเอื้อต่อการบริหารงานภายในหน่วยงานมากขึ้น จัดทำระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลสำหรับอาคารสภากรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ดินแดง)เพื่อเป็นโครงข่ายสื่อสารข้อมูลหลักสำหรับสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและเจ้าหน้าที่เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อใช้งานระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงานและให้บริการประชาชนผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ Smart Phone และสามารถเชื่อมต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ ครอบคลุมพื้นที่อาคารสภากรุงเทพมหานคร จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลพร้อมระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานครศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ดินแดง)โดยเชื่อมต่อเข้ากับโครงข่ายสื่อสารข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานครพร้อมอุปกรณ์และสายสัญญาณครอบคลุมทุกชั้นของอาคารเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ สามารถเชื่อมโยงเข้าถึงเครือข่ายของกรุงเทพมหานครได้อย่างสมบูรณ์ และให้เจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 28,697,200.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
257 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 พัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครและติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร เพื่อรองรับการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศในการให้บริการกับประชาชนครอบคลุมพื้นที่ 50 สำนักงานเขต โดยมีพื้นที่ของศูนย์คอมพิวเตอร์สำหรับติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร เพียง 100 ตารางเมตร เริ่มใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันมีการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพิ่มขึ้นกว่าในอดีตแบบก้าวกระโดด ตามสภาวะเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ทำให้ต้องเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาและขยายขีดความสามารถจากศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานมานานและมีข้อจำกัดทางกายภาพให้เป็นศูนย์กลางที่มีประสิทธิภาพในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร สำหรับรองรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพจึงจำเป็นต้องจัดหาสถานที่ที่มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 500 ตารางเมตร เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์ข้อมูล (Data Center)สำหรับให้บริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานครในการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายเพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานและเป็นศูนย์บริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับรองรับการอำนวย ความสะดวกในการบริการประชาชนของกรุงเทพมหานคร ๑ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูล (Data Center) ขนาดไม่น้อยกว่า 500 ตารางเมตร สำหรับรองรับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ๒ เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) สามารถบริหารจัดการพื้นที่ บริหารจัดการด้านพลังงานและการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการได้อย่างเอกเทศ ๓ เพื่อให้การบริหารจัดการการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การติดตั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมรักษาความปลอดภัย ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การบริหารจัดการพื้นที่สำหรับติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์ควบคุมและรักษาความปลอดภัยสำหรับบริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมสำหรับสนับสนุนหน่วยงานในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริการและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด และสอดคล้องตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 91,019,700.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
258 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการศึกษาดูงานสารสนเทศการวางแผน การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครในแต่ละด้าน กรุงเทพมหานครควรมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ให้แก่นักวิเคราะห์นโยบายและแผนรวมทั้งผู้บริหารกรุงเทพมหานครใชัประกอบการตัดสินใจในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อให้คณะผู้บริหาร และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการข้อมูลสารสนเทศ 2. เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ และวางแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร 1. คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 40 คน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
259 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน” การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. การบริหารราชการมีเป้าหมายสุดท้าย คือ ทำให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ซึ่งพยายามให้เกิดความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการมีประสิทธิภาพมีประสิทธิผล ฯลฯ ล้วนแต่ต้องการให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ หากปฏิบัติงานแล้วผู้รับบริการไม่พึงพอใจยังไม่นับว่ามีการปฏิบัติงานและการบริหารราชการได้ตามเป้าหมายอย่างแท้จริง การวัดความพึงพอใจจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงาน โดยครอบคุมประเด็นต่างๆ เช่น 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กโทรนิกส์ 4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน ฯลฯ ดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.25ุ61 โดยได้ระดับความพึงพอใจ ระดับ 5 โดยรอการประสานงานจากผู้ตรวจราชการ เกี่ยวกับแบบสำรวจ ซึ่งมีจำนวน 300 ชุด ตามกลุ่มเป้าหมายที่จะมีการกำหนดจากผู้ตรวจราชการ โดยดำเนินการสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการ เรื่องการให้บริการของสำนักสิ่งแวดล้อม ในประเด็นต่างๆ เช่น 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กโทรนิกส์ 4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน ฯลฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
260 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) หน่วยงานจำเป็นต้องคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาจากภารกิจ อำนาจหน้าที่ สภาพปัญหาในการปฏิบัติงาน ความต้องการของผู้รับบริการหรือประเด็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อผู้รับบริการ ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข/พัฒนาการให้บริการ หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ โดยนำแนวคิด/เทคนิคทางการบริหารสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน 2. เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ผู้รับบริการของหน่วยงาน หมายถึง 1. ประชาชนผู้มารับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร หรือ 2. บุคลากรหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่ได้รับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
261 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินการตามมาตรการเสริมสร้างธรรมมาภิบาลเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบได้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกรุงเทพมหานครจึงได้กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร และให้ทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครนำแผนดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดระบบการทำงานที่ดี สามารถป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นที่อาจจะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน 1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธ์ศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงานในตรวจสอบ แก้ไข เมื่อเกิดการทุจริตหรือกำลังจะเกิด จากการได้รับข้อมูลการทุจริตในหน่วยงานอันมีสาเหตุมาจากพฤติการณ์อันมิชอบของเจ้าหน้าที่ในสังกัด 1. สำนักสิ่งแวดล้อมมีการกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ 2. สำนักสิ่งแวดล้อมสามารถนำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของสำนักสิ่งแวดล้อมบรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในองค์กร 3. สำนักสิ่งแวดล้อมเกิดภาพลักษณ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
262 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการ และการดำเนินการติดตามความคืบหน้าของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนผู้รับบริการได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานครซึ่งปรากฏในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS)โดยให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถจัดการกับเรื่องร้องเรียนได้ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
263 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2561 ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยในมิติที่ ๒ ด้านประสิทธิภาพของการของการปฏิบัติราชการ ได้กำหนดกรอบในการประเมินประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ประกอบกับผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ได้มอบหมายให้กองนโยบายและแผนงานจัดทำแผนการบริหารโครงการ/กิจกรรม และแผนการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น เพื่อให้สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีได้ตามตามเป้าหมายที่กำหนด กองนโยบายและแผนงานจึงกำหนดจัดกิจกรรม “การสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารโครงการ/กิจกรรม และแผนการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (DSS: Decision Support System) ในการบริหารโครงการ/กิจกรรม และติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๖๑ ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
264 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ผ่านระบบ และสามารถแก้ไข/ชี้แจงได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของประชาชน จัดให้มีระบบร้องเรียนหรือรับเรื่องราวร้องทุกข์และการแจ้งกลับผู้ร้องเรียน ตามที่กองกลางกำหนด 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
265 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชนผู้รับบริการ สำนักงานเขตพระนครเป็นหน่วยงานหลักที่ให้บริการแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตพระนครให้ครอบคุมภารกิจทุกด้าน อาทิ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ การป้องครองท้องที่ การทะเบียนราษฎร์ และการทะเบียนปกครองต่างๆ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องดูแลทุกข์สุขของประชาชนให้ครอบคุมภารกิจต่างๆ ที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อน โดยการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ หรือขจัดปัญหาเรื่องเดือดร้อนของประชาชนให้หมดสิ้นไป เพื่อให้ประชาชนได้เกิดความพึงพอใจในระดับสูงสุด 3.1.1 เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ให้ครอบคุมทุกภารกิจที่ให้บริการ 3.1.2 เพื่อให้ประชาชนได้ร้บความพึงพอใจในระดับสูงสุด 3.1.3 เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นไปตามหลักราชการใสสะอาด 3.2.1 ร้อยละของความสำเร็จของการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนผ่านระบบ MIS2 ตามขั้นตอนที่กองกลางกำหนด ร้อยละ 100 3.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 93.00
266 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 การตรวจสอบและคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์ สำนักงานเขตป้อมปราบฯ มีโรงพยาบาลหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อาทิ รพ.กลาง รพ.หัวเฉียว รพ.ยศเส จึงมีการออกสูติบัตรให้กับเด็กที่เกิดโดยสำนักงานเขตป้อมปราบฯเป็นจำนวนมาก ทำให้มีประชาชนมาติดต่อขอคัดและรับรองสูติบัตร กรณีสูติบัตรสูญหายหรือชำรุดอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการค้นหาสูติบัตรแบบเดิมที่ยังไม่มีการเก็บข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบค้นหาในห้องเก็บเอกสาร ทำให้ประชาชนต้องรอคอยเป็นเวลานานหรือบางครั้งต้องนัดหมายประชาชนมาในวันอื่่น ๆ ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชน ในการขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสูติบัตรที่่มีข้อมูลครบถ้วน (ยกเว้นสูติบัตรที่่ไม่ปรากฎชื่อผู้เกิด และ/หรือรายการในสูติบัตรที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง) โดยผ่านทาง Application Line ภายใต้ชื่อ "ป้อมปราบบริการสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์" -เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรอง สูติบัตรแบบเดิมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชาชนผู้รับบริการ โดยการลดระยะเวลาการรอคอยของประชาชน -เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชานผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบฯและกรุงเทพมหานคร เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลารอคอยของประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมที่ต้องค้นหาด้วยระบบมือ 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
267 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 การบันทึกทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2503-2514 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของเขตป้อมปราบฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)ในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถ ตรวจสอบค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนได้ ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ลงฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ซึ่่งมีจำนวนมากถึง 45,842 ราย โดยแบ่งการดำเนินกาารเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ระหว่างปี พ.ศ.2530-2546 จำนวน9,524 รายเรียบร้อยแล้ว ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 รายเรียบร้อยแล้ว และช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ 2561 กำลังดำเนินการจัดเก็บ ระหว่างปี พ.ศ. 2503 - 2514 จำนวน22,266 ราย -เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) -เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล (ชื่อตัว) จากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที่ -เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการด้านทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว) สามารถจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ. 2503 - 2514 จำนวน22,266 ราย ได้แล้วเสร็จ -ประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
268 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินงานตามระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เพื่อค้นหาและระบุความเสี่ยง จัดทำลำดับความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานพร้อมทั้งมีการวางแผนและติดตามประเมินความเสี่ยงนั้น เพื่อทำให้ความเสี่ยงนั้นหมดไปหรือลดลงให้อยุ่ในระดับยอมรับได้และมั่นใจสามารถบรรลุประสงค์ที่กำหนดไว้ เพื่อค้นหาและระบุความเสี่ยง จัดทำลำดับความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานพร้อมทั้งมีการวางแผนและติดตามประเมินความเสี่ยงนั้น เพื่อทำให้ความเสี่ยงนั้นหมดไปหรือลดลงให้อยุ่ในระดับยอมรับได้และมั่นใจสามารถบรรลุประสงค์ที่กำหนดไว้ เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารที่ได้บริหารงานที่ได้ประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
269 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2017-01-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
270 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน ช่องทางด่วนพิเศษ (Fast Track) 1.มีประชาชนมารับบริการงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนในแต่ละวันเป็นจำนวนมาก 2.การให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแด่พระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ผู้พิการและสตรีมีครรภ์ ในช่องทางด่วนพิเศษ (Fast Track) 3.ลดขั้นตอน ลดระยะเวลาในการใช้บริการ หากเข้าสู่ระบบปกติที่ต้องใช้เวลารอคอย ลดความเสี่ยงในการถูกร้องเรียน 1.เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลาในการให้บริการ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการของสำนักทะเบียน 3.เพื่อสนองตอบต่อนโยบายผู้บริหารและสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อจัดการความเสี่ยงที่จะถูกร้องเรียนกรณีการให้บริการช้า ร้อยละของความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการมากกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
271 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวามีหน้าที่ความรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับงานทะเบียนชื่อบุคคลซึ่งในการให้บริการจะต้องเป็นไปด้วย ความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะการตรวจสอบค้นหารวมถึงการคัดและรับรองเอกสารดังกล่าวเพื่อนำไปใช้อ้างอิงพิสูจน์สิทธิต่างๆเนื่องจากเขตยานนาวาเป็นสำนักทะเบียนเก่าที่ต่อมาให้แบ่งพื้นที่การปกครองเป็น3เขตและทะเบียนชื่อบุคคลยังคงจัดเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ซึ่งเป็นเขตแม่ จำนวนมากหลักฐานเหล่านี้มักจะมีหน่วยงานราชการอื่นประสานขอตรวจสอบอยู่เนืองๆ ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ที่ประสงค์ขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสำเนาจะจำไม่ได้และไม่มีเอกสารอ้างอิงว่าได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุลไว้เมื่อใดและ ณสำนักทะเบียนใดถ้าจะตรวจสอบและค้นหาต้องเดินทางมาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวาซึ่งการจราจรติดขัดที่จอดรถไม่เพียงพอและการค้นหา เอกสารด้วยมือจะใช้เวลานานซึ่งเอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเก่าอาจทำให้บางส่วนฉีกขาด ชำรุด สูญหาย เพื่อให้การตรวจสอบค้นหาทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) สามารถดำเนินการได้รวดเร็วและตรวจสอบได้ทุกสำนักทะเบียนทั่วราชอาณาจักรโดยไม่ต้องเดินทางมาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดทำโครงการฯนี้ขึ้นซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2565)และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (Smart Service) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล(Digital Economy)และมีการบริหารจัดการเมือง(กรุงเทพมหานคร)ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ(Smart city)และยังสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพฯ ระยะ 12 ปี ยุทธศาสตร์หลักเพื่อความยั่งยืน การเป็นมหานครต้นแบบแห่งการบริหารและบริการเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อเป็นต้นแบบด้านการบริหารมหานคร (Mastering Best Service and Mega-city Management) 1.เพื่อลดระยะเวลา และขั้นตอนในการปฏิบัติงานเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการของสำนักทะเบียน โดยสามารถตรวจสอบและเรียกค้น ทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บริการในเชิงรุก สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อป้องกันการชำรุด และเสื่อมสภาพของเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) โดยสามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างถาวร 1. นำเข้าข้อมูลทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2532-15 กรกฎาคม 2547 ประมาณ 3,200 รายการ จัดเก็บ ในระบบคอมพิวเตอร์ฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ได้ครบถ้วนถูกต้อง 2. ประชาชนที่มาติดต่อขอตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ณ สำนักทะเบียนท้องที่เขตยานนาวา ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลารอคอย และพึงพอใจในบริการ 3. ประชาชนที่ต้องการตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ซึ่งจัดเก็บที่สำนักทะเบียนท้องที่เขตยานนาวา สามารถรับบริการ ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
272 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงอาคารสำนักงานเขตพญาไท อาคารสำนักงานเขตพญาไทเป็นอาคารเก่ามีอายุการใช้งานมากกว่า 30 ปี จึงทำมีสภาพชำรุดทรุดโทรมไม่สวยงามเหมาะสมที่จะเป็นสถานที่การให้บริการประชาชน จึงดำเนินการปรับปรุงให้สวยงาม เพื่อให้อาคารมีสภาพสวยงาม ปลอดภัย เหมาะสมเป็นสถานที่ให้บริการประชาชน ดำเนินการปรับปรุงอาคาร 2 และ อาคาร 3 5,620,000.00 5,311,000.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
273 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2561 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2558-2560 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน 1.รักษารอบของปี 58-60 จำนวน 1 โครงการ 2.ดำเนินการใหม่ของปี 2561 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
274 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า "การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน" เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
275 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมส่งเสริมการตรวจสุขภาพประจำปี กรุงเทพมหานครกำหนดนโยบายเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัยที่ดีแก่บุคลากรกรุงเทพมหานคร ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารรราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้สำนักงานเขตพญาไทมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี และบุคลากรมีสุขภาพดี ดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด (ตรวจสุขภาพข้าราชการและบุคลากรสำนักงานเขตพญาไททุกคน) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
276 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินงานของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา ดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
277 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมตามมาตรการเสริมสร้างธรรมมาภิบาล การบริหารความเสี่ยงของโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและมีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์กร เพื่้อการความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริต จำนวน 10 หัวข้อ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
278 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน ผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานครมีนโยบายเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัยที่ดีแก่บุคลากรกรงเทพมหานคร 1.เพื่อสนันสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้บุคลกรกรุงเทพมหานครเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัย ดำเนินการตามที่ สนอ.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
279 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตห้วยขวางให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน เป็นไปตามแผนฯ 61 เป็นไปตามแผนฯ 61 เป็นไปตามแผนฯ 61 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
280 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 004 กิจกรรมศูนย์บริการข้อมูลงานด้านสมาคม 4 4 จำนวนของสมาคมในพื้นที่บางกะปิเข้าร่วมกิจกรรมศูนย์บริการข้อมูลงานด้านสมาคม 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
281 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
282 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
283 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อกำหนดตำแหน่งของการออกใบอนุญาตได้อย่างชัดเจน เพื่อการกำหนดตำแหน่งของอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 1. การลงจุดตำแหน่งอาคารในแผนที่ได้ถูกต้อง 2. การออกเลขบ้านเป็นไปตามระเบียบที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
284 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การให้บริการประชาชนโดยการรับจองคิวทางอินเตอร์เน็ท เนื่องจากมีผู้มาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้เกิดปัญหาด้านการให้บริการเพิ่มขึ้น ผู้มารับบริการที่มารับบัตรคิวต้องใช้เวลารอคอยนานอีกทั้งเอกสารที่เตรียมมาอาจจะไม่ครบถ้วนทำให้ไม่สามารถรบริการได้ต้องมาติดต่อใหม่ในภายหลัง เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน, ลดระยะเวลา และค่าใช้จ่ายของประชาชนในการมารับบริการและให้มีช่องทางในการมารับบริการเพิ่มขึ้น และเป็นการให้บริการด้วยความทันสมัยทุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ปรับปรุงการให้บริการให้มีมาตรฐานมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการมีโอกาสและช่องทางในการขอรับบริการเพิ่มมากขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
285 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 รณรงค์การทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรกในเชิงรุก เนื่องจากมีผู้มาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้เกิดปัญหาด้านการให้บริการเพิ่มขึ้น ผู้มารับบริการที่มารับบัตรคิวต้องใช้เวลารอคอยนานอีกทั้งเอกสารที่เตรียมมาอาจจะไม่ครบถ้วนทำให้ไม่สามารถรบริการได้ต้องมาติดต่อใหม่ในภายหลัง เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน, ลดระยะเวลา และค่าใช้จ่ายของประชาชนในการมารับบริการและให้มีช่องทางในการมารับบริการเพิ่มขึ้น และเป็นการให้บริการด้วยความทันสมัยทุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ปรับปรุงการให้บริการให้มีมาตรฐานมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการมีโอกาสและช่องทางในการขอรับบริการเพิ่มมากขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
286 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ทางทะเบียน เนื่องจากเป็นส่วนราชการหนึ่งของหน่วยงานที่มีประชาชนมาติดต่อใช้บริการเป็นจำนวนมาก ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจของประชาชนในเรื่องกฎหมาย ฯลฯ จึงได้จัดทำโครงการฯเพื่อเผยแพร่ความรู้ทางทะเบียนขึ้น เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านทะเบียนที่เป็นประโยชน์ดต่อประชาชนโดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจก่อนมารับบริการ และ กระตุ้นเตือนถึงการใช้สิทธิและหน้าที่ตามกรอบของกฎหมาย เสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในด้านการให้บริการ ผู้มาใช้บริการและบุคคลทั่วไปได้รับความรู้ทางทะเบียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
287 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 พัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาสูติบัตร (ทร.19) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การตรวจสอบและค้นหาสูติบัตรสามารถดำเนินการได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวดเร็ว สามารถตรวจสอบและคัดรับรองได้ทุกสำนักทะเบียน ไม่ต้องเดินทางมามาติดต่อขอคัดรับรองยังสำนักทะเบียนที่มีต้นขั้วเก็บรักษาไว้ อีกทั้งลดปัญหาการชำรุด เสื่อมสภาพของสูติบัตร (ทร.19) เพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองสูติบัตร และเป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ บันทึกข้อมูลสูติบัตร (ทร.19) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2526 จำนวน 10,000 รายการ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การคัดรับรองสูติบัตรที่สำนักทะเบียนได้ทุกสำนักทะเบียน เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และประชาชนพึงพอใจในการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
288 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อกำหนดตำแหน่งของการออกรหัสประจำบ้านได้อย่างชัดเจน เพื่อการกำหนดตำแหน่งของอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 1. การลงจุดตำแหน่งอาคารในแผนที่ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 2. การออกเลขบ้านเป็นไปตามระเบียบที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
289 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
290 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการ "พาน้อง 7 ปี ทำบัตรไม่มีค่าใช้จ่าย" พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 ให้บุคคลจะต้องมีบัตรครั้งแรกอายุ 7 ปีบริบูรณ์ โดยบุคคลดังกล่าวยังเป็นเด็กและส่วนใหญ่กำลังศึกษาในระดับประถมศึกษาในระดับประถมศึกษา ซึ่งไม่สะดวกที่จะยื่นขอมีบัตร ณ สำนักทะเบียนด้วยลำพังตนเองได้ และหากบิดา มารดา หรือผู้ปกครองเป็นผู้นำพามายื่นขอมีบัตรอาจเพิ่มภาระทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนี้เพื่อเป็นการลดภาระผู้ปกครองในการนำพาเด็กมาทำบัตรประจำตัวประชาชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น 2.1 เพื่อให้นักเรียนในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานครในเขตพื้นที่บางกอกใหญ่มีบัตรประจำตัวประชาชนตามระเบียบ 2.2 เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้บัตรประจำตัวประชาชนเป็นหลักฐานแสดงตนเข้ารับบริการสาธารณะของรัฐแทนเอกสารราชการอื่น 2.3 เพื่อให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการได้รับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เด็กนักเรียนที่มีอายุครบ 7 ปี บริบูรณ์ (เกิดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2554) และครบ 7 ปี ขึ้นไป ที่กำลังศึกษา อยู่ในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ รวม 6 โรงเรียน ได้รับบริการจัดทำบัตรฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
291 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การให้บริการประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ นับว่ามีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่นิยมการศึกษาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่เองก็ได้เห็นความสำคัญของการให้บริการในส่วนนี้และได้จัดทำข้อมูลเพื่อประชาสัมำพันธ์ข้อมูลข่าวสารและเป็นช่องที่สามารถติดต่อสื่อสารกับประชาชนได้สะดวก เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลและการดำเนินงานของหน่วยงานให้ผู้รับบริการทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ตามแนวทางที่กำหนด ทั้ง 5 ด้านคือ ปฏิทินกิจกรรม ปรับปรุงข้องมูล การให้บริการ ข่าวสาร และติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
292 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
293 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 สำรวจข้อมูลระบบสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การให้บริการของหน่วยงานและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จึงต้องนำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดหาระบบสารสนเทศมาให้เจ้าหน้าที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้มีการพัฒนาระบบให้ดียิ่งขึ้นจึงต้องสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้งาน เพื่อพัฒนาด้านเทคโนโลยีในการให้บริการประชาชนและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ สำรวจข้อมูลระบบสารสนเทศ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะในการสำรวจข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
294 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย 1 ปฏิทินกิจกรรม 2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3 ข่าวสาร 4 การให้บริการ 5 ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
295 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักงานเขตดอนเมือง ได้ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ เพื่อให้การบริหารระบบราชการเป็นไปด้วยความถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ตลอดจนดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประสบผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ และดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้เป็นไปโดยรวดเร็วขึ้น สามารถคลายทุกข์ คลายกังวลให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อนได้ทันต่อเหตุการณ์ รับเรื่องร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาความเดือนร้อน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
296 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 จัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
297 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตจตุจักร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานเขตจตุจักร มีภาระกิจ ครอบคลุมทุกด้านตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านจึงมีความจำเป็นต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความแพร่หลายและมีความถูกต้อง -เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับประชาชน - เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินงาน ให้ประชาชนได้รับทราบ -เพิ่มช่องทางให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บริหารเขต มีการลงข้อมูลผลงานและกิจกรรมลงในระบบสาสนเทศทุกวันและมีการรายงานผู้บริหารเขตทราบทุก 15 วัน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้สืบค้นข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
298 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งปรากฎอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ ของกรุงเทพมหานคร (MIS) เพื่อติดตามผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด ระดับความความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
299 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความพึงพอใจของผู้รับบริการ สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง ประชาชน ข้าราชการ และบุคลากรของกรุงเทพมหานครผู้มารับบริการโดยตรงหรือบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่หน่วยงานนั้น ให้บริการ สำรวจความพึงพอใจครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1.ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4.ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5.ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน สำรวจความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
300 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการให้คำปรึกษา ตรวจสอบเอกสาร นัดหมายก่อนมาติดต่อราชการผ่าน Application Line เอกสารการทะเบียนเป็นเอกสารสำคัญซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคตั้งแต่แรกเกิดเพื่อใช้เป็นหลักฐานในชีวิตประจำตัว เช่น สูติบัตร ทะเบียนบ้าน ใบแจ้งย้ายที่อยู่ บัตรประจำตัวประชาชน ฯลฯ ได้วางระบบและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ให้บริการด้วยมือ บันทึกด้วยกระดาษ เข้าสู่ยุคระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ทั่วประเทศ ในการนี้สำนักงานเขตบึงกุ่มยังมีเอกสารทางทะเบียนแบบเดิมที่ยังไม่เก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ การค้นหาเจ้าหน้าที่ต้องใช้เวลาส่งผลให้ประชาชนต้องรอคอยนาน หรือบางครั้งต้องมารับในวันถัดไป จึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชนว่า ก่อนมาติดต่อราชการให้ติดต่อผ่าน Application Line เพื่อขอคำปรึกษา หรือขอตรวจสอบเอกสารทางทะเบียนก่อนมาติดต่อราชการ เพื่อไม่ต้องเสียเวลารอคอย ลดเวลาในการติดต่อขอรับบริการ เนื่องจากเจ้าหน้าที่จักได้จัดเตรียมเอกสารรอไว้ - เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการให้คำปรึกษาและตรวจสอบเอกสารทางทะเบียนก่อนมาติดต่อราชการ - เพื่อเพิ่มช่ิงทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชนผู้รับบริการ โดยลดระยะเวลาการรอคอย และจำนวนครั้งที่มาติดต่อราชการของประชาชน - เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตบึงกุ่มและกรุงเทพมหานคร - เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนผู้มาติดต่อราชการ โดยการเพิ่มช่องทางการให้บริการสำหรับประชาชนและลดขั้นตอนและระยะเวลาการรอคอยของประชาชนในการมาติดต่อราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
301 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนให้แก่นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่ การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน หมายถึง การดำเนินการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน เป็นการบริการของฝ่ายทะเบียนในการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนโดยการรับ-ส่งเด็กนักเรียนมายังสำนักงานเขต เพื่อจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและ/หรือการจัดทำบัตรประจำตัวประชาช ณ สำนักงานเขตใดสำนักงานเขตหนึ่งเพื่อให้ได้รับบัตรประจำตัวประชาชน เพื่อจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนให้กับนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสาทร ที่มีอายุ 7 ปีบริบูรณ์ และมีสัญชาติไทย จำนวนนักเรียนในสังกัดฯทั้งหมดได้รับการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
302 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
303 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 4. การปรับปรุงข้อมูลไม่น้อยกว่า 5 เร่ือง อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
304 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงเว็ปไซต์ของสำนักงานเขต สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงบริการต่างๆในกทม. มีการลงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 1 เพื่อให้การรายงานข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางพลัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพิ่อปรับปรุงข่าวสารของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด อย่างน้อย 3 หัวข้อต่อเดือน ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม มีการลงกิจกรรมต่างๆที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน และดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ประกอบด้วย ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน โครงสร้าง/ผู้บริหาร แผนปฏิบัติราชการ สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน และข้อมูลทางกายภาพ 3. ข่าวสาร เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรมที่ได้นำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา ภาพกิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินการ ประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ 4. การให้บริการ การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอน ระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ ตามภารกิจหน้าที่ของสำนักงานเขตครบทุกฝ่าย 5. ติดต่อเรา ข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และ แผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
305 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
306 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตสวนหลวง พัฒนาหน่วยงานให้มีความสามารถในการให้บริกาสรประชาชน ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีของหน่วยงานให้ทันสมัยรองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ 2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนได้รับความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชน 1. เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีของหน่วยงานให้ทันสมัยรองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ 2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนได้รับความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชน หน่วยงานดำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ได้ 100 คะแนนตามการปรระเมินของ สยป.กทม. 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
307 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านฯ ตามที่กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการ สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำกิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านฯ เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจที่สุด 1. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่องานด้านการขอเลขหมายประจำบ้าน ดำเนินการลงข้อมูลการขอเลขหมายประจำบ้านในระบบ ของสำนักผังเมือง (แบบ ทร.900) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
308 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี2560 สำนักงานเขตสวนหลวง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2559 สำนักงานเขตสวนหลวง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2559 ให้ตรงตามเป้าหมาย ความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สิน ประจำปี 2559 ทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
309 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง เพื่อสำรวจงานให้บริการประชาชนตามภารกิจหรืออำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานครที่ควรจัดทำเป็นบริการอิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ร้อยละ 100) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
310 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้เสร็จภายในกำหนด สำนักงานเขตวัฒนามีระบบการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแก้ไขเรื่องร้องเรียน เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
311 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC สำนักงานเขตวัฒนา สำนักงานเขตวัฒนามีการจัดตั้งศูนย์ราชการฉับไวใสสะอาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน ประชาชนมีความพึงพอใจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
312 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 แจ้งการซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ผ่าน Mobile Application LINE@ สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบูรณะ ซ่อมแซมทางเท้า ฝาบ่อพักท่อระบายน้ำ ผิวจราจร ป้ายชื่อซอยต่างๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถติดต่อ สัญจรไปมาได้โดยสะดวกปลอดภัย และเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย และภารกิจหนึ่งของสำนักงานเขต คือ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งมีผู้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน(Public Participation) ไว้ว่า คือ การกระจายโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง และการบริหารเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน โดยการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ให้คำแนะนำปรึกษา ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ รวมตลอดจนการควบคุมโดยตรงจากประชาชน สำนักงานเขตวัฒนา ได้นำภารกิจเกี่ยวกับการก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร ป้ายชื่อซอย ท่อระบายน้ำอุดตัน และสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ มาผนวกรวมกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการส่งเสริมให้เกิดการเสนอแนะ ให้ข้อคิดเห็น และร่วมปฏิบัติ โดยการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความชำรุด ทรุดตัวของถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร สิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ เพื่อเป็นข้อมูลให้สำนักงานเขตได้นำไปวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรที่ต้องใช้ในภารกิจการซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร และสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนดังกล่าว สำนักงานเขตวัฒนาจึงได้ นำเทคโนโลยีการสื่อสารของโทรศัพท์ Smart Phone มาใช้โดยการจัดทำ Mobile Application เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนในการแจ้งและติดตามการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตในเรื่อง การซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจรและสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้รับความสะดวกในการสัญจรและลดอุบัติเหตุอันตรายที่อาจเกิดขึ้น และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนโดยส่วนรวม 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตวัฒนาในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2.2 เพื่อสร้างระบบการรับแจ้งเหตุจากเครือข่าย และการส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2.3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแล และบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน และสาธารณูปโภคของเขตวัฒนา 1 เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดูแล และบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน และ สาธารณูปโภคของเขตวัฒนา 2 เกิดการวางแผนการบริหารทรัพยากรในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
313 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง ปี 2561 - เพื่อกำหนดการออกเลขรหัสประจำบ้านให้สอดล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร - เพื่อแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้านบนโฉนดที่ดิน - เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองกรุงเทพมหานคร - ร้อยละ 100 ของตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
314 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง ปี 2561 เพื่อกำหนดการออกเลขรหัสประจำบ้านให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร - เพื่อแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้านบนโฉนดที่ดิน - เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองกรุงเทพมหานคร - ร้อยละ 100 ของตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
315 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
316 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการจ้างเจ้าหน้าที่ช่วยปฏิบัติงานฝ่ายทะเบียน เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอรืเน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนอัตรากำลังผู้ปฏิบัติงานฝ่ายทะเบียน ทำให้งานประจำและงานนโยบายแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 1.ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็วและถูกต้อง 2.ประชาชนพึงพอใจและเกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร 3.เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการสามารถปฏิบัติงานได้เต็มประสิทธิภาพ 4.ลดการเกิดข้อร้องเรียนต่อการให้บริการที่ล่าช้าและไม่มีประสิทธิภาพ 332,640.00 332,640.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
317 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ปัจจุบันมีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารใหม่จำนวนมาก ซึ่งเป็นฐาานข้อมูลสำคัญที่แสดงถึงการขยายตัวของเมือง ประกอบกับมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ 1.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดสร้างเพื่อปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลแผนที่ของตำแหน่งอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างถูกต้อง 2.สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นตามข้อมูลแผนที่ที่สำนักงานผังเมืองได้จัดเตรียมไว้ทำให้สะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้สามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว รวดเร็วและมีความถูกต้อง 3.สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบความสอดคล้องการกำหนดพื้นที่ปลูกสร้างและการใช้ประโยชน์อาคารกับพระราชบัญญัติผังเมืองรวมและข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครที่บังคับใช้ 4.การใช้ประโยชน์อาคารสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลที่มีอยู่ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่จัดอยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนได้รับรู้และนำไปเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจ หรือวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ต่อไปในอนาคตได้ด้วย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
318 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฝ่ายทะเบียน เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
319 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 เด็กสายไหมใส่ใจทำบัตร ปัจจุบันกฎหมายได้กำหนดให้บุคคลที่มีอายุครบ 7 ปี บริบูรณ์ ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนเป็นครั้งแรก เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจกฎหมายดังกล่าว จึงต้องมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ 1. เพื่อให้ผู้มีสัญชาติไทยที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์และมีชื่อในทะเบียนบ้านในท้องที่เขตสายไหม มีบัตรประจำตัวประชาชนสำหรับใช้แสดงตนและเป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด 2. เพื่อให้บิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองได้ทราบว่าบุคคลที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก 3. เพื่ีอให้สถานศึกษาในพื้นที่เขตสายไหม สำรวจเด็กที่มีอายุ 7 ปีบริบูรณ์ โดยจัดส่งให้สำนักงานเขตดำเนินการให้บริการทำบัตรประจำตัวประชาชน บุคคลสัญชาติไทยที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ที่มีชื่ีออยู่ในทะเบียนบ้านในท้องที่เขตสายไหมและเด็กนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสายไหมที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ ได้รับการทำบัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
320 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
321 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
322 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.1 กิจกรรมระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฎอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
323 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.2 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด ( Best Service ) โครงการประจำปีงบประมาณ 2561 ( โครงการวังทองหลาง สร้างสุข ปลุกรอยยิ้ม ) สำนักงานเขตวังทองหลางมีภารกิจหลักในการบริการและช่วยเหลือประชาชน และเป็นหน่วยงานในการนำนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนเป็นหน่วยงานในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่เขตที่ขอความร่วมมือ เนื่องจากภารกิจ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเจ้าหน้าที่ทำให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เช่น โรคปวดกล้ามเนื้อ มือชา นิ้วล็อค เป็นต้น และโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลต่อสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่ เกิดภาวะความเครียดและเหนื่อยล้าสะสมจากการทำงาน จากปัญหาดังกล่าวสำนักงานเขตวังทองหลางได้ตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้าง สุขภาวะ ที่ดีให้กับเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีการขยับร่างกายให้มีการผ่อนคลายจากการทำงาน รวมทั้งเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นระยะเวลานาน โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) และ โรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) 1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีความสุขในการทำงาน 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลาง ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดความรัก ความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีสุขภาวะที่ดี ทั้งกาย ใจ อารมณ์ สังคม และปัญญา 4. เพื่อให้สำนักงานเขตวังทองหลางเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน 1.) ร้อยละของบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลาง เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.) มีการจัดทำองค์ความรู้ในการทำงาน อย่างน้อย 10 เรื่อง 3.) ร้อยละบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลางที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ) มีแนวโน้มการพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ( 18.5-22.90 ) เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 4.) จำนวนเรื่องร้องเรียนในการให้บริการ ที่เกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ไม่เกิน 10 เรื่อง/ปี ( ร้องเรียนผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555 ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
324 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.3 กิจกรรมระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็นสิ่งสำคัญ ของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เนื่องจากหน่วยงานสำนักงานเขตมีหน้าที่ในการให้บริการประชาชนอย่างใกล้ชิด ซึ่งการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ประชาชน จะทำให้ทราบสิ่งบกพร่องเพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการให้บริการ หากสิ่งไหนที่ปฏิบัติได้ดีอยู่แล้วก็จะได้รักษามาตรฐานการปฏิบัติงานเอาไว้หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 1.เพื่อทราบถึงความพึงพอใจของประชาชน/ผู้รับบริการ ต่อการให้บริการของสำนักงานเขตวังทองหลาง 2.เพื่อปรับปรุงการทำงานให้มีการบริการที่ดีขึ้นเพื่อตอบสนองประชาชน/ผู้รับบริการ . สำนักงานเขตวังทองหลางได้รับความพึงพอใจจากการทอดแบบสอบถามของกองงานผู้ตรวจราชการ ในระดับ 4.00 ขึ้นไป โดยประเมินความพึงพอใจในการให้บริการ จำนวน 6 ด้าน 1 ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการของหน่วยงาน 2 ด้านตวามพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3 ด้านความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิหส์ของหน่วยงาน 4 ด้านความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวกของหน่วยงาน 5 ด้านความพึงพอใจด้านการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ 6 ด้านความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
325 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตทวีวัฒนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตทวีวัฒนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้กับประชาชน 2. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน มีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงาน จำนวน 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. เกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5.ติดต่อเรา ให้เป็นปัจจุบัน โดยปรับปรุงอย่างน้อย 2 หัวข้อต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
326 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนผู้รับบริการ (ศูนย์ 1555) (มิติที่ 3.1) เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอน ระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการตาม พรบ. ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และ พรก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1) ตอบรับเรื่องร้องเรียนจากระบบภายใน 1 วันและแจ้งผลการดำเนินการภายใน 3 วันทำการ 2) เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข **เป้าหมายเสริม** - การรายงานผลกรณีดำเนินการไม่เสร็จภายใน 3 วัน ให้รายงานทุกวันที่ 15 และ 30 จนกว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จ - การรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารหน่วยงานและกองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานครทราบ 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
327 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการจัดเก็บข้อมูลเอกสารทางทะเบียนด้วยวิธีจับภาพเอกสาร (Scan)ในระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยสำนักทะเบียนกลางมีหนังสือ ที่ มท 0309.5/ว 53 ลงวันที่ 14 กันยายน 2560 แจ้งว่าได้พัฒนาระบบโปรแกรมการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียน โดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เพื่อรองรับการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนซึ่งสำนักทะเบียนจัดทำขึ้นก่อนปี พ.ศ.2527 รวมทั้งทะเบียนบ้านฉบับคอมพิวเตอร์ (ฉบับปี 2531) เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น เพื่อให้จัดเก็บข้อมูลเอกสารทางทะเบียนราษฎร โดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร จึงมีหนังสือที่ กท 0406/4951 ลงวันที่ 25 กันยายน 2560 สั่งการให้สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขต ดำเนินการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนโดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เฉพาะสูติบัตร (ท.ร.19) และมรณบัตร (ท.ร.20) ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักทะเบียน และเอกสารทางทะเบียนอื่นๆ ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาแล้วเห็นว่าควรจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทะเบียนชื่อตัว ทะเบียนชื่อสกุล หรือทะเบียนคนเกิด (สูติบัตรที่ออกก่อนปี 2500) เป็นต้น และรายงานผลการดำเนินการข้างต้นให้ศูนย์บริหารการทะเบียนภาค 1 กรุงเทพมหานครทราบ เพื่อรวบรวมแจ้งสำนักทะเบียนกลางต่อไป 1.เพื่อจัดเก็บเอกสารทางทะเบียน ที่เห็นควรจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ให้ครบถ้วน 2.เพื่อให้การสืบค้น หรือคัดและรับรองเอกสารทางทะเบียนเป็นไปด้วยความรวดเร็วสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ 3.เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่อขอรับบริการ ซึ่งสามารถติดต่อขอคัดสำเนาเอกสารดังกล่าวได้จากทุกสำนักทะเบียนทั่วประเทศโดยมิต้องเดินทางมาขอคัดสำเนาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตทุ่งครุแต่เพียงสำนักทะเบียนเดียวอีก จัดเก็บเอกสารทางทะเบียน ประเภททะเบียนชื่อตัว ทะเบียนชื่อสกุล ตั้งแต่เดือนมีนาค 2541- พ.ศ.2547 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
328 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 3 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
329 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-10-01 00:00:00 2022-09-01 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
330 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
331 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภาย ในปี 2562 จำนวน 1,877 คน (ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program)) จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคน เพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุด คือ โรคซิฟิลิส ในปี 2560 มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5 กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3 กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue) ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์?? 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
332 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย - - 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
333 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
334 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
335 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
336 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย - - 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
337 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
338 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
339 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานคร วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับโลกและระดับประเทศ องค์การอนามัยโลกจัดประเทศไทยอยู่ 1 ใน 14 ประเทศของโลก ที่มีปัญหาวัณโรคทั้งสามประการรวมกัน ได้แก่วัณโรคสูง วัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและวัณโรคดื้อยาหลายขนานและเรียกกลุ่มประเทศทั้ง 14 ประเทศนี้เป็น“Central Diamonds”แม้ว่าประเทศไทยจะนำกลยุทธ์ยุติวัณโรค (Ending TB) มาใช้ในการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแต่ยังคงเป็นปัญหาอยู่ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร รับผิดชอบในการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีการดำเนินงานควบคุมวัณโรค โดยดำเนินการตามแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (National Tuberculosis Program: NTP)แต่ผลการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในภาพรวมที่ผ่านมายังไม่บรรลุเป้าหมาย โดยอัตราผลสำเร็จของการรักษาของทุกสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร ในปี 2560 ร้อยละ78.10ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้คือผลสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท มากกว่าร้อยละ 85 ซึ่งการรักษาวัณโรคให้หายถือว่าเป็นการควบคุมวัณโรคที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด การแก้ปัญหาวัณโรค เป็นกระบวนการที่จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน (Public -Public,Public-Private Mixed) โดยมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การสนับสนุนการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และการพัฒนาระบบข้อมูลโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ การพัฒนาระบบการรายงานรวมถึงระบบการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งต้องมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนแบบยั่งยืน กองควบคุมโรคเอดส์ วันโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานครขึ้น 1.ผู้ปฏิบัติงานด้านวัณโรคมีทักษะ ประสบการณ์ แนวคิดและวิธีการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จของการดำเนินงานควบคุมวัณโรค 2. เครือข่ายดำเนินงานด้านวัณโรคภาครัฐเอกชนและองค์กรเอกชนมีศักยภาพในการ ดำเนินงานควบคุมวัณโรค 3. มีระบบการรายงานข้อมูลวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ 750,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-10-01 00:00:00 2022-07-01 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
340 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่สำคัญที่เป็นปัญหาสาธารณสุข และเป็นสาเหตุสำคัญของการป่วยและการตายในหลายๆประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ในแต่ละปีมีผู้ป่วยใหม่ (Incidence) ประมาณ 9.6 ล้านคน ในจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดและร้อยละ 85 ของผู้ป่วยวัณโรคทั่วโลก จะอยู่บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศที่ติดอันดับ1 ใน 14 ประเทศ ที่เป็น High Burden Country list ที่มีทั้งจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานจำนวนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากผลกระทบของปัญหาเอดส์ในประเทศไทยและการเคลื่อนย้ายของแรงงานผลัดถิ่น แรงงานต่างด้าว ทำให้วัณโรคแพร่กระจายและไม่สามารถติดตามการรักษาให้หายขาดได้ จึงมีผลกระทบในเรื่องของอัตราป่วย อัตราการรักษาครบ อัตราดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) มีแนวโน้มที่สูงขึ้น กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานหลักในการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้จัดโครงการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเร่งรัดดำเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายการควบคุมป้องกันวัณโรคทั้งสถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ดำเนินงานวัณโรคตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ สอดคล้องกับนโยบายกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่องและบรรลุตามเป้าหมาย 1. สำนักอนามัย ได้รับความร่วมมือดำเนินงานด้านวัณโรค จากภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. ประชาชนได้รับการดูแลรักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ 449,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
341 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 พัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1,122,150.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
342 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย 502,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
343 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 เยาวชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ 478,080.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
344 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 พัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด 299,440.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
345 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 ลดละเลิกการบริโภคยาสูบสำหรับบุคลากรของกรุงเทพมหานคร 334,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
346 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 2,366,700.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
347 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 ก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
348 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
349 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
350 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสนับสนุนและติดตามการดำเนินงานชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สยส.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
351 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา (สยส.) 988,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
352 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดสารเสพติดในชุมชน (สยส.) 896,300.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
353 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ (สยส.) 1,082,075.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
354 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย (สยส.) 502,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
355 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการเยาวชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ (สยส.) 478,080.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
356 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการรณรงค์ ลด เลิก การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเทศกาลสำคัญ (สยส.) 843,700.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
357 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด (สยส.) 479,440.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
358 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการลดละเลิกการบริโภคยาสูบสำหรับบุคลากรของกรุงเทพมหานคร (สยส.) 340,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
359 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในชุมชน (สยส.) 153,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
360 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (สสว.) 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
361 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) 124,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
362 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการติดตามข้อมูลการให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Bangkok Smart Monitoring (กอพ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
363 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้นภายใต้การสังเกตโดยตรง (DOT)(กอพ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
364 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมศูนย์กลางการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค(TB Referral Center) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
365 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (กคร.) 14,750,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
366 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
367 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาสมรรถนะพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ของกรุงเทพมหานคร (สสว.) 163,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
368 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการจัดทำวารสารสุขภาพสำนักอนามัย (สพธ.) 1,750,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
369 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการบริหารแผนงาน โครงการและการติดตามประเมินผลแผนสำนักอนามัย (สพธ.) 118,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
370 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 3 (สพธ.) 3,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
371 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2564) 178,450.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
372 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารสุขภาวะเขตเมือง รุ่นที่ 3 (สพธ.) 823,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
373 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารรสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม (ศบส.58) 337,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 5.00
374 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา 8,240,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
375 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพคนกรุงเทพฯ (สพธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
376 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสาระสุขภาพทางสื่อสาธารณะ (สพธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
377 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานการใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามโปรแกรมผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เนท (สยส.) - จากรายงานผลการบำบัดรักษายาเสพติดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 15 ปี ที่ใช้ยาเสพติดครั้งแรกมีจำนวน 1,539 คน คิดเป็นร้อยละ 13.25 มีข้อมูลจากสถานพินิจกรุงเทพมหานครในงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนในสถานพินิจทีมีอายุ 13 - 18 ปี จำนวน 171 คน พบมีการใช้ยาในทางที่ผิด ได้แก่ โปรโคดิล ทรามาดอล จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของเด็กและเยาวชน ในการใช้ยาในทางที่ผิด และจะนำไปสู่การใช้ยาเสพติดอื่นต่อไป นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 12 - 15 ปีจัดอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น (เทคนิคการทำงานของเด็กและเยาวชน : มาดี ลิ่มสกุล,2560) ของวัยรุ่นในช่วงอายุนี้จะมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เป็นความเป็นตัวของตัวเอง อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับให้คนอื่นเห็นคุณค่า บางครั้งเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ให้ความสำคัญกับเพื่อนร่วมวัย ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการใช้ยาในทางที่ผิดและยาเสพติดได้ง่ายขึ้น กรุงเทพมหานคร ตระหนักความสำคัญของปัญหาดังกล่าว สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด จึงร่วมกับกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล พัฒนาแบบประเมินดังกล่าว โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการแปรผลและประมวลผล มีฐานข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อให้นักเรียนได้ประเมินตนเองจากแบบประเมินภูมิคุ้มกันฯ ซึ่งคัดกรองนักเรียนได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภูมิคุ้มกันปกติ กลุ่มภูมิคุ้มกันต่ำ และกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถจัดกิจกรรม ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้รวดเร็วถูกต้อง และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที - 1.เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมานครมีการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 109 โรงเรียน มีการคัดกรองนักเรียนโดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ - 1.เพื่อค้นหาคัดกรองนักเนรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภูมิคุ้มกันต่ำและเสี่ยงต่อการมใช้ยาและสารเสพติดและจัดบริการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม 2.เพื่อัฒนาระบบคัดครองให้มีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
378 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2562 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2562 (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) การประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์หรือกระบวนการในการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคม ให้เกิดขึ้นในองค์กร นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดประกวดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัยผู้สนใจส่งผลงานเข้าประกวด - จัดประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดประชุมคณะกรรมการ 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 450 คน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมฯ ปี พ.ศ.2562 จำนวน 1,000 เล่ม 900,000.00 898,973.25 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
379 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร (กสอ.) (ข้อบัญญัติฯ) กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสําคัญในการควบคุมกํากับดูแลการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายว่าด้วยอาหาร ในสถานประกอบการอาหารในกรุงเทพมหานคร ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตลาด และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอาหารอยู่บ่อยๆ มีทั้งผู้ประกอบการรายใหม่ เลิกกิจการ และเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอื่นๆ โดยเป็นการปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง ๕๐ สํานักงานเขต ประกอบด้วยภารกิจที่ต้องดำเนินการทั้งในส่วนของการตรวจประเมินสุขลักษณะสถานประกอบการ การตรวจเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ การส่งเสริมความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้สัมผัสอาหารตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข การตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปัจจุบันการดำเนินงานดังกล่าวนั้น ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกันอย่างเป็นระบบ ทำให้การปฎิบัติงานมีความยากลำบาก และทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ประกอบกับระบบสารสนเทศอาหารปลอดภัยเดิมได้ใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ มีการเสื่อมสภาพ และเทคโนโลยีไม่รองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้นและความต้องการใช้งานของเจ้าหน้าที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหารขึ้นตามสภาพสังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบเดียว ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน และเป็นการจัดการระบบฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านการสุขาภิบาลอาหารให้มีศักยภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในอนาคตได้ดีขึ้น กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการบริหารจัดการ ควบคุม จัดทำรายงาน วิเคราะห์วางแผนการปฎิบัติงาน และแผนงบประมาณในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร -//- 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานครได้ 2. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการดำเนินงานตามภารกิจด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกองสุขาภิบาลอาหาร และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต -//- พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่มีข้อมูล ครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ-//- 5,750,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
380 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน (สยส.) -- การทำงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงสถานะและสภาพปัญหายาเสพติดในชุมชนในทิศทางที่ดี โดยความสามารถของชุมชนในการดำเนินงานในพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่อง บุคลากรจำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนทักษะที่จำเป็น นำไปสู่การบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ของตนเองได้ สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเห็นความสำคัญ ของการพัฒนาบุคลากร จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน เพื่อพัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีองค์ความรู้และทักษะการเป็นพี่เลี้ยงในชุมชน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้าง ความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองได้อย่างยั่งยืน 492,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-11-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
381 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมาย และมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. ๒๕56 – ๒๕7๕) ตลอดจนการบริหารจัดการและการพัฒนาในทิศทางที่ถูกต้อง และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น โดยมีแผน และกิจกรรมเพื่อการขับเคลื่อนโครงการฯ ดังนี้ ๑. แผนพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ ๑ สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต เป็นกิจกรรมสนับสนุนบทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง 50 สำนักงานเขต ในฐานะหน่วยปฏิบัติการในระดับพื้นที่เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานครและสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัย ในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ โดยตัดโอนเงินให้สำนักงานเขต ๕๐ เขต งานควบคุมอนามัย เป็นเงิน ๘,๒๕๓,๗๕๐ บาท (แปดล้านสองแสนห้าหมื่นสามพัน เจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ดังนี้ กิจกรรมย่อย ที่ 1.1 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต 50 เขต โดยกำหนดขอบเขตดำเนินการ ดังนี้ ๑. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล โดยให้สำนักงานเขตดำเนินการบริหารจัดการเพื่อเบิกจ่ายค่าตอบแทนฯ ได้ตลอดปีงบประมาณ ๒. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน ๓. ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร ๔. ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๕. ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพการควบคุมป้องกันโรคในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๖. ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัดมลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ 1.๒ การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยกำหนดให้มีการจัดประชุมชี้แจง การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน รวมถึงการจัดสรรงบประมาณ ให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ. 2560 กิจกรรมที่ ๒ การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ กิจกรรมย่อย ที่ ๒.1 ส่งเสริมการป้องกันปัญหามลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรม เป็นกิจกรรมส่งเสริมการป้องกันมลพิษปัญหาฝุ่นละลองขนาดเล็ก (PM2.5) จากแหล่งกำเนิดหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม การสร้างความตระหนักและการมีส่วนรวมของผู้ประกอบการให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณภาพอากาศที่ดีของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ ๒.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสถานประกอบการให้ปลอดภัย และมีการพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการ เพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญเรื่องเสียงดังแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง และเป็นการสนับสนุนและส่งเสริม ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครปลอดภัย ปลอดมลภาวะทางเสียง กิจกรรมย่อย ที่ ๒.3 กิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้ประกอบกิจการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ เกี่ยวกับการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข เพื่อควบคุมกิจการดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทั้งในด้านสุขลักษณะ การป้องกันอันตรายหรือเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน ตลอดจนมีการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน คุณสมบัติของพนักงาน ให้เป็นไปตาม ที่กฎหมายกำหนด กิจกรรมย่อย ที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน กิจกรรมที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในอาคารสาธารณะ กิจกรรมย่อย ที่ ๓.1 การส่งเสริมพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในศาสนสถาน (วัดและศาลเจ้า) เป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้วัดและศาลเจ้ามีการจัดการสุขลักษณะของสถานที่ ให้มีความสะอาด ลดการระบาดของโรคติดต่อต่างๆ และลดการปล่อยมลพิษสิ่งแวดล้อมออกสู่ภายนอก โดยเฉพาะฝุ่นละอองและเขม่าควันจากกิจกรรมฌาปนกิจศพและการเผากระดาษเงินกระดาษทองตามประเพณี ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลศาสนสถาน กิจกรรมย่อย ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ใน 12 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร โรงพยาบาล ศาสนสถาน สวนสาธารณะ สถานที่ราชการสถานศึกษา สถานีขนส่ง สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า แหล่งท่องเที่ยว และห้องน้ำริมทาง ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร และจัดกิจกรรมการประกวดสุดยอดห้องน้ำปีของกรุงเทพมหานคร เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและความตระหนักถึงความสำคัญของห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 4 การตรวจวัดการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมจ้างเหมา ตรวจวัด หรือเฝ้าระวังการปนเปื้อนของมลพิษจากกิจกรรมหรือ การประกอบกิจการใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ที่เกินขีดความสามารถของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องของสำนักงานเขต จำเป็นต้องได้รับความรู้ ขั้นตอน วิธีการในการปฏิบัติงานตามกฎหมายและอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรมเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทั้ง ๕๐ สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยจัดทำสื่อเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต และจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขตเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 9.1 อาคารสถานที่ สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย มีสภาวะทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย เหมาะสมต่อความเป็นอยู่การพักอาศัย การทำงาน การประกอบอาชีพ ส่งผลให้ประชาชนมีการดำรงชีพอย่างเป็นปกติสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น 9.2 เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีศักยภาพพร้อมในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ และสามารถดำเนินการจัดการปัญหาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ส่งผลให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 9.3 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ก่อเหตุรำคาญ หรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน สิ่งแวดล้อม และชุมชนที่อยู่โดยรอบสถานประกอบการ 9.4 สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องต่อการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
382 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ) - - 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
383 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีสะอาดปลอดภัย เพิ่มมอีก 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
384 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อ 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
385 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 19,715,505.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2022-03-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
386 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 พัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในชุมชน 860,450.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
387 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 ชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติด 494,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
388 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
389 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
390 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการฏิบัติการพยาบาล 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
391 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
392 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 14,750,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
393 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 ก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
394 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในสถานประกอบการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
395 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
396 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด (สยส.) 2,798,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
397 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
398 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ (กสภ.) 514,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
399 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (กสภ.) 634,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
400 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาบริการสุขภาพจิตชุมชน (กสภ.) 1,149,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
401 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมคลินิกครอบครัวอบอุ่น (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
402 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กสภ.) 130,750.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
403 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งผู้ประกอบอาชีพปลอดโรค ปลอดภัยมีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี 479,300.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
404 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบรูณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กคร.) 425,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
405 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนากระบวนการเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค (กคร.) 246,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
406 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (กคร.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
407 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ (กคร.) 161,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
408 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฟื้นฟูศักยภาพผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (กคร.) 262,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
409 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
410 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
411 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมควบคุมดูแลให้ที่พักพิงสุนัข (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
412 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการทำหมันสุนัขจรจัดปล่อยกลับที่เดิม (สสธ.) 450,480.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
413 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข (กพส.) 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
414 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการพยาบาล (กพส.) 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
415 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนักอนามัย 2564 (กสภ.) 1,800,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
416 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
417 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ (Preventive Long-Term Care) (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
418 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
419 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สุงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
420 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารการพยาบาล (ด้านบริหารอนามัย) รุ่นที่ 21 (กพส.) 4,145,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
421 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward (กพส.) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
422 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฝึกอบรมปฐมนิเทศบุคลากรสายงานพยาบาลเพื่อสร้างองคืความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติในการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กพส.) 217,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
423 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการคนกรุงเทพฯ รักฟัน (เพื่อเข้าสู่วัยสุงอายุฟันดี) (กทส.) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
424 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอาสาสมัครสาธารรสุขกรุงเทพมหานครร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ (กสภ.) 2,310,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
425 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร (กสภ.) 1,815,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
426 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรม การจัดทฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
427 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
428 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
429 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2562 โครงการศึกษาวิจัยพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) ในปัจจุบันโรงควบคุมคุณภาพน้ำทุ่งครุสามารถรองรับการบำบัดน้ำเสียได้มากถึง 65,000 ลุกบาศก์เมตรต่อวัน โดยระบบหลักที่ใช้ในการลดสารอินทรีย์ คือ ระบบบำบัดแบบใช้อากาศ เนื่องจากปัจจุบันการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเพื่มจำนวนของประชากรทำให้ปริมาณน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดมากขึ้น อีกทั้งพื้นที่โรงควบคุมคุณภาพน้ำทุ่งครุมีจำกัดจึงไม่สามารถขยายขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียได้ จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาหาแนวทางในการปรัปปรุงระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถรับภาระสารอินทรีย์ที่เพิ่มมากขึ้น การใส่ตัวกลางในระบบบำบัดน้ำเสียจะเป็นการเพิ่มพื้นที่ยึดเกาะให้กับจุลินทรีย์ในระบบ ทำให้เกิดฟิล์มชีวะ ขึ้นในระบบและความหลากหลายของชนิดจุลินทรีย์เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ความสามารถในการบำบัดสูงขึ้นตามไปด้วย ในการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลของตัวกลางต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อศึกษาผลของตัวกลาง(PVA Gel)ต่ออัตราการไหลที่ยังคงประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียชุมชนในระบบบำบัดแบบใช้อากาศ ได้แนวทางในการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเมื่อมีอัตราการไหลที่สูงขึ้นในอนาคต 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
430 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2015-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
431 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 ค่าบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 29,860,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
432 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 – กันยายน 2562 21,500,000.00 21,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
433 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 17,500,000.00 17,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
434 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 19,880,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
435 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 6,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
436 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุการณ์ตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพ บริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในระยะที่ 1 ดำเนินงานแล้วเสร็จปลายปี 2556 สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี ประกอบด้วย สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง เพื่อให้การติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่บริเวณดังกล่าว เพื่อการให้บริการประชาชน ซึ่งเป็นแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร แหล่งพัฒนาความรู้ของเยาวชน และสถานที่ออกกำลังกายตามพื้นที่ต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยระบบจะทำการเก็บบันทึกข้อมูลภาพ ณ ห้องควบคุมระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของแต่ละสถานที่ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง ๓๐ วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครประกอบด้วย สวนสาธารณะ 15 สวน รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 460 กล้อง ๓.๑ เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในบริเวณสวนสาธารณะ ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครให้แก่ประชาชน ๓.๒ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ได้ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี ๓.๓ เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครรวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน ติดตั้งกล้อง CCTV สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง 50,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
437 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 2.2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 2.5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 3.1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 3.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 3.3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 3.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 3.5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
438 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
439 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
440 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
441 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
442 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
443 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณป้อมมหากาฬ เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อีกทั้งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ ป้อมมหากาฬ ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เนื่องจากเป็นสถานที่สำคัญ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประชาชนภายนอกมาใช้บริการกันมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณ ป้อมมหากาฬ กรุงเทพมหานคร จำนวน 36 ชุด และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน พร้อมทั้งเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลต่างๆ จากห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจรศาลาว่าการ-กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพจากศูนย์กลางได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในป้อมมหากาฬ 2.2 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณภายในป้อมมหากาฬกรุงเทพมหานคร โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในภายในป้อมมหากาฬ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 4.1 สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมภายในป้อมมหากาฬ และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 4.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับผู้มาใช้บริการประชาชนที่ใช้บริการป้อมมหากาฬได้ 4.3 สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการ ก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4.5 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 4.6 สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 10,240,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
444 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 6,550,000.00 6,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
445 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 7,570,000.00 7,570,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
446 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 19,530,000.00 19,530,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
447 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 40,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
448 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 18,300,000.00 18,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
449 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,500,000.00 16,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
450 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 22,050,000.00 22,050,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
451 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 15,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
452 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
453 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 19,490,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
454 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,400,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
455 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 1,730,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
456 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 12,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
457 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,000,000.00 4,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
458 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้ง บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
459 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 3,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
460 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 10 เดือน 295,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
461 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
462 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 250,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
463 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน 26,570,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
464 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
465 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
466 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม 8 พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่ของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานคร เป็นนโยบายสำคัญที่ต้องดำเนินการ โดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีคนพลุกพล่าน สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดเหตุร้าย เช่น สะพานพระราม ๘ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ภายในบริเวณใกล้เคียงสะพานพระราม ๘ แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ และยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อยและสังเกตสถานการณ์ต่าง ๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดปัญหาการโจรกรรม อาชญากรรม และอัตวินิบาตกรรม ที่เกิดขึ้นในบริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร โดยจะดำเนินการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร ที่กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมไม่สามารถตรวจตราได้ เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่สะพานพระราม ๘ และบริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 30 กล้อง โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปยัง สถานีตำรวจนครบาลบวรมงคล สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตพระนคร เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพปัจจุบันและดูภาพย้อนหลัง รวมทั้งใช้ในการบันทึกภาพ โดยสามารถตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จ้างเหมาจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม ๘ เพื่อดูแลความเรียบร้อย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณสะพานพระราม 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมและเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. เพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,890,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
467 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศช่วยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใช้ในการวางแผน ตัดสินใจ และกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สาหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้าหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กาจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ามันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย 28,000,000.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
468 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจสอบ 24 ครั้ง/ปี (เดือนละ 2 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
469 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
470 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานครมีนโยบายเพิ่มความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะและลดจุดเสี่ยงอาชญากรรม เพื่อให้เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่การตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
471 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
472 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
473 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
474 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
475 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
476 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร ยานพาหนะเป็นทรัพย์สินที่ต้องใช้พลังงาน หากมีฐานข้อมูลจำนวนยานพาหนะจะช่วยในการควบคุมวางแผนการใช้พลังงานได้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร รายงานฐานข้อมูลรถยนต์ จำนวน 1 ฉบับ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
477 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน 7,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
478 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 9,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
479 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2562 9,770,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
480 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมสำรวจ รวบรวมและพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อนำเข้าฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครโดย 50 สำนักงานเขตและสำนักสิ่งแวดล้อม พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมฯ เพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
481 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 ฐานข้อมูลไม้ยื่นต้น กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมจึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงานและสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป 1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของ กรุงเทพมหานคร” 2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
482 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
483 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
6.2. 2562 ประกวดนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สำนักการศึกษาเป็นหน่วยงานหลักที่จะต้องส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาของกรุงเทพมหานครได้มีการจัดการเรียนรู้ที่สอดรับตามแผนและบรรลุตามเป้าประสงค์ ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการประกวดนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู้ของกรุงเทพมหานคร และสร้างขวัญกำลังใจแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนเป็นเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่นวัตกรรมของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นต้นแบบให้แก่สถานศึกษาอื่น อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกรุงเทพมหานครที่ยั่งยืนต่อไป 1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครได้ใช้ความรู้ความสามารถในการออกแบบและการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อเป็นแรงกระตุ้นและเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ การใช้นวัตกรรม หรือสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดทำโครงงาน เกิดการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ ด้านปริมาณ 1. ได้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา 2. ได้โครงงานจากการใช้นวัตกรรม หรือสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน ในระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา ด้านคุณภาพ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีการออกแบบและสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างมีประสิทธิภาพ 2. นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสร้างโครงงานโดยนำนวัตกรรม หรือสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรมและสร้างสรรค์ 318,500.00 189,150.00 สำนักการศึกษา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
484 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 25,400,000.00 0.00 สำนักการศึกษา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
485 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว โดยส่วนห้องสมุดและการเรียนรู้ สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาห้องสมุดและนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสอดคล้องกับระบบบริการห้องสมุดและการเรียนรู้แนวใหม่ ตามนโยบายการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life long learning) แต่ห้องสมุดทั้งหมดไม่มีระบบการบริการสืบค้นออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถนำเสนอนวตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองความต้องการตามวิถีชีวิตดิจิทัลในปัจจุบัน นอกจากนี้ ห้องสมุดมากกว่า 20 แห่ง ไม่มีระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ บางแห่งใช้ซอฟแวร์ห้องสมุดแพลตฟอร์มวินโดว์ให้บริการภายในห้องสมุดเท่านั้น ไม่ได้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน การจัดทำเครือข่ายให้บริการทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์พร้อมบริการสืบค้นออนไลน์เพื่อใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันระหว่างห้องสมุด ซึ่งเป็นรูปแบบของความร่วมมือในการจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ช่วยลดภาระ ลดปัญหาความซ้ำซ้อน ความผิดพลาดในการลงรายการหนังสือของห้องสมุดแต่ละแห่ง ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นข้อมูลสิ่งพิมพ์ผ่านระบบออนไลน์ เชื่อมโยงข้อมูลหนังสือและสามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ห้องสมุดทุกแห่งสามารถให้บริการสารสนเทศเชิงรุกที่ตอบสนองความต้องการรับรู้ข่าวสารของประชาชนในสังคมดิจิทัลสะดวก รวดเร็ว สามารถสืบค้น เข้าถึงข้อมูลห้องสมุดด้วยการใช้อุปกรณ์สื่อสารทั้ง สมาร์ทโฟน แท็บแลต คอมพิวเตอร์ การบริการเหล่านี้จะเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุด อย่างเท่าเทียมโดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานที่ 1. เพื่อให้เครือข่ายห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมโครงการ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและทรัพยากร ตลอดจนการให้บริการยืมคืนทรัพยากรร่วมกันได้ 2. สมาชิกห้องสมุด ประชาชนทั่วไปและบุคคลที่สนใจ สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และสามารถเข้าถึงข้อมูลของห้องสมุดทุกแห่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วางแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับให้ห้องสมุดทุกแห่งของกรุงเทพมหานครสามารถเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้แบบออนไลน์ 4. ยกระดับการดำเนินงานภายในให้คล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. เพื่อพัฒนาระบบการบริการของห้องสมุดกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการและการศึกษาค้นคว้าผ่านระบบจัดการสื่อความรู้ออนไลน์ ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 1. หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร และห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้น 36 แห่ง 2. ผู้ใช้บริการห้องสมุด จำนวนกว่า 2 ล้านคนต่อปี 3. ทรัพยากรสารสนเทศกว่า 9 แสนเล่ม 14,544,000.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
486 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2018-01-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
487 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 70,000,000.00 13,939,960.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 56.00
488 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย 3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ 4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ 1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์ 3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี) 4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 8,487,454.00 7,789,047.12 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
489 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมือง - เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง - เพือส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง - ส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
490 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ จัดอยู่ในกลุ่มกรุงเทพกลาง มีสภาพพื้นที่ประกอบด้วยสถานที่และโบราณที่สำคัญ แหล่งการค้า แหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานราชการ และรวมถึงที่อยู่อาศัยที่มีจำนวนหนาแน่น เมื่อเทียบกับพื้นที่ที่มีจำกัด อาคารบ้านเรือนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะไม่เป็นระบบระเบียบ การตรวจสอบค้นหาที่ตั้งของอาคารบ้านเรือนในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์กระทำได้ยากพอสมควร เหตุนี้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่ายเพื่อการปรับปรุงแผนที่ ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับหน่วยงานต่าง ๆรวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปในการตรวจสอบค้นหาที่ตั้งและรายละเอียดของอาคารได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูลของบ้าน ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์สามารถจัดเก็บ จัดทำระบบฐานขัอมูลได้ครบถ้วน คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
491 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน 3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว ตัวชี้วัด -ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ค่าเป้าหมาย -ร้อยละ 100 วิธีการคำนวณ - จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2018-10-01 00:00:00 2019-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
492 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
493 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 24.(เจรจา)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายโยธา) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร การลงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารที่ระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารตามคำร้องของประชาชนที่ขอให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
494 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 08.(เจรจา) กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายทะเบียน) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
495 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
496 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
497 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาต ก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง สำรวจ จัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
498 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 74. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานครได้ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้กำหนดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมือง รวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการปลูกสร้างอาคารบ้านเรือน เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดรหัสเลขประจำบ้าน พร้อมเลขหมายประจำบ้าน เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชีวัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จึงได้จัดทำโครงการ "การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน" ขึ้น ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบ การใช้ประโยชน์ในที่ดินและอาคารตามข้อกำหนดผังเมืองกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป 1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
499 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมือง ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเป็นการบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการออกเลขหมายประจำบ้าน ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 3. เพื่อสามารถค้นหาตำแหน่งการลงจุดการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างรวดเร็ว 4. เพื่อให้ข้อมูลการออกเลขหมายประจำบ้านของสำนักงานเขตภาษีเจริญ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
500 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวณพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
501 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
502 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
503 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2562 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
504 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง 4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 5. ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
505 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
506 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร.900 การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.900 ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
507 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ 2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
508 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
509 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ส่งเสริมการขยา่ยตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง 1. เพื่อทราบถึงการใช้ประโยชน์ของที่ดินอย่างถูกต้องและถูกกฏหมาย 2. เพื่อทราบความหนาแน่นของประชากรในแต่ละพื้นที่ 3. เพื่อทราบจุดที่แสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ชัดเจนและถูกต้อง เพื่อทราบการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
510 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900) การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
511 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้งานระบบในการนำเครื่องมือสารสนเทศดังกล่าวไปใช้ในการวางแผน การปรับปรุง หรือแม้แต่การพัฒนาผังเมือง และการใช้ประโยชน์ในที่ดิน การตรวจสอบความหนาแน่นของจำนวนประชากรในพื้นที่ ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาหน่วยงานได้เป็นอย่างดี แต่ถ้าระบบภูมิสารสนเทศดังกล่าว แสดงผลข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากระบบดังกล่าวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้ อาจทำให้การวางแผน การปรับปรุง การพัฒนา ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างตรงเป้าหมาย หรือแม้แต่การปฏิบัติงาน หรือการให้บริการที่ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลดีได้ ผู้บริหารกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำคัญ/จำเป็นของการปรับปรุงข้อมูลของตำแหน่งที่ตั้งของอาคารในระบบภูมิสารสนเทศ จึงกำหนดให้มีกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.1 ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง โดยกำหนดให้กิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านดังกล่าวเป็นตัวชี้วัดงานเชิงยุทธศาสตร์ของสำนักผังเมืองซึ่งเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดบูรณาการร่วมกับสำนักการโยธา และสำนักงานเขต เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ สำนักงานเขตทุ่งครุ จึงจัดทำโครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านขึ้น 2.1 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างเป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง 2.2 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบถ้วนคิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
512 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวนพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางบอน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
513 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม - ส่งเสริมให้มีการจัดทำระบบข้อมูลสินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์เพื่อการพัฒนา/เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยจัดเก็บอย่างเป็นระบบและเผยแพร่ผ่านช่องทาง online - เพื่อให้สินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์ ได้รับการจัดเก็บใน WWW.bangkokbrand2017.com และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เพื่อจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
514 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
6.2. 2562 กิจกรรมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อยกระดับสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม - พัฒนามาตรฐานและคุณค่าเชิงอัตลักษณ์ (Identity) ของผลิตภัณฑ์ โดยการนำเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ “Bangkok Brand” มาใช้กับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดสรร โดยปัจจุบัน กรุงเทพมหานครมีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์ และเพื่อให้ผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) เป็นที่รู้จักของประชาชนและผู้บริโภคอย่างแพร่หลายเพิ่มมากขึ้น เป็นการ เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายและส่งเสริมการขาย - เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) ได้นำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อยกระดับสินค้าเชิงนวัตกรรม ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok brand) 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
515 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บและสืบค้นกฎหมายเกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญ ประจำสภากรุงเทพมหานครโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครมีความยากในการค้นหา จัดเก็บและสืบค้นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น คณะกรรมการสามัญประจำสภากรุงเทพมหานครสามารถสืบค้นกฎหมายเกี่ยวข้องกับภารกิจของสกากรุงเทพมหานครได้รวดเร็วขึ้น 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
516 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสารด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของสภากรุงเทพมหานคร เอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครมีมากและยากต่อการค้นหา จัดเก็บเอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้ครบถ้วน โดยนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็วต่อการใช้งาน 1. การจัดเก็บเอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้ครบถ้วนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ 2. บุคลากรกรุงเทพมหานคร ประชาชน สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สามารถค้นหาได้สะดวก รวดเร็ว ต่อการใช้งาน 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
517 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการประชุมสภา กรุงเทพมหานครด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติราชการ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนในกระบวนการบริหารจัดการประชุม เช่น กำหนดนัดหมายการประชุม การแจ้งเอกสารหรือข้อมูลประกอบการประชุม เป็นต้น สามารถนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนในกระบวนการบริหารจัดการประชุมอย่างน้อย 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
518 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการบริหารการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร (SBMC Unified Communications) สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีแนวคิดที่จะพัฒนาการประชุมสภากรุงเทพมหานคร ให้มีความสะดวกรวดเร็ว ก้าวสู่ความเป็นเลิศ มีความทันสมัย รองรับการเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 1. เพื่อให้สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีระบบการบริหารจัดการด้านการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์สำหรับให้บริการแก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครและบุคลากรของหน่วยงาน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงานภายในสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร 1. ผู้รับบริการสามารถติดต่อสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน รวมถึงสามารถค้นหาและส่งผ่านข้อมูลที่เกี่ยวกับภารกิจของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครและข้อมูลอื่นๆ ตลอดรวมถึงสามารถรับทราบกิจกรรมการประชุมอันเป็นภารกิจที่สำคัญ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา 2. การใช้กระดาษสำหรับจัดทำเอกสารเชิญประชุมคณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญและคณะอนุกรรมการลดลง 3. อย่างน้อย 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
519 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2562 โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างนวัตกรรมภาครัฐ เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สำนักงาน ก.ก. จึงได้ส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันให้หน่วยงาน/ส่วนราชการ เห็นความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงงานบริการให้ดียิ่งขึ้น โดยการจัดให้มีการพิจารณารางวัลคุณภาพ การให้บริการของกรุงเทพมหานครขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้หน่วยงาน/ส่วนราชการต่างๆ เห็นความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงการบริการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและมอบรางวัลให้แก่หน่วยงาน/ส่วนราชการที่สามารถพัฒนาคุณภาพการให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) ให้กับหน่วยงานอื่นได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำไปขยายผลการดำเนินการโดยแบ่งประเภทรางวัลออกเป็น 2 ประเภท 2.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ มีความเข้าใจ Innovation Mindset มีความตระหนักถึงบทบาทของข้าราชการในบริบทผู้ประกอบการภาครัฐ รองรับการเปลี่ยนแปลงตามนโยบาย Thailand 4.0 2.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาสามารถนำความรู้ไปสร้างคุณค่าจากการพัฒนานวัตกรรมในการทำงาน ส่งมอบแก่ประชาชน สาธารณะหรือส่วนรวมและองค์กร อันเป็นทางเลือกใหม่ในการนำความเปลี่ยนแปลงให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในการทำงาน 1. กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน 2 รุ่นละ 50 คน จำนวน 100 คน ได้แก่ - ประเภทอำนวยการ ระดับต้น – ระดับสูง - ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ – ระดับชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน – ระดับอาวุโส ซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายหรือเทียบเท่า 2.ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 24 คน ได้แก่ - เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 18 คน - วิทยากร 2 รุ่น ๆ ละ 3 คน จำนวน 6 คน 247,900.00 205,376.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
520 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำการเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ กองวินัยและเสริมสร้างจริยธรรม และกองพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.ก. ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดทำการเก็บข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศ ในเรื่องของธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดให้มีกิจกรรมจัดทำการเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานคร ให้มีความเป็นระบบและเป็นมาตรฐาน โดยข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และมีความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยที่สุด เพื่อสะดวกต่อการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานและส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อจัดเก็บข้อมูลในเรื่องของธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศที่สำคัญและจำเป็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ให้มีความเป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2.2 เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานที่เป็นปัจจุบัน มีความถูกต้อง ครบถ้วน และมี ความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยที่สุด เพื่อจัดเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
521 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร(สำนักงาน ก.ก.) ได้มีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร โดยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. และเชื่อมโยงกับเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ ดังนั้นเพื่อให้การบริการข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครบนเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. มีความทันสมัย จึงจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุง/พัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ให้มีการจัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. สามารถให้บริการข้อมูล ข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจความรับผิดชอบที่มีความทันสมัย ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
522 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสืบค้น มติ ก.ก. มติ ก.ก. เป็นระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ที่ทุกหน่วยงานต้องยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด จึงเปรียบเสมือนหัวใจและเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร โดยกองบริหารทั่วไป สำนักงาน ก.ก. มีหน้าที่จัดเก็บ ดูแลรักษา และรับผิดชอบเอกสารมติ ก.ก. ตั้งแต่ พ.ศ. 2516 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกสารมติ ก.ก. เพียงบางส่วน (พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน) ที่ถูกจัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ในขณะที่ยังมีเอกสารบางส่วน (พ.ศ. 2516 – 2547) ที่ยังไม่ได้ถูกจัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และมีสภาพเก่าตามอายุของเอกสาร ดังนั้น หากมีการรวบรวมและจัดเก็บมติ ก.ก. ให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด มีการแยกหมวดหมู่ประเภทและจัดทำดัชนีเอกสารมติ ก.ก. รวมถึงการพัฒนาระบบการสืบค้นมติ ก.ก. ที่ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน ก็จะทำให้การปฏิบัติงานทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งป้องกันการสูญหายของมติ ก.ก. ดังนั้น จึงได้จัดทำกิจกรรมการพัฒนาระบบการสืบค้นข้อมูลมติ ก.ก. ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2565) ด้านที่ 7 ด้านการบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน เป้าประสงค์ที่ 7.3.2.3 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน สนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 3 จัดทำคลังความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล และแผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ HR ให้มีความเข้มแข็งและทันต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล การใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนภารกิจ 1. เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลมติ ก.ก. 2. เพื่อให้มติ ก.ก. ถูกจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่ และมีระบบการสืบค้นข้อมูล 3. เพื่อให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และบุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึง สืบค้นและใช้ประโยชน์จากมติ ก.ก. ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศเพื่อสืบค้น มติ ก.ก. ตามประเภทการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 1 ระบบ โดยมีข้อมูลมติ ก.ก. ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างน้อย 5 ปีย้อนหลัง (ตั้งแต่ พ.ศ.2557 - 2561) และสามารถสืบค้นข้อมูลได้ตามปี พ.ศ. ประเภทการบริหารทรัพยากรบุคคล (18 ประเภท) หรือคำสำคัญ (Keyword) ภายในเดือนสิงหาคม 2562 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
523 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 2. โครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร (กสอ.) สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2548 เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อีกทั้งระบบดังกล่าวใช้งานมานาน เป็นเวลา 12 ปีแล้ว และปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งเอเชีย" ซึ่งเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าวได้นั้น คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมเกิดประโยชน์ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลดิจิทัล โดยพัฒนาตาม "กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ" หรือ "Thailand e-Government Interoperability Framework"(TH e-GIF) 1. เพื่อนำไปสู่เป้าหมายสูงสุดในการสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุด เดียวกัน ด้วยการบูรณาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเข้าด้วยกัน 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณ สำหรับการรับ-ส่งหนังสือระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการสั่งการของผู้บริหารและเพิ่มความสะดวกในการกระจายงานสู่ผู้ปฏิบัติ 4. เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และการสืบค้นเอกสารของหน่วยงานได้อย่างมีระบบ ลดปัญหาเอกสารฉบับจริงสูญหาย โดยจัดเก็บสำเนาเอกสาร ไว้ในระบบและรักษาความสำคัญของข้อมูลสารบรรณด้วยระบบรักษาความปลอดภัยและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. เตรียมพร้อมโครงสร้างระบบข้อมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้กรอบ TH e-GIF เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับส่วนราชการอื่น ๆ ได้ในอนาคต 6. เพื่อสามารถบริหารจัดการข้อมูล ลดจำนวนการใช้งานหรือยกเลิกการใช้กระดาษและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 7. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามสถานะของหนังสือ/เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงระยะเวลาดำเนินการ ในแต่ละขั้นตอนได้ 8. เพื่อให้มีระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อำนวยความสะดวก รวดเร็ว ในการเวียนหนังสือภายใน 9. เพื่อให้สามารถจองห้องประชุมในระบบ และสามารถนัดหมายการประชุมกับผู้บริหารในระบบได้ เป็นระบบที่ออกแบบให้สามารถให้บริการครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทั้ง 77 หน่วยงาน/ส่วนราชการ ได้แก่ 16 สำนัก สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเพมหานคร สำนักงานเขต 50 เขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 ส่วนราชการ โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน โดยมีระบบงานที่จะเกิดขึ้นได้แก่ ระบบงานสารบรรณและจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารจัดการห้องประชุม ซึงหน่วยงานเข้าใช้งานแบบเต็มระบบจะสามารถใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องการรับ-ส่งหนังสือการร่างหนังสือการค้นหาและติตตามงาน การปิดงานและยกเลิกเอกสาร การออกเลขหนังสือ การใช้งานระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบบริหารจัดการห้องประชุม 14,700,000.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
524 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 (14) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
525 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 (4) โครงการศูนย์การเรียนรู้การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR knowledge Center) ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการจัดการความรู้ในองค์กรมีความสำคัญ กล่าวคือ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ ที่ให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ สำนักงานการเจ้าหน้าที่ จึงได้จัดทำโครงการ “ศูนย์การเรียนรู้การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR knowledge Center) ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ” เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีการใช้องค์ความรู้ และนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานการเจ้าหน้าที่มีฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร มีความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
526 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 สปท./10 กิจกรรมการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพื่อการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพิ่มช่องทางการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพิ่มช่องทางการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
527 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล และบันทึกเป็นฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้และการพัฒนาตนเอง ด้านการตรวจสอบภายในและหรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ และหรือด้านการปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ และบันทึกองค์ความรู้ดังกล่าวไว้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน (ระบบ Share Point หรือเว็บไซต์) สำหรับเป็นฐานข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงานตรวจสอบหรือดำเนินงานด้านต่าง ๆ จำนวนองค์ความรู้ด้านการตรวจสอบภายใน และหรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ และหรือด้านการปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
528 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ ส่งเสริมให้หน่วยงานดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ หรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานในอนาคต จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับหรือรับทราบและนำไปปฏิบัติ หรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานในอนาคต 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
529 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นองค์กรหลักที่มีหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรและองค์กรของกรุงเทพมหานครอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง มุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการโดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และการพัฒนาขีดความสามารถ (Capability) เพื่อให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใต้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนางานในหน้าที่อย่างต่อเนื่อง โดยสถาบันฯ ให้ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมและสร้างระบบข้อมูลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างเครือข่าย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ได้นำเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร ที่เหมาะสมกับยุคปัจจุบันและเกิดประสิทธิภาพ โดยการทำระบบ e – Training เพื่อให้การเข้าถึงเนื้อหาเกิดขึ้นได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ทุกกลุ่มเป้าหมาย (Anywhere – anytime learning) ซึ่งได้รับความสนใจจากข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานครเข้าเรียนรู้ โดยการพัฒนาดังกล่าวเน้นการเรียนรู้จากความสนใจของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดทักษะที่สามารนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมกับ ยุคปัจจุบันและเกิดประสิทธิภาพ สถาบันฯ จึงมีแนวคิดในการทำระบบการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาหลากหลายยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการสนับสนุนการพัฒนาตนเองของบุคลากร และเป็นการเพิ่มช่องทางในการเรียนรู้ด้วยสื่อ online ที่สามารถเรียนได้ตามความสนใจ โดยสถาบันฯ จะคัดสรรและผลิตเนื้อหาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับข้าราชการ-กรุงเทพมหานครในภาพรวมต่อไป ๒.๑ เพื่อให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ online ได้ตามความสะดวกทั้งด้านเวลา และสถานที่ ๒.๒ เพื่อให้มีหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒.๓ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ผ่านระบบสารสนเทศ ที่รองรับรูปแบบการเรียนรู้ในอนาคต การนำเนื้อหาวิชาการเรียนการสอนที่ให้ผู้เข้ารับการอบรมเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต โดยนำไปใช้ในหลักสูตรนักบริหารมหานครทั้ง ๓ ระดับ ได้แก่ หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับต้น (บนต.) หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง (บนก.) หลักสูตรนัก-บริหารมหานครระดับสูง (บนส.) และหลักสูตรฝึกอบรมปฐมนิเทศข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
530 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2562 หลักสูตรฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาความรู้เฉพาะทาง) ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบงานคอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงาน และการบริหารงานนโยบายต่าง ๆ ทั้งในส่วนภาครัฐและเอกชน องค์กรต่าง ๆ รวมทั้ง กรุงเทพมหานคร จะต้องปรับตัวและเปลี่ยนแปลงโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่มาใช้ในการดำเนินงาน เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร และพัฒนาศักยภาพของคนในองค์กรทุก ๆ ด้าน ทั้งบุคลากรด้านเทคโนโลยี บุคลากรที่ทำงานในสำนักงาน รวมถึงการดำเนินชีวิตในชีวิตประจำวันที่จะต้องชาญฉลาด รู้เท่าทันสื่อ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยการวางแผนการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้กับองค์กร การปรับกระบวนการทำงานให้เข้ากับยุคดิจิทัล การปรับและพัฒนาบุคลากรให้พร้อม ทั้งด้านทัศนคติสู่ยุคดิจิทัล ความรู้ดิจิทัล ทักษะดิจิทัล รวมไปถึงวัฒนธรรมองค์กรดิจิทัล เพื่อก้าวเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรุงเทพมหานครมองเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการระบบฐานข้อมูล และการสร้างงานหรือสื่อนำเสนอมัลติมิเดียออนไลน์ โดยสามารถนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและก้าวทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขึ้น ซึ่งเป็นการสนับสนุนนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ในการปรับสมรรถนะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีศักยภาพสูงขึ้น และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหาร และพัฒนามหานคร ๒.๑ เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ๒.๒ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ และนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๓ เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายรัฐบาลในการยกระดับงานบริการภาครัฐด้วยการปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ สังกัดสำนัก สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นสายงานคอมพิวเตอร์ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 หลักสูตร แบ่งเป็น 17 รุ่น ๆ ละประมาณ 25 คน รวมทั้งสิ้นประมาณ 425 คน 2,457,000.00 1,338,700.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
531 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2562 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (Self-Directed & Life Long Learning) เพื่อการพัฒนารายบุคคลและการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ ปัจจุบันได้มีการสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และกำหนดให้เป็นนวัตกรรมขององค์การ ซึ่งครอบคลุมทั้งมิติของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และมิติของการพัฒนาองค์การ โดยมิติของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้น จะมุ่งเน้นการใช้นวัตกรรมทั้งด้านการฝึกอบรมที่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ การพัฒนาทักษะ และการปรับทัศนคติให้มีความเหมาะสมกับงานให้เป็นไปตามหลักสมรรถนะ (Competency) และขยายผลไปสู่มิติของการพัฒนาในภาพรวมขององค์การในระดับมหภาค โดยนวัตกรรมจะเป็นสิ่งที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงองค์การทั้งในระดับบุคคล (individual) และระดับกลุ่ม (group) อย่างไรก็ตามการฝึกอบรมพัฒนาในรูปแบบเดิม (Classroom Training) อาจไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งกลุ่มเป้าหมายจะเรียนรู้พัฒนาตนเองตามที่ต้องการ และสามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุกเวลาตามความสนใจ สอดคล้องกับแนวทางที่สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครได้กำหนดไว้ในแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ด้วยแนวคิดการพัฒนาเครื่องมือเพื่อกระตุ้นเรียนรู้ Self – Directed & Life Long Learning เพื่อการพัฒนารายบุคคล รวมทั้งการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์จากการพัฒนานั้น โดยก่อนการพัฒนาเครื่องมือ และนวัตกรรมต่าง ๆ จำเป็นต้องพัฒนาสร้างศักยภาพความพร้อมของบุคลากรทั้งด้านความรู้เท่าทันเทคโนโลยี และทักษะที่จำเป็นต่าง ๆ เพื่อการรองรับนวัตกรรมที่จะนำมาใช้ ๑. เพื่อสำรวจระดับความสามารถของผู้ปฏิบัติงานสังกัดสถาบันฯ ทุกตำแหน่ง ทุกระดับ ๒. เพื่อกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ด้วยตนเอง ที่เป็นไปตามสมรรถนะของตำแหน่ง ๓. เพื่อกำหนดแนวทางการนำนวัตกรรมมาใช้พัฒนารายบุคคล ตอบสนองแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ Self – Directed & Life Long Learning ที่นำไปใช้ในการพัฒนารายบุคคล เป็นสำรวจระดับความสามารถของผู้ปฏิบัติงานตามสมรรถนะของตำแหน่ง และกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเผยแพร่ผ่านระบบออนไลน์ รวมทั้งการกำหนดแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของผู้ปฏิบัติงานในสังกัดสถาบันฯ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๒๐ คน 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
532 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2562 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ปัจจุบันได้มีการสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และกำหนดให้เป็นนวัตกรรมขององค์การ ซึ่งครอบคลุมทั้งมิติของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และมิติของการพัฒนาองค์การ โดยมิติของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้น จะมุ่งเน้นการใช้นวัตกรรมทั้งด้านการฝึกอบรมที่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ การพัฒนาทักษะ และการปรับทัศนคติให้มีความเหมาะสมกับงานให้เป็นไปตามหลักสมรรถนะ (Competency) สอดคล้องกับแนวทางที่สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครได้กำหนดไว้ในแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ด้วยแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วยการสร้าง Assessment Center เพื่อเป็นเครื่องมือประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา การสร้าง Dashboard เป็นแหล่งข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร และการสร้าง Digital Learning Platform เพื่อเป็นศูนย์ความรู้การบริหารมหานคร ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองและเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาบุคลากร โดยก่อนการพัฒนาเครื่องมือ และนวัตกรรมต่าง ๆ ดังกล่าว จำเป็นต้องสร้างความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง และสร้างศักยภาพความพร้อมของบุคลากรทั้งด้านความรู้เท่าทันเทคโนโลยี ทักษะที่จำเป็น เพื่อการรองรับนวัตกรรมที่จะนำมาใช้ ๑. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจแนวพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ๒. เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการนำนวัตกรรมมาใช้ และวิธีการใช้นวัตกรรมให้เหมาะสมกับลักษณะองค์กร ๓. เพื่อจัดทำแผนงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการใช้นวัตกรรมเพื่อตอบสนองแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ด้านการสร้าง Assessment Center เป็นเครื่องมือประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา การสร้าง Dashboard เป็นแหล่งข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร และการสร้าง Digital Learning Platform เพื่อเป็นศูนย์ความรู้การบริหารมหานคร ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองและเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาบุคลากร เป็นการจัดกลุ่มกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมกันกำหนดแนวทางการพัฒนานวัตกรรมโดยการแสดงความคิดเห็น ของผู้ปฏิบัติงานด้านทรัพยากรบุคคล และผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร สายงานทรัพยากรบุคคล และผู้เกี่ยวข้อง จาก สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ๖๐ คน ดำเนินการจัดกิจกรรม ๒ ครั้ง ครั้งละ ๓๐ คน 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
533 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2562 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการวางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นปัจจุบัน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจในการพัฒนาองค์การและทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จึงได้มีการจัดเก็บฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการแต่ละหลักสูตรที่สถาบันฯ เป็นผู้จัดดำเนินการ โดยการดำเนินการกิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ 1. เพื่อออกแบบและจัดทำระบบฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2562 ของสถาบันฯ ร้อยละ 90 ของความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
534 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 3.2) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีประชากรที่เป็นชาวต่างชาติอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จากข้อมูลสถิติ สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรุงเทพมหานครมีจำนวนชาวต่างชาติอาศัยอยู่ 706,080 คน โดยคิดเป็น 9.3 % ต่อจำนวนประชากรไทยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครที่มีจำนวน 7,587,272 คน และจากข้อมูลของสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว (มิถุนายน 2561) มีแรงงานต่างด้าวที่ทำงานอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นจำนวน 457,700 คน กรุงเทพมหานครได้มีการให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครเหล่านี้ผ่านทางสำนักงานการต่างประเทศ เช่น การเป็นล่ามสำหรับการขอดูกล้อง CCTV การประสานงานเกี่ยวกับปัญหาการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และผ่านทางสำนักงานเขต โดยภารกิจของสำนักงานเขตที่ให้บริการชาวต่างชาติ สามารถสรุปได้หลักๆ ดังนี้ 1. งานทะเบียน: การให้บริการจดทะเบียนสมรสของคนไทยกับชาวต่างชาติ การย้ายเข้าทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ การออกเลขประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (ชาวต่างชาติ) การออกบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (ชาวต่างชาติ) การลงทะเบียนเปิดร้านอาหารของชาวต่างชาติ การเก็บภาษี 2. การให้ความรู้แก่แรงงานต่างด้าวเกี่ยวกับการป้องการโรคและด้านสาธารณะสุข เช่น การป้องกันโรคติดต่อ การคุมกำเนิด การป้องกันโรค HIV และการแจกถุงยาอนามัยเป็นต้น อย่างไรก็ตามยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลการให้บริการต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเหล่านี้เป็นภาษาอังกฤษจึงทำให้ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้ กอปรกับสำนักงานเขตได้ให้ข้อเสนอแนะและมีความต้องการให้สำนักงานการต่างประเทศช่วยจัดทำคู่มือข้อมูลที่สำคัญ ต่าง ๆ เป็นภาษาต่างประเทศ สำนักงานการต่างประเทศเล็งเห็นว่าเพื่อเป็นการพัฒนาการให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็นการตอบสนองความต้องการของสำนักงานเขต สำนักงานการต่างประเทศจึงเห็นควรจัดทำ “คู่มือเพื่อการอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครสำหรับชาวต่างชาติ”เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความจำเป็นแก่การใช้ชีวิตอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นภาษาอังกฤษ 1. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครให้สามารถเข้าถึงข้อมูลการให้บริการของกรุงเทพมหานครได้ดียิ่งขึ้น 2. เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของสำนักงานเขตที่ต้องการให้สำนักงานการต่างประเทศช่วยจัดทำคู่มือข้อมูลที่สำคัญต่าง ๆ เป็นภาษาต่างประเทศ 3. เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความจำเป็นแก่การดำรงชีวิตอยู่ในกรุงเทพมหานครและการให้บริการต่างๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาอังกฤษ 1. ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการใช้ชีวิตในกรุงเทพมหานครซึ่งมีความน่าเชื่อถือและสามารถเข้าถึงง่าย 2. สำนักงานเขตสามารถแนะนำ “คู่มือเพื่อการอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครสำหรับชาวต่างชาติ” ให้แก่ชาวต่างชาติที่มาขอรับบริการที่สำนักงานเขตได้ 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
535 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์-สาธารณสุขทุกแห่ง ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึง สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติเพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวกรวดเร็วทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย แผนบริการราชการกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ โดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขในการใช้งานและให้บริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขทุกแห่ง ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขสำหรับใช้งานและให้บริการของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง กอง สำนักงานและผู้บริหารของสำนักอนามัย ผ่านระบบเครือข่าย และมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขเข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศ รวมทั้งความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติการ การบริหารจัดการ และการให้บริการแก้ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขและส่วนราชการของสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 4,120,800.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 98.00
536 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขของสำนักอนามัยเข้าสู่ Cloud (สพธ.) สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อตอบสนองต่อภารกิจ จำนวน 10 ระบบงาน และปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 - 2555 ได้พัฒนาระบบฯ เพิ่มขึ้นอีก จำนวน 13 ระบบงาน รวมเป็น 23 ระบบงาน ซึ่งได้ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ และระบบงานสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ และคลินิกสัตวแพทย์ รวมทั้ง ห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง สำนักอนามัย ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ถูกติดตั้งไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ของแต่ละศูนย์บริการสาธารณสุข และห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง โดยเชื่อมโยงและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน ผ่านโครงข่าย Virtual Private Network (VPN) แบบเช่าใช้บริการจากผู้ให้บริการเอกชน จำนวน ๑๕๑ วงจร ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) หรือเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มีความก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและใช้งานบริการต่าง ๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้เทคโนโลยี Cloud Computing หรือคลาวด์ (Cloud) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหา เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียร ของระบบ สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชน และยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักอนามัยอีกทางหนึ่งด้วย 1. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียรของระบบ 2. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการสาธารณสุขที่มีอยู่ในระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เข้าสู่ Cloud 3. เพื่อจัดหา Cloud สำหรับรองรับการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS)ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุขหน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง ถูกนำเข้าสู่ Cloud สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการ และให้บริการแก่ประชาชน 6,800,000.00 5,610,000.00 สำนักอนามัย 2018-07-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
537 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินดารโครงการแล้วเสร็จ 22,900,000.00 12,947,370.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
538 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
539 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) (กพล.) ปัจจุบันพื้นที่ชุมชนชานเมืองด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ (ประกอบด้วย เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง เขตคลองสามวา และเขตมีนบุรี) มีการขยายตัวของชุมชนอย่างรวดเร็วและเกิดความเป็นเมืองมากเกินกว่าแผนที่คาดไว้ ขณะที่ระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำปฐมภูมิ โดยเฉพาะคลองระบายน้ำหลัก ยังมีการพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกัน นอกจากนี้เส้นทางคมนาคมหลักที่พัฒนาขึ้นพร้อมกับสภาพเมือง จะมีบางส่วนที่ยังไม่มีท่อระบายน้ำหลักและบางส่วนกีดขวางการไหลของน้ำหลากจากด้านเหนือลงด้านใต้ทำให้เกิดน้ำท่วมขังตามถนนและพื้นที่ลุ่มต่ำเพิ่มมากขึ้น เมื่อเกิดฝนตกหนักถึงหนักมาก (ฝนมากกว่า 90 มม.ต่อวัน) ดังเช่นเหตุการณ์ปี พ.ศ. 2548และบางครั้งเมื่อเกิดอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างก็จะเกิดน้ำเหนือหลากไหลผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริเป็นบริเวณกว้าง ดังเช่นเหตุการณ์อุทกภัยปี พ.ศ. 2554 และเนื่องจากแผนกลยุทธ์การพัฒนากรุงเทพมหานครได้กำหนดให้มีศูนย์ชานเมืองขนาดใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ เช่น ที่เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง รวมทั้งสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ดำเนินการศึกษา เพื่อการวางแผนพัฒนาภาคมหานคร และได้กำหนดให้มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับการขยายตัวของพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดรอบกรุงเทพมหานครอีกด้วย อีกทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริอยู่ติดกับสนามบินสุวรรณภูมิ ศูนย์ขนถ่ายสินค้า และศูนย์อุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม รอบๆ สนามบิน ดังนั้นในอนาคตจึงเป็นที่แน่ใจได้ว่าจะเกิดความเป็นเมืองเพิ่มขึ้นมากกว่าแผนที่คาดไว้ ซึ่งเมื่อเกิดฝนตกหนักมากและอุทกภัยในอนาคตปัญหาน้ำท่วม รวมทั้งความเดือดร้อนของประชาชนและความเสียหายต่อทรัพย์สินก็จะยิ่งทวีคูณ ประกอบกับพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริกรุงเทพมหานครยังไม่เคยดำเนินการศึกษา สำรวจ และจัดทำแผนหลักระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำมาก่อน สำนักการระบายน้ำ ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการสำรวจแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำในพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกหนักมากซึ่งจะทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน สาธารณูปโภคต่างๆ คิดเป็นมูลค่าความเสียหายเพิ่มขึ้นทุกปีจึงได้จัดเตรียมข้อกำหนดนี้ขึ้นเพื่อใช้ดำเนินการสำรวจจัดทำแผนหลักและออกแบบเบื้องต้นระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำปฐมภูมิในพื้นที่ชานเมืองด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ ให้สามารถรองรับฝนตกที่คาบอุบัติไม่น้อยกว่า 5 ปี และให้สามารถระบายน้ำหลากจากพื้นที่กรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริลงสู่แก้มลิงคลองชายทะเลตามแนวพระราชดำริและคลอง 100 ลบ.ม./วินาที ของกรมชลประทานไม่น้อยกว่า190 ลบ.ม./วินาที (ตามที่ กบอ. กำหนด) ได้อย่างปลอดภัย สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะว่าจ้างที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเพื่อทำการสำรวจ จัดทำแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ สำรวจจัดทำแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
540 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล กองโรงงงานช่างกล สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการซ่อมและบำรุงรักษายานพาหนะ เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้จัดการงานซ่อมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 ซึ่งใช้งานมาประมาณ 15 ปี เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ปัจจุบันล้าสมัย ไม่สามารถรองรับการพัฒนาการปฏิบัติงานรูปแบบใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศในภาพรวมใหม่ทั้งหมด เพื่อให้รองรับการใช้งานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพที่สุด และเพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน สามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อให้กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฆลสาย 3 มีระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน เพื่อสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน และสามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของกองโรงงานช่างกล ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานที่กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฑลสาย3) โดยเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) ได้ จำนวน 1 ระบบ 30,249,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
541 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment (ฺBest Service) เพื่ออำนวยความสะดวกในการชำระภาษี เพิ่มช่องทางการชำระเงินให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเลือกชำระเงินได้มากขึ้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีได้รับความสะดวกในการชำระภาษี กรุงเทพมหานครได้รับเงินรายได้ภาษีรวดเร็วขึ้น มีช่องทางการรับชำระภาษีเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมไร้เงินสด ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ทั้ง 3 ภาษี ประกอบด้วย (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
542 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
543 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2562 โครงการฝึกอบรมพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจ สำนักเทศกิจมีนโยบายที่จะพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต และสำนักเทศกิจ ทุกระดับให้มีความรู้ความสามารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้สามารถใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนและพัฒนาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่เทศกิจให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสามารถนำวิทยาการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใช้ในการปฏิบัติงานด้านเอกสารและใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงานและเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วอยู่เสมอ เจ้าหน้าที่เทศกิจจึงจำเป็นต้องศึกษา อบรมความรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานด้านเอกสารและงานอื่น ๆ เป็นอย่างมาก สำนักเทศกิจเห็นว่าควรจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่เทศกิจเพิ่มเติม เนื่องจากเล็งเห็นว่าเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในอนาคตและควรสนับสนุนส่งเสริมให้มีการประยุกต์ให้อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจ 1. เพื่อเป็นการเพิ่มพูนและพัฒนาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่เทศกิจให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่เทศกิจสามารถนำวิทยาการและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านเอกสารและใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน 3. เพื่อเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดำเนินการฝึกอบรมข้าราชการ และบุคลากรกรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักเทศกิจ และฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 390 คน และแบ่งการฝึกอบรมเป็น 3 รุ่น รุ่นละ 130 คน ประกอบด้วย ผู้เข้ารับการฝึกอบรม รุ่นละ 120 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการและวิทยากร รุ่นละ 10 คน 521,200.00 409,000.00 สํานักเทศกิจ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
544 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,856,935.52 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
545 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *เป็นโครง Best Service62* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 16,532,000.00 5,370,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
546 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 24,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
547 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ BMA Traffic ผ่านทาง Website และ Application สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
548 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการบูรณาการข้อมูลเชิงแผนที่ของโครงการด้านการจราจร ผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด ทั้งนี้ สำนักการจราจรและขนส่งมีแนวคิดที่จะใช้อุปกรณ์สมาร์ทโฟน เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน โดยการพัฒนา Mobile Application ที่รวบรวมการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ เช่น รถไฟฟ้า, รถไฟ, เรือ, รถเมล์, รถตู้ และรถมอเตอร์ไซด์ เป็นต้น การรายงานสภาพการจราจร การรายงานพื้นที่สภาพน้ำท่วมขังที่มีผลกระทบกับการจราจร การแสดงสถานที่ที่น่าสนใจ เช่น ร้านอาหารอร่อย สถานที่ท่องเที่ยว การรับแจ้งข่าวสารด้านการจราจร และรับแจ้งเหตุ เป็นต้น ทำให้ประชาชนสามารถสื่อสารและรายงานเหตุการณ์ได้จากทุกสถานที่ทุกเวลา เพื่อประชาชนจะได้เตรียมความพร้อมในเรื่องของการวางแผนการเดินทาง หรือการใช้เส้นทางและพาหนะให้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ในเวลานั้น นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปวางแผนการดำเนินงานได้อย่างทันท่วงที เช่น ประชาชนสามารถหลีกเลี่ยงพื้นที่จราจรที่ติดขัดเนื่องจากอุบัติเหตุ หรือ ภาครัฐสามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ทันเวลา เป็นต้น 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำโปรแกรมประยุกต์สำหรับการบูรณาการข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง โดยจัดทำ Platform กลาง เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก 2. จัดทำโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับบริการประชาชน (Mobile Application) เพื่อสร้างช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว ให้กับประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเหตุการณ์ต่างๆ ในด้านการจราจรและขนส่งร่วมกัน และเพื่อให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการเดินทางที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
549 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 6,250,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-12-22 00:00:00 2019-10-21 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
550 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) เพื่อเก็บข้อมูลตามโครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง มีฐานข้อมูลและรายละเอียดของการนำสายครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง ของ กทม 35,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
551 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 กรุงเทพมหานครได้มีการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวและเปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยมีระยะทางประมาณ 23.5 กิโลเมตร และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทานการก่อสร้างและการเดินรถกับบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ชื่อในปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการขยายการให้บริการในส่วนต่อขยาย โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้ก่อสร้างงานโยธาและว่าจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด เพื่อดำเนินงานบริหารจัดการและบำรุงรักษา ซึ่งทำให้รถไฟฟ้าสายสีเขียวมีระยะทางที่ให้บริการ ประมาณ 36.25 กิโลเมตร เพิ่มพื้นที่การให้บริการของรถไฟฟ้าสายสีเขียวให้ครอบคลุม และสร้างความสะดวกในการเดินทางของประชาชน ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นผู้ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง - สมุทรปราการ และช่วง หมอชิต - สะพานใหม่ – คูคต เพื่อขยายการให้บริการให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การดำเนินงานและบำรุงรักษาของรถไฟฟ้าสายสีเขียวมีประสิทธิภาพในการจัดการและความต่อเนื่องของสายทาง คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) จึงมีมติเมื่อการประชุม ครั้งที่1/2558 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดังนี้ 1) เห็นชอบในหลักการที่ให้ กทม. เป็นผู้เดินรถส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีเขียว 2) มอบหมายให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาดำเนินการดังนี้ (1) เจรจากับ กทม. ในส่วนการบริหารจัดการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง – สมุทรปราการภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 และช่วงหมอชิต – สะพานใหม่ภายในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558 รวมถึงการเจรจาเงื่อนไขด้านการเงินระหว่างกระทรวงคมนาคมกับ กทม. และนำเสนอ คจร. ต่อไป (2) เจรจาร่วมกับกระทรวงการคลัง กทม. และ รฟม. เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับเงื่อนไขทางการเงิน จากการประเมินข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 กทม. มีภาระในการชำระค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงินรวม 44,429 ล้านบาท ให้กับสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) และค่าจัดกรรมสิทธิ์ ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมเงินกู้ของค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงิน 7,356.๓7 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบไฟฟ้า และเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถ (E&M) (โดยไม่รวมค่ารถไฟฟ้า) จำนวนทั้งหมด 22,373 ล้านบาท และดอกเบี้ย อีก 10 ปี ปีละ 1,000 ล้านบาท รวมเป็นภาระหนี้สินทั้งหมดประมาณ 84,158.37 ล้านบาท ซึ่ง กทม. จะทยอยชำระ คืนส่วนของเงินต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2573 จนถึง พ.ศ. 2585 และชำระค่าดอกเบี้ยของค่าก่อสร้างงานโยธา และดอกเบี้ยค่า งานติดตั้งระบบไฟฟ้าและเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถในช่วงตั้งแต่ พ.ศ. 2562 - 2572 ซึ่งจากการคาดการณ์งบประมาณและรายได้ของ กทม. ในระหว่าง พ.ศ. 2562 - 2572ทาง กทม. จะมีสภาพคล่องไม่เพียงพอต่อการชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยดังกล่าว รวมถึงค่าจ้างบริหารจัดการและบำรุงรักษาตามสัญญาว่าจ้าง เนื่องจากรายได้หลักของรถไฟฟ้าสายสีเขียวสายสีลมและสายสุขุมวิท เป็นของเอกชนทั้งหมดตามสัญญาสัมปทาน และรายได้จากรถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยายไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดของโครงการ เนื่องด้วยเหตุผล ดังนี้ • ข้อจำกัดด้านการเงินของ กทม. • แนวทางในการใช้โครงสร้างอัตราค่าโดยสารตารางเดียวเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่ต้องอาศัยเงินอุดหนุนจาก กทม. • พิจารณาแนวทางการบริหารจัดการและการให้บริการของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวทั้ง 3 แนวเส้นทาง ประกอบด้วยเส้นทางหลักตามสัญญาสัมปทานเดิม เส้นทางส่วนต่อขยาย 1 ที่กรุงเทพมหานครจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด บริหารจัดการเดินรถ และเส้นทางส่วนต่อขยาย 2 ที่รัฐบาลมอบให้กรุงเทพมหานครเดินรถ เพื่อให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและการให้บริการ ดังนั้น เพื่อหาแนวทางการดำเนินโครงการฯ ให้ กทม. สามารถหาแหล่งเงินมาดำเนินโครงการฯ และดำเนินโครงการฯ ตามนโยบายของภาครัฐ ทาง กทม. ได้จัดทำรายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ ตามพระราชบัญญัติการให้ เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 (พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว โดยแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 และขณะนี้อยู่ในระหว่างขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจกรรมของรัฐ กทม. จึงมีความจำเป็นในการว่าจ้างที่ปรึกษา โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 เพื่อประกอบการขออนุมัติการให้เอกชนร่วมลงทุน ต่อไป 1. เพื่อให้การคัดเลือกเอกชนตามขั้นตอนของ พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามในขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด” 2. กรุงเทพมหานครจะมีเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้เอกชนร่วมลงทุนอย่างถูกต้อง 3. กรุงเทพมหานครจะมีแนวทางการบริหารดำเนินงานและกำกับสัญญาได้อย่างชัดเจน กรุงเทพมหานครสามารถได้ที่ปรึกษา เพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวตาม พระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุน พ.ศ.2556 ดังต่อไปนี้ 1. ทำประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมลงทุน ขอบเขตของโครงการ และสัญญาร่วมลงทุนรวมถึงการจัดเตรียมข้อมูลและเอกสารอื่นที่จำเป็นสำหรับการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนเพื่อนำเสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ให้ความเห็นชอบ 2. เพื่อประเมินข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน 3. เพื่อให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะต่อกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ในการเจรจาต่อรองกับผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกรวมถึงการประเมินความเสี่ยงและเสนอแนะแนวทางบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ของคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน 4. เพื่อจัดทำรายงานประเมินข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงกรุงเทพมหานครลงนามสัญญาร่วมทุน 25,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 40.00
552 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
553 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาออกแบบระบบสารสนเทศด้านงบประมาณ สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครมีความจำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสบการณ์ในงานการบริหารทรัพยากรองค์กร การเงิน งบประมาณภาครัฐและมีความเข้าใจในภารกิจของกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณและระบบงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการงบประมาณของกรุงเทพมหานครที่สนับสนุนและรองรับการใช้งานตามกระบวนการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการงบประมาณ ปัญหาและโครงสร้างของระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครพร้อมทั้งแนวทางการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศด้านงบประมาณ 2.เพื่อเป็นกรอบการพัฒนาระบบสารสนเทศทางด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครให้มุ่งสู่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ จ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาและออกแบบระบบงานด้านงบประมาณสำหรับเป็นกรอบแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศทางด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร พร้อมร่างขอบข่ายของงาน จำนวน 1 ฉบับ 3,925,000.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
554 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการแก้ไขปัญหาไอที แก้ไขทันที มีรับประกันผลงาน (รักษารอบปี 2562) กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานราชการขนาดใหญ่มีหน่วยงานในสังกัดจำนวนมากถึง 77 หน่วยงาน ทำให้การบริหารราชการของกรุงเทพมหานครด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีปัญหาที่หลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปปัญหาเป็นกลุ่มๆ ได้ดังนี้ กลุ่มฮาร์ดแวร์ กลุ่มซอฟต์แวร์ กลุ่มระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย กลุ่มระบบข้อมูลสารสนเทศ และกลุ่มบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทำให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ไม่สามารถเรียนรู้ให้เท่าทันตามเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ไม่ได้อัพเดทความรู้และข้อมูลใหม่ๆ จึงเป็นสาเหตุทำให้การบริการเป็นไปด้วยความล่าช้า ใช้เวลานาน ทำให้ผู้รับบริการเกิดความเบื่อหน่ายและหงุดหงิดในการขอรับบริการ ส่งผลทำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เกิดความเครียดและกดดันในระหว่างการให้บริการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ในฐานะหน่วยงานกลาง ที่รับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรุงเทพมหานคร จึงมีแนวคิดในการพัฒนา งานบริการให้ดียิ่งขึ้น และลดความตึงเครียดในระหว่างการให้บริการ โดยกำหนดให้มีโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการแก้ไขปัญหาด้านไอที เป็นการปฏิรูปกระบวนทัศน์ การทำงานและการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนองการพัฒนา ตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และการวางรากฐานสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย ตาม แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัด 1. จำนวนมาตรฐานการให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ ไม่น้อยกว่า 1 มาตรฐาน (ผลผลิต) 2. จำนวนระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ระบบ (ผลผลิต) 3. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (ผลลัพธ์) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ของบุคลากรของ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2. บุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงานให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดความสุขในการทำงาน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
555 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2562 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซม และบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (Advance) เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณค่าซ่อมแซมและลดปริมาณเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่ส่งซ่อม และลดกระบวนการปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ของเจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถบริการซ่อมได้สะดวกรวดเร็วขึ้น กองบริการระบบคอมพิวเตอร์ จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (Advanced) เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเสียเวลาในการส่งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์มายังกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ข้าราชการเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 111 คน ประกอบด้วย 3.1 เป้าหมายหลัก จำนวน 90 คน ดังนี้ (1) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับชำนาญการลงมา จำนวน 90 คน 3.2 ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 36 คน ดังนี้ (1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ (จำนวน 3 รุ่น รุ่นละ 6 คน) จำนวน 18 คน (2) วิทยากร (จำนวน 3 รุ่น รุ่นละ 1 คน) จำนวน 3 คน 124,800.00 91,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
556 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2562 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการนำเสนอข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Info Motion) อย่างมืออาชีพ การนำข้อมูลจำนวนมากสื่อออกมาในลักษณะของภาพกราฟิกทำให้เข้าใจได้ง่าย และการนำเสนอในแบบสื่อ Info Motion เป็นการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพเคลื่อนไหว เข้าใจได้ง่ายในเวลาอันรวดเร็ว หากสามารถนำความรู้ต่างๆ มาสื่อสารในรูปแบบ Infographic และสื่อ Info Motion ได้จะช่วยให้ข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเสนอข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Info Motion) อย่างมืออาชีพ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดทำข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Info Motion) อย่างมืออาชีพ ผู้เข้ารับการอบรม ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ จำนวน 80 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 40 คน) 155,500.00 140,250.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
557 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการฝึกอบรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) และสอดคล้องตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์ แต่เนื่องจากข้าราชการของกรุงเทพมหานครบางส่วนยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้อย่างครบถ้วนประกอบกับข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับการแต่งตั้งหรือมีการโยกย้ายไปหน่วยงานอื่น ทำให้ข้าราชการที่รับตำแหน่งทดแทน อาจไม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้การใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และไม่มีความเข้าใจในการใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่างๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้ง สามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบไป - กลับ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ประกอบด้วย 1) หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน 2) หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 203,300.00 176,750.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-17 00:00:00 2019-05-17 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
558 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
7.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่ (e-GP) ด้วยกรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งอยู่ในบังคับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องมีการประกาศเผยแพร่ข้อมูลในระบบเครือข่ายสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ (เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร www.bangkok.go.th) ปัจจุบันเว็บไซต์กรุงเทพมหานคร เป็นเว็บไซต์สำหรับเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ใช้ระบบบริหารจัดการข้อมูล (CMS) ซึ่งเป็นระบบที่พัฒนาขึ้นโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลและบริหารจัดการข้อมูลเป็นเจ้าหน้าที่กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เนื่องจากระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กำหนดต้องดำเนินการประกาศเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของกรุงเทพมหานครในทุกขั้นตอนการปฏิบัติงาน พร้อมกำหนดให้ทุกหน่วยงานต้องดำเนินการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ประกาศและเผยแพร่ในระบบสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) ซึ่งเดิมเผยแพร่ในเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลางและเว็บไซต์ของหน่วยงานเท่านั้น เบื้องต้นกองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ได้แก้ปัญหา โดยจัดทำเมนูการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีของหน่วยงาน เพิ่มเติมผู้ใช้งานระบบในเว็บไซต์กรุงเทพมหานคร หน่วยงานละ 1 รหัส และอนุญาตให้สามารถปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์กรุงเทพมหานคร ในเมนูการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีของหน่วยงานได้ โดยเป็นการเข้าใช้งานเมนูร่วมกันของทุกหน่วยงานไม่สามารถกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลในแต่ละผู้ใช้ได้ ซึ่งอาจมีปัญหาทำให้ผู้ใช้บางรายอาจดำเนินการแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้รายอื่นๆ โดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ได้ และอาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อเว็บไซต์กรุงเทพมหานครโดยรวม ประกอบกับข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานครมีปริมาณค่อนข้างมาก จำเป็นต้องอาศัยระบบการจัดเก็บและการสืบค้นข้อมูลที่เป็นระเบียบแบบแผนและถูกต้องรวดเร็ว จึงควรแยกระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานครออกมาอีกเว็บไซต์ มีระบบบริหารจัดการการเข้าถึงข้อมูล สามารถรองรับผู้ใช้งานระบบจำนวนมาก รองรับขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 สามารถตรวจสอบสถานะขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างของแต่ละโครงการได้ และมีการจัดทำรายงานสถิติการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีของแต่ละหน่วยงาน -เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบเว็บไซต์จัดซื้อจัดจ้างกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ข้อมูลตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร -เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างกรุงเทพมหานคร มีความโปร่งใส สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สร้างความเท่าเทียมกันของผู้ค้า/ผู้รับจ้างทำให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรี -มีระบบเว็บไซต์จัดซื้อจัดจ้างกรุงเทพมหานคร ที่รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของกรุงเทพมหานครในแต่ละปีงบประมาณ สอดคล้องกับระเบียบและขั้นตอนตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 -ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างกรุงเทพมหานคร มีการบริหารจัดการและการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สะดวกต่อการใช้งานและง่ายต่อการสืบค้นข้อมูล ติดตามตรวจสอบเพื่อความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง 7,800,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
559 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและขอบเขตการให้บริการระบบอินเทอร์เน็ตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครสามารถเปิดให้บริการแก่ข้าราชการของกรุงเทพมหานครในด้านการเข้าใช้งาน ในระบบอินเทอร์เน็ตของกรุงเทพมหานครแล้วแต่หน่วยงานจะร้องขอ เนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องของปริมาณ การใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตสำหรับหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร มีความต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก เนื่องจากระบบงานต่าง ๆ ที่หน่วยงานต้องใช้ในการปฏิบัติราชการต้องใช้งานผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น เช่น การรับจดทะเบียนพาณิชย์ การปฏิบัติงาน ตามระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) เป็นต้น ดังนั้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร สามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ จึงจำเป็นต้องจัดหาปรับเปลี่ยนรูปแบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการให้สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย มีความครอบคลุมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย และจัดหาระบบจัดเก็บข้อมูลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ให้สอดคล้องกับการขยายการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตที่เพิ่มมากขึ้นด้วยซึ่งจะทำให้สามารถจัดเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้ใช้แต่ละผู้ใช้เป็นรายบุคคลได้ครบถ้วน ตามกฎหมายต่อไป สำหรับการให้บริการเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) และระบบบริหารจัดการการเข้าถึงข้อมูล (Web Portal) รวมถึงการให้บริการพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ มีระบบจัดเก็บข้อมูลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แต่ยังไม่ครอบคลุมในทุกเหตุการณ์ (Event) อีกทั้งยังไม่มีระบบการวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาตรวจสอบความผิดปกติต่าง ๆ เพื่อใช้สำหรับการป้องกันการบุกรุกในลักษณะต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้งานและวิเคราะห์เหตุการณ์ ในระดับโปรแกรมประยุกต์ 1. สามารถรองรับการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตของหน่วยงานกรุงเทพมหานครได้ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร โดยสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติราชการได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 2. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครทุกคน สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ ค้นคว้า หาความรู้ต่าง ๆ บนระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถรองรับการจัดเก็บข้อมูลการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ตามจำนวนผู้ใช้งานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานครสามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ และสนับสนุนการปฏิบัติงานที่ต้องใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 2. เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครสามารถค้นหาข้อมูลเพื่อพัฒนาความรู้ได้ตามความต้องการ สามารถนำไปเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนได้อย่างกว้างขวาง ทันสมัยต่อเหตุการณ์ได้ดียิ่งขึ้น 3. สามารถเก็บข้อมูลผู้ใช้งานและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานของผู้ใช้ได้ครบถ้วน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 4. สามารถเก็บข้อมูลการใช้งานและวิเคราะห์เหตุการณ์ ระดับโปรแกรมประยุกต์ เพื่อหาความผิดปกติและเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 5. สามารถให้บริการต่อเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครได้ 40,000 คน โดยมีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใช้งานได้ 20,000 เครื่อง 29,500,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
560 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2.1 2562 โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลฝึกอบรม และระบบพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรุงเทพมหานครด้วยการ เรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำระบบสารสนเทศและการสื่อสารสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการฝึกอบรม และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยกำหนดให้บุคลากรกรุงเทพมหานคร เรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านช่องทางสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร หรือผ่านทางระบบ e-learning ซึ่งจะช่วยให้บุคลากรของกรุงเทพมหานครในทุกสังกัด สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากทุกสถานที่ ทุกช่วงเวลา เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สนใจเรียนรู้จำนวนมาก ได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วและไม่จำกัดช่วงเวลา อีกทั้งยังได้ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนตามช่วงเวลาที่กำหนด จะเห็นได้ว่าแนวทางการพัฒนาความรู้ความสามารถดังกล่าว เป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาความเสมอภาค ทางด้านการฝึกอบรม/พัฒนาของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเกิดจากข้อจำกัดทางด้านงบประมาณได้อย่างยั่งยืน จึงช่วยตอบโจทย์ทางด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ กรุงเทพมหานคร และตอบสนองเจตนารมณ์ของผู้บริหารกรุงเทพมหานครที่ต้องการให้บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความสามารถที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความรู้ และทักษะทางด้านดิจิทัลพื้นฐานที่มีความจำเป็นในการปฏิบัติงาน ตามโครงการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับบุคลากรภาครัฐ (Digital Literacy Project) ของสำนักงาน ก.พ.ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งตามแนวทางการปฏิรูประบบบริการภาครัฐ เพื่อเตรียมพร้อมการปรับเปลี่ยนสู่รัฐบาลดิจิทัล (Digital Government) อย่างเต็มตัว เพื่อนำประเทศไปสู่ความ “มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน” บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ 1. เพื่อพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้บริหารจัดการข้อมูลการฝึกอบรม และระบบพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรุงเทพมหานคร ที่หน่วยงานในสังกัด กรุงเทพมหานครทุกแห่งสามารถเข้าใช้งานได้รวมกัน 2. เพื่อสร้างชุดเครื่องมือสำหรับให้บุคลากรของกรุงเทพมหานครทุกคนได้มีโอกาสประเมินผลด้วยตนเอง (self-Assessment) เพื่อหาข้อบกพร่อง นำไปปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงาน 3. เพื่อให้บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความพร้อมก่อนเข้าร่วมทดสอบกับโครงการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับบุคลากรภาครัฐ (Digital Literacy Project) 4. เพื่อวางกรอบแนวทางการพัฒนาความรู้ ความสามารถให้กับบุคลากรของกรุงเทพมหานครทุกตำแหน่ง ได้มีโอกาสศึกษาและพัฒนาความรู้ ตามสายอาชีพ (Training Road Map : TRM) ตลอดจนพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้ติดตามและประเมินผลการพัฒนาความรู้ ความสามารถเป็นรายบุคคล พัฒนาระบบบริหารข้อมูลการฝึกอบรมและระบบสารสนเทศการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการใช้งานบุคลากร ของกรุงเทพมหานครในทุกสังกัดได้มีโอกาสได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากทุกสถานที่ ทุกช่วงเวลาผ่านช่องทางสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ของกรุงเทพมหานคร รวมถึงสร้างระบบที่เหมาะสม สำหรับพัฒนากำลังคนของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะและความสามารถนำเครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลตามโครงการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับบุคลากรภาครัฐ (Digital Literacy Project) พร้อมสร้างเครื่องมือสำหรับใช้ติดตามและรับทราบผลการประเมินการพัฒนาความรู้ ความสามารถในลักษณะเป็นรายบุคคล เพื่อประโยชน์ในการวางพัฒนาความรู้เฉพาะบุคคล (Individual Development Plan : IDP) ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการศึกษา ตามเส้นทางการพัฒนาตามสายอาชีพ 29,800,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
561 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานราชการทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับการคำขออนุญาต/บริการจัดตั้งธุรกิจ (Doing Business Platform)รวมถึงกรุงเทพมหานครต้องพัฒนาระบบฯ สำหรับรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Open Data) กับทางศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานภาครัฐระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อกับทางราชการ ในฐานะเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาออกใบอนุญาต/บริการ โดยรับหน้าที่เป็นหน่วยงานรับข้อมูลจากประชาชนที่ติดต่อมาขอรับใบอนุญาต/บริการ ตลอดจนรับ - ส่งส่งต่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบเชื่อมโยง เพื่อส่งต่อข้อมูลของประชาชนให้กับหน่วยงานในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศกลาง สำหรับเป็นศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพหานคร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติฯ ที่กำหนด รวมถึงประชาชนสามารถติดตาม (Monitoring / Tracking) การออกใบอนุญาต/บริการ พร้อมระบบแจ้งเตือน (Alert) เพื่อรายงานสถานะการดำเนินการ และผลการพิจารณาการออกใบอนุญาต/บริการ ให้ประชาชนได้รับทราบ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขตและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้แบบเบ็ดเสร็จ 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามสถานะการดำเนินการ และรับทราบผลการพิจารณาใบอนุญาต/บริการ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบออนไลน์ 1. กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต รวมถึงมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับ-ส่งข้อมูลของประชาชนที่มาติดต่อกับทางราชการ ตลอดจนหลักฐานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับศูนย์รับคำขออนุญาตของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการติดต่อกับทางราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร 2. ประชาชนสามาถติดตามสถานะการดำเนินการการขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โดยดำเนินการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ของกรุงเทพมหานคร 83,237,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
562 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ ในกรุงเทพมหานครมีหลากหลายด้าน หลากหลายมุมมองได้ก่อตัวและขยายวงกว้างมากขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารจัดการเมือง รวมไปถึงการกระทำ หรือการแสดงความคิดเห็น ตลอดถึงการรายงานสถานการณ์ต่างๆ การขอความช่วยเหลือ และการร้องเรียนในเรื่องต่างๆ ทั้งที่เป็นเรื่อง ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่จากทั้งระบบฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครและข้อมูลจากเครือข่ายทางสังคม (Social Network) เพื่อความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคมและประชาชน รวมทั้งส่วนที่เพิ่มเติมในระบบคลังข้อมูลกลางกรุงเทพมหานคร ด้านวัฒนธรรม ด้านคุณภาพชีวิต และด้านสวัสดิการสังคม เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ยังไม่มีอยู่แต่จำเป็นต่อการสนับสนุนคลังข้อมูลกลาง และเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่หลักเพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาล และการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพฯ เพื่อทำให้เมืองกรุงเทพฯ ก้าวสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) หมายถึง การเก็บข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องในการเก็บข้อมูลที่มีขนาด (Volume) ความหลากหลาย (Variety) และความเร็ว (Velocity) ของข้อมูลที่สูงมาก และสิ่งสำคัญคือคุณค่าของข้อมูล (Value) ที่เป็นแบบที่มีโครงสร้าง (Structure) และไม่มีโครงสร้าง (Unstructure) ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ โดยการวาง Schema ให้เหมาะสมและตรงตามโจทย์ที่ต้องการได้รับคำตอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพของกรุงเทพมหานครให้พัฒนาไปสู่องค์กรสมัยใหม่ที่มีการบริหารงาน ด้วยข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ มีความหลากหลายครอบคลุมรอบด้าน สามารถนำมาใช้ในการวางแผนและบริหารงานในเชิงรุกได้ 1. เพื่อค้นหาข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และนำมาวิเคราะห์ พยากรณ์ และคาดการณ์เหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจาก Social Network เพื่อใช้ในการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำคลังข้อมูลสำหรับบูรณาการข้อมูลจากสังคมออนไลน์ โดยเน้นผู้รับบริการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำไปใช้เป็นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ช่วยในการวางแผนและบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ 1. เพื่อรวบรวม และวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สามารถวิเคราะห์ พยากรณ์ และคาดการณ์เรื่องต่าง ๆ ในอดีตและปัจจุบัน และครอบคลุมการดำเนินงานตามภารกิจของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมจากเครือข่ายสังคม 87,200,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
563 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ เป็นการจัดทำระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ หรือติดตั้งเครื่องมือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานสากล เพื่อให้ผู้บริหารตลอดจนผู้ปฏิบัติงานสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านเทคนิค ซึ่งจะส่งเสริมให้หน่วยงานสามารถดูแลรักษาระบบสารสนเทศให้มีความพร้อมใช้ (availability) และความน่าเชื่อถือได้ (reliability) โดยระบบ IT Infrastructure Monitoring จะทำการรวบรวมข้อมูลสถานะการทำงานเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ ของระบบทั้งหมด ตรวจสอบการโจมตีที่เกิดขึ้นในเครือข่าย ทำการแสดงผลและ แจ้งเตือน รวมถึงสร้างรายงานได้ โดยระบบที่ IT Infrastructure Monitoring สามารถตรวจสอบการทำงานและการเรียกใช้งาน เช่น Application DatabaseStorage สามารถแยกแยะได้ระหว่างอุปกรณ์ Network, Firewall, Printer, PC, Notebook, Mobile Phone, Tablet, USB Device หรือ IP รวมถึง Service, Process และ Software ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงการยืนยันตัวตนของผู้ใช้งาน จัดหาระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อช่วยในการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่มีอยู่กระจัดกระจายและมีปริมาณมาก 1. เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหางานด้านระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และบริหารจัดการระบบสารสนเทศให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สามารถรองรับภารกิจของกรุงเทพมหานคร ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และสอดคล้องตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 17,000,000.00 3,390,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
564 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2.1 2562 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะด้านดิจิทัล (Digital Skill) การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล มุ่งเน้นให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐปรับกระบวนทัศน์และมีความสามารถในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสร้างสรรค์นวัตกรรมการทำงานและการให้บริการภาครัฐที่สร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน อันจะนำไปสู่การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ความโปร่งใสและธรรมาภิบาลในภาพรวม 1. เพื่อให้ภาครัฐมีกำลังคนที่มีทักษะด้านดิจิทัลที่เหมาะสม ที่จะเป็นกลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ ในการ ปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล ทั้งนี้ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล 2. บุคลากรและผู้บริหารของกรุงเทพมหานครสามารถปรับตัวให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี มีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในบริบทของการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล และสามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้กับบุคลากรและผู้บริหารของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะด้านดิจิทัล (Digital Skill) ที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงานและในการพัฒนางานภาครัฐ และสนับสนุน “การปรับเปลี่ยนภาครัฐให้เป็นรัฐบาลดิจิทัล” 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
565 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง สำหรับการบริหารจัดการและการบริการ ณ ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละระบบทำงานบนเครื่องแม่ข่ายของตนเองทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง จากการที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายมีจำนวนมาก มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงและต้องเปิดระบบปรับอากาศอย่างเพียงพอต่อการควบคุมอุณหภูมิห้องให้เหมาะสม ประกอบกับเครื่องแม่ข่ายที่ใช้งานอยู่เดิม มีอายุนานหลายปี มีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน มีความเสี่ยงสูงต่อการชำรุดเสียหาย อีกทั้งไม่สามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรของเครื่องให้เต็มขีดสมรรถนะและยืดหยุ่นเหมาะสมกับสภาวะการใช้งานจริงของแต่ละระบบงานในแต่ละช่วงขณะดังที่ต้องการได้เช่นเดียวกับเทคโนโลยีเครื่องแม่ข่ายในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง ทำการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ข่ายให้ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน ด้วยเทคโนโลยี Virtualization เพื่อรองรับการนำระบบสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครติดตั้งระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน โดยมีการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน ช่วยลดขนาดพื้นที่ในการติดตั้ง จัดการ การใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาลดลง ประหยัดพลังงานไฟฟ้าทั้งนี้ยังทำให้การบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลดความซับซ้อนในการจัดการ รวมไปถึง สามารถดูข้อมูลเครื่องแม่ข่ายทั้งหมดได้สะดวกและง่ายขึ้นในหน้าจอเดียวกัน ตอบสนองต่อภารกิจพิเศษที่ต้องการ ใช้งานทรัพยากรของระบบเครื่องแม่ข่ายได้ในเวลารวดเร็ว พร้อมทั้งรองรับปัญหาการขาดแคลนเครื่องแม่ข่ายที่นำมาทดแทนเครื่องที่มีอายุการใช้งานนาน มีการเสื่อมสภาพ มีสมรรถนะต่ำไม่สามารถรองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นได้ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาเครื่องแม่ข่ายเสมือน เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งเพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐเพื่อผลักดันสู่ไทยแลนด์ 4.0 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเครื่องแม่ข่ายเสมือนที่มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการทำงานของระบบสารสนเทศได้หลากหลายระบบ 2.เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรเครื่องแม่ข่ายเสมือนให้เป็นแบบรวมศูนย์และให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 3.เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการการใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดการใช้พลังงาน 4.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องแม่ข่ายในอนาคต รวมถึง License ของ Software อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถรองรับการเติบโตในอนาคต จัดหาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมให้กับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในภาพรวม 89,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
566 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 จัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์สำหรับศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการจัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล พร้อมทั้งระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์ และโครงข่ายของศูนย์ข้อมูลขึ้น โดยในการจัดหาซอฟต์แวร์ที่ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการระบบสารสนเทศของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานสำหรับศูนย์ข้อมูล (Data Center) ครอบคลุมทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ (Infrastructure as a Service : IaaS) และซอฟต์แวร์ Platform as a Service (PaaS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมีซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.จัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่จำเป็นต้องใช้ในระบบการบริหารจัดการและการให้บริการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร 2.จัดหาซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับศูนย์ข้อมูล 3.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล 4.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์และเครือข่ายของศูนย์ข้อมูล 5.จัดหาซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารจัดการคอมพิวเตอร์แบบศูนย์กลาง 84,401,900.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
567 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 ปรับปรุงและทดแทนระบบการแจกและควบคุมหมายเลข IP Address กรุงเทพมหานครได้นำระบบการจัดการหมายเลข IP Address (IPAM) ใช้มาตั้งแต่ปี 2554 ในการให้บริการแจกหมายเลข IP Address แบบอัตโนมัติแก่หน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อลดระยะเวลาในการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย และช่วยบริหารจัดการหมายเลข IP Address ของแต่ละหน่วยงานให้มีความถูกต้องเป็นมาตรฐาน สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว โดยมีอุปกรณ์ให้บริการแจกหมายเลข IP Address ใช้งานอยู่เดิมจำนวน 58 เครื่อง ซึ่งติดตั้งเพื่อให้บริการแจกหมายเลข IP Address ที่สำนักและสำนักงานเขต ปัจจุบันอุปกรณ์ดังกล่าวเริ่มมีการชำรุดเสี่ยงต่อการไม่มีอะไหล่ในการที่จะซ่อมแซมหรือเปลี่ยนทดแทน เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตได้ยกเลิกสายการผลิตไปแล้ว ดังนั้นเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากความล่าช้าในการให้บริการการเชื่อมต่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและอุปกรณ์ต่อพ่วง จึงจำเป็นต้องจัดหาระบบการแจกและควบคุมหมายเลข IP Address มาทดแทนของเดิมที่เสื่อมสภาพและชำรุดต่อไป 1.เพื่อให้ระบบสามารถแจก IP Address ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้งานได้โดยอัตโนมัติและสามารถบริหารจัดการระบบเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างรวดเร็วและมีความพึงพอใจในการรับบริการ 2.เพื่อบริหารจัดการและเพิ่มความปลอดภัยให้กับระบบ DNS โดยมีกระบวนการในการตรวจสอบ (Validation) และพิสูจน์ตัวตน (Authentication) ของ DNS Server และความถูกต้องของข้อมูลจาก DNS เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและรองรับการแจกหมายเลข IP Address ได้รวดเร็วและครอบคลุมทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของกรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 20,000 อุปกรณ์ 20,137,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
568 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 ระบบควบคุมงานจากส่วนกลาง สามารถนำมาใช้ตรวจสอบ ควบคุม ผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาให้ดำเนินการให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามสัญญาการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) โดยการแจ้ง Incident ต่างๆ ที่มีปัญหาไปให้กับผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบ Manual ระบบจะบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นในรูปแบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้สรุปปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปของรายงาน หน่วยงานปลายทางสามารถ แจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นผ่านระบบควบคุมงานจากส่วนกลางได้ และสามารถจัดเก็บแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบฐานข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขในอนาคตได้ (Knowledge Management) เมื่อระบบนี้ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครสามารถนำไปใช้เพื่อตรวจสอบ และควบคุม ผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาให้ดำเนินการให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามสัญญาการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA)ได้ทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีเครื่องมือที่สามารถแจ้งเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ Incident ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและส่งปัญหาไปให้กับผู้รับจ้างที่รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงระบบได้โดยอัตโนมัติ เร่งรัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้เป็นปกติได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งลดเวลาในการเกิด Downtime ของการให้บริการประชาชนของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร จัดหาและติดตั้งระบบติดตามผลแบบ Real Time ได้ตลอด 24 ชั่วโมง และประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคตเพื่อป้องกันเหตุในเชิงบูรณาการ 16,987,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
569 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต คิดเป็นร้อยละ 80 (ตามเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562) 0.00 4,015,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
570 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมกำหนดรูปแบบและจัดทำข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government Data) ของกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ ) ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูลสารสนเทศด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับกรุงเทพมหานครต่อสาธารณชน เช่น ผลการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)ผังเมืองรวม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร เศรษฐกิจ สังคม จำนวนประชากรตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับเขตปกครองทั้ง 50 เขต รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลพื้นฐานระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ผ่านเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และอุปกรณ์สมาร์ทโฟน ทั้งนี้ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมาโดยตลอด โดยในขั้นต้นได้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครที่ให้บริการตามเว็บไซต์ของหน่วยงาน ทั้งในรูปแบบรายงานและสารสนเทศต่างๆ ในระยะหลังที่ภาครัฐให้ความสนใจกับการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ และเผยแพร่ในรูปแบบข้อมูลเปิดภาครัฐ ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครจึงได้รวบรวมข้อมูลและจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลเปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อทำให้ผู้ใช้บริการข้อมูล ทั้งภาคประชาชนภาคธุรกิจเอกชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. ๒๕61 – ๒๕65) มิติที่ 7.5 เป้าหมายที่ 7.5.1.1 มีกรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วย ความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) เป้าประสงค์ที่ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชนและ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือภาคเอกชน และ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 7 : สร้างกลไกการบริหารการขับเคลื่อนอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล (DIGITAL ENTREPRENEUR)เป้าประสงค์ที่ 1 : กรุงเทพมหานครมีการบริหารงานอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE)กลยุทธ์ที่ 1 : การบูรณาการการใช้ข้อมูล และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเพื่อความโปร่งใส พร้อมให้ประชาชนผู้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและยกระดับการพัฒนาของการบริการภาครัฐ (E-Government) อย่างต่อเนื่องและปลอดภัย ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ คือมีการเปิดเผย เผยแพร่และแบ่งปัน (Open Public and Sharing) ข้อมูลเพื่อการบริการ และการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานครที่โปร่งใส ทันสมัย และ รวดเร็ว เป็นการรองรับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ 2.1 เพื่อกำหนดมาตรฐานข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานครให้เป็นแนวทางในการจัดทำข้อมูลของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร 2.2 มีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลเปิดภาครัฐตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อให้บริการข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานครแก่ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ 3.1 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานในการจัดทำข้อมูลเปิดภาครัฐ 3.2 บูรณาการข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้สามารถเป็นการให้บริการข้อมูลเปิดภาครัฐอย่างเป็นระบบ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
571 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2.1 2562 สัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้พัฒนาบุคลากรผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขตอย่างต่อเนื่องตลอดมา เพื่อเป็นการพัฒนาผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงให้สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารงานของหน่วยงานได้อย่างชาญฉลาดและสร้างสรรค์ และสามารถวางแผนยุทธศาสตร์การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนาภารกิจของหน่วยงาน สามารถสร้างแนวคิดเพื่อบูรณาการและสร้างคุณค่าจากข้อมูลของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และสามารถสร้างเครือข่ายผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ การดำเนินงาน และติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึงแนวคิดในการบริหารจัดการสารสนเทศเพื่อพัฒนาหน่วยงานให้ทันสมัย สามารถสร้างสรรค์การบริการให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรองรับการปฏิบัติงานของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง พิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของการดำเนินการของหน่วยงานข้างต้น จำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมความรู้และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการสัมมนาและศึกษาดูงานหน่วยงานอื่นๆ ในต่างประเทศ เพื่อให้เกิดการศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานและการบริการประชาชน เพื่อให้เกิดแนวคิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและของกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 2.1 เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขตตระหนักถึงความสำคัญและมีทัศนคติที่ดีในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารงานของหน่วยงานและของกรุงเทพมหานคร 2.2 เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต มีความรู้ ความสามารถในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและบูรณาการข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง เพื่อให้การบริหารจัดการการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครเป็นไปตามทิศทางการพัฒนาที่กำหนดไว้ร่วมกัน ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนัก และสำนักงานเขต ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หัวหน้าส่วนราชการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล และข้าราชการที่ได้รับมอบหมาย จำนวน 28 คน เข้ารับการสัมมนา เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล แบบไป - กลับ จำนวน 4 วัน 129,600.00 79,200.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
572 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
5.1.1 2562 โครงการศึกษาและวิเคราะห์สถาปัตยกรรมองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกระบวนการทำงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 1 สถานการณ์การดำเนินการของหน่วยงานในปัจจุบันมีการปฏิบัติงานหลายขั้นตอนใช้กระดาษเป็นจำนวนมากโปรแกรมการปฏิบัติงานไม่ครอบคลุมถึงกระบวนการตามภารกิจที่สำคัญ ข้อมูลมีการจัดเก็บซ้ำซ้อนและขาดผู้รับผิดชอบสำหรับข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันและแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) เสนอแนวทางเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างแผนแม่บทฯ และภารกิจขององค์กรในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า อาทิ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการบริหารทรัพยากรบุคลากรเป็นต้น เพื่อให้รองรับกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ การขับเคลื่อนของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัญหาส่วนใหญ่คือ การขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) กับพันธกิจองค์กร (Business) ซึ่งเป็นผลก่อให้เกิดความล้มเหลวของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรอาทิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดซื้อด้วยราคาแพงแต่ใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับกระบวนการทางพันธกิจ (Business Process) ไม่ตอบโจทย์ วิสัยทัศน์ทางธุรกิจ (Business Vision)ขององค์กร รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีความซับซ้อนเกินความจำเป็น สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) เป็นแนวความคิดใหม่ที่บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับพันธกิจขององค์กรอย่างเป็นระบบตั้งแต่การกำหนดโจทย์การบริการการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) เพื่อออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมโยงกับการดำเนินงานได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ Architecture ไปจนถึง Roadmapขององค์กร เพื่อผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ขององค์กรที่กำหนดไว้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีผลต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อมุ่งเน้นไปสู่การเป็นองค์กรที่ใช้ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในการทำงาน (Data Driven Organization) และลดการใช้กระดาษให้มากที่สุด 3. เพื่อกำหนดกระบวนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ Single Source โดยมีการกำหนด Data Operation และ Data Governance ที่เหมาะสม 5. เพื่อเป็นแนวทางกำหนดกรอบการพัฒนาแอปพลิเคชันที่เน้นการเชื่อมโยงระบบผ่านAPIเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการเปิดข้อมูลให้กับ Stakeholder ผ่าน Public API 1.รายงานสรุปผลการศึกษา เพื่อคัดเลือกกรอบแนวทางที่เหมาะสมใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของกรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมองค์กร ที่เหมาะสม และจัดทำรายละเอียดข้อมูลสถาปัตยกรรมองค์กรในแต่ละด้านที่สอดคล้องตามกระบวนการโดยระบุถึงข้อมูลหลักของกระบวนการแหล่งที่มาของข้อมูลและผู้ใช้งานข้อมูล 2. การบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับกระบวนงานตามภารกิจอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กรที่พร้อมสู่การเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคงไปสู่การปฏิบัติ 3. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจอย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติ 11,430,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
573 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 6 แผนภาพต่อปี 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
574 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจะต้องเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลฯ ก่อนนำโครงการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการพิจารณาเรื่อง/โครงการให้เป็นไปตามมาตรการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดหาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด เพื่อพิจารณารื่อง/โครงการให้เป็นไปตามมาตรการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดหาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด ร้อยละ 90 ของจำนวนเรื่อง/โครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
575 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2562 โครงการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี (COM – 03) คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๗ อนุมัติหลักการแผนและมาตรการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานขั้นต่ำ และกำหนดให้ข้าราชการที่จะเลื่อนจากระดับ ๕ เป็นระดับ ๖ ต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์ สามารถทำแผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ก.พ. ได้มีมติให้เพิ่มเติมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนระดับ ๖ ทุกสายงาน มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ซึ่งมีผลปฏิบัติมาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ถือปฏิบัติและดำเนินการฝึกอบรมข้าราชการตามมติดังกล่าวมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อนุกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้มีประกาศ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญของทุกหน่วยงานเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จึงเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายจากข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ๖ และ ระดับ ๖ ว – ๗ ว/วช. เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และเพื่อให้การปฏิบัติสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีและมติ ก.พ. ดังกล่าว เห็นควรกำหนดให้มีการจัดฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญให้มีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานและวิธีการใช้งานในขั้นพื้นฐาน สามารถปฏิบัติงานด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการจัดการงานพิมพ์เอกสาร การจัดทำแผ่นตารางทำการ และการนำเสนอผลงาน ตลอดจนได้รับการฝึกอบรมตามมติคณะรัฐมนตรีและหลักเกณฑ์มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเพิ่มเติมตามที่ ก.พ. กำหนด ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ทุกสายงาน 117,500.00 90,427.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
576 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร คือ ข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงาน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาคเศรษฐกิจที่ปรากฎตามแผนของกรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการท่องเที่ยว 2. ด้านการเกษตร 3. ด้านผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) และผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 4. ด้านอาชีพและแรงงาน 5. ด้านการคลังและงบประมาณ เพื่อรวบรวมและพัฒนาฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุ่ม ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน มีข้อมูลอย่างน้อย 2 ด้าน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
577 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการทบทวนและจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจของกรุงเทพมหานคร สนับสนุนการพัฒนาตามเป้าหมายของการพัฒนาระดับประเทศ เพื่อใช้ใน การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาที่เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับประเทศ และเป็นไปตามแนวโน้มการพัฒนาของโลก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองจัดเป็นข้อมูลฐานที่มีความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายของฝ่ายบริหาร การกำหนดแผนงานโครงการซึ่งทำให้กรุงเทพมหานครเกิดการพัฒนาอย่างมีทิศทาง เป้าหมาย และสามารถแสดงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการพัฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น ข้อมูลตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการพัฒนาเมือง จึงควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาอย่างเป็นระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เป็นเครื่องมือในการดำเนินการดังกล่าว สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นระบบ มีมาตรฐานและเป็นปัจจุบัน สามารถนำไปใช้ในกระบวนการวางแผน การติดตามประเมินผลตลอดจนการกำหนดนโยบายของฝ่ายบริหาร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นระบบสอดคล้องกับสถานการณ์ ซึ่งจะนำไปสู่การดำเนินงาน การติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผลแผนพัฒนาฯ ให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองให้เป็นระบบ มีความเป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการใช้งานทั้งในด้านของการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่สามารถเชื่อมโยงกับกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร การรายงาน การพัฒนาในทุกระดับ และการติดตามประเมินผล 3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองสำหรับใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ กำหนดนโยบาย สั่งการให้ดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในภารกิจต่าง ๆ ของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง 1 ระบบ สำหรับใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และใช้ประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผลการพัฒนากรุงเทพมหานครในทุกระดับ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
578 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ก่อนเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการของหน่วยงานจำนวนมาก ประกอบกับฝ่ายเลขานุการฯ ซึ่งมีหน้าที่จัดเตรียมและวิเคราะห์ข้อมูลโครงการของหน่วยงานก่อนเสนอเข้าสู่การพิจารณาในคณะกรรมการฯ จะต้องวิเคราะห์โครงการจำนวนมากเสนอต่อคณะกรรมการฯ เพื่อให้ทันต่อการเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ หน่วยงานต้องเสนอขอรับการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลจากคณะกรรมการฯ หลายครั้ง และใช้เวลาในการพิจารณานาน เนื่องจากขาดความเข้าใจในการนำเสนอโครงการต่อคณะกรรมการฯ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เล็งเห็นถึงปัญหาในการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ จนถึงขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ จึงขอเสนอโครงการการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการให้บริการกับหน่วยงานในการให้คำปรึกษาและจัดส่งโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการบริหารจัดการข้อมูลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในภาพรวมของฝ่ายเลขานุการฯ ในการจัดเตรียมรายละเอียดโครงการให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งผลให้คณะกรรมการฯ ได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถนำไปบูรณาการภาพรวมในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.เพื่อเพิ่มช่องทางการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ในการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่หน่วยงาน 3.เพื่อติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นำไปสู่การประเมินผลตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร 1.พัฒนาระบบมาตรฐาน กระบวนการ และปรับขั้นตอนการนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาโครงการที่มุ่งสู่การลดระยะเวลาการดำเนินการให้ทันต่อการขอรับงบประมาณ ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 3.พัฒนาคู่มือการเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลต่อคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 4.จัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
579 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร โดยใช้กรอบแนวคิด 7’s Mckinsey Framework เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และ PESTEL Analysis ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ทั้งนี้ จากผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในของสำนัก-ยุทธศาสตร์และประเมินผล พบว่า มีประเด็นที่เป็นจุดอ่อนสำคัญและต้องแก้ไขปรับปรุง ๓ ประเด็น ได้แก่ ด้านบุคลากร (Staff) ขาดความรู้ความเข้าใจ และการบูรณาการองค์ความรู้ด้านแผนให้เป็นไป ในแนวทางเดียวกัน รวมถึงความต่อเนื่องขององค์ความรู้กรณีที่บุคลากรมีการโยกย้าย ลาออกหรือเกษียณอายุราชการ ด้านระบบในการดำเนินการ (System) การประสานงานระหว่างส่วนราชการยังขาดความชัดเจน ขาดการสื่อสารทำความเข้าใจ ขาดมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานบ่อยครั้ง ด้านโครงสร้างองค์กร (Structure) ขาดความยืดหยุ่นและปรับตัวขององค์กรในการรองรับภารกิจใหม่ๆ ส่งผลให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน การกำหนดภารกิจระหว่างส่วนราชการมีความเหลื่อมซ้อนกัน ส่งผลกระทบต่อการประสานงาน เกิดความล่าช้าและไม่สนับสนุนการบูรณาการการทำงาน จุดอ่อนขององค์กรที่พบจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน มีผลต่อการดำเนินงานของสำนัก-ยุทธศาสตร์และประเมินผล ซึ่งเป็นหน่วยต้นทางของการบริหารจัดการแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร การที่บุคลากรมีความเข้าใจต่อภารกิจที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะความเข้าใจต่อความรู้และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ย่อมส่งผลต่อมาตรฐานของงาน ความน่าเชื่อถือขององค์กร และประสิทธิภาพการบริหารราชการในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากสภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านของโอกาสที่พบว่า ประชาชน ภาคประชาสังคมมีการตื่นตัวต่อกระบวนการในการติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐอย่างมาก และเมื่อผนวกกับความรวดเร็วของระบบการสื่อสารในยุคปัจจุบันแล้ว การจัดการกับปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นจุดอ่อนในการบริหารงานของสำนักยุทธศาสตร์- และประเมินผลจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น เพี่อเป็นการแก้ไขจุดอ่อนและลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาดังกล่าว กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อให้บุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านแผน และงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเข้าใจต่อเป้าหมายและทิศทางการดำเนินงานขององค์กร มีการทำงานที่เกื้อหนุนเชื่อมโยงกัน ซึ่งจะนำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ เป็นผู้นำหรือที่ปรึกษาด้านแผนของกรุงเทพมหานครโดยมีระบบสารสนเทศเป็นแกนประสานทั้งภายในสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล และหน่วยงานภายนอก ๒.1 เพื่อพัฒนารูปแบบและแนวทางในการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2.2 เพื่อพัฒนาคู่มือในการบริหารจัดการแผนของกรุงเทพมหานครสำหรับบุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒.๓ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานด้านแผนและเทคโนโยโลยีของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3.1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนและผู้ที่เกี่ยวข้องในภารกิจการบริหารจัดการแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีรูปแบบและแนวทางในการทำงานที่เกื้อกูล ประสาน เชื่อมโยงกัน ๓.2 สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีคู่มือในการบริหารจัดการแผนที่เป็นมาตรฐานสำหรับกรุงเทพมหานคร เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการแผน ๓.3 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถจัดทำแผนได้ถูกต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
580 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการ และการดำเนินการติดตามความคืบหน้าของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนผู้รับบริการได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานครซึ่งปรากฏในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS)โดยให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถจัดการกับเรื่องร้องเรียนได้ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
581 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ภารกิจการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สำหรับการบริหารจัดการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการของศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงมีความรวดเร็วและถูกต้องมากขั้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้การให้บริการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์ในการดำเนินการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงต่อไปได้ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
582 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภารกิจการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1. เพื่อพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) สำหรับการบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้การทำงานระหว่างสำนักพัฒนาสังคมและสำนักงานเขตมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนในภาพรวมต่อไปได้ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
583 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 การบันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล (ทะเบียนร่วมชื่อใช้ชื่อสกุล)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2506-2546 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2506-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นฝ่ายทะเบียนได้มีการ ตั้งแต่ปี 2506-2546 จำนวน18,256 ราย ฉะนั้นฝ่ายทะเบียนจึงแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2522-2514 จำนวน 5,976 ราย ช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2513-2506 จำนวน 6,497 ราย 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อสามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที 3. เพื่ออำนวยความสะดวก และความรวดเร็วให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 4. เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเก็บช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
584 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2562 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2559-61 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน จำนวน 2 โครงการ 1.โครงการฯ ของปี 2561 จำนวน 1 โครงการ 2.โครงการใหม่ ของปี 2562 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
585 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (ตามที่ สลป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
586 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ นโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร มุ่งเน้นการบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่าง ๆ 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ดำเนินการตามเป้าหมายตามที่กองงานผู้ตรวจราชการ กรุงเทพมหานครกำหนด (ประเมินความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
587 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 (งานประจำ)กิจกรรมปรับปรุงระบบสารสนเทศและเว็บไซด์เพื่อให้บริการประชาชน สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตาม สืบค้นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อยจำนวน 12 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
588 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
589 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
590 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
591 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ (มิติที่ 3 (3.3)) กรุงเทพมหานครมีการให้บริการประชาชนเป็นหลัก การดำเนินการต่างๆจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะเป็นการอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อความพึงพอใจของประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์สูงสุด 1. เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อตอบสนองความต้องการและอำนวยความสะดวกของปนะชาชน ดำเนินการประเมินความพึงพอใจประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ใน ระดับ 5 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
592 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมบริหารความเสี่ยงเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (มิติที่ 4 (4.1)) มติคณะรัฐมนนตรีเห็นชอบให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชิบได้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต กรุงเทมหานครจึงกำหนดเป็นแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร และให้ทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครนำแผนดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดระบบการทำงานที่ดี สามารถป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นที่อาจจะเดิอขึ้นภายในหน่วยงาน 1. เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีการสร้างราชการใสสะอาดฯ ปีงบประมาณ 2559 ที่เหมาะสมสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์การสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่สามารถดำเนินการตามตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์การสร้างราชการใสสะอาดปีงบประมาณ 2559 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตามแผนการสร้างราชการใสสะอาด 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีค่านิยม ในการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื้อสัตย์สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานครบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
593 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
594 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (มิติที่ 3 (3.1)) กรุงเทพมหานครดำเนินการเป็นหน่วยงานปกครองรูปแบบพิเศษและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงจึงมีประชากรเป็นจำนวนมาก ทั้งประการหลักและประชากรแฝง ทำให้โอกาศที่จะเกิดปัญหาต่างๆตามมาอย่างมากมาย หน่วยงานของกรุงเทพมหานครเองจึงมีการกำหนดแนวทางให้ทำหน้าที่ดูแลและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น จากเรื่องต่างๆเพื่อบรรเทาและลดโอกาศที่จะเกิดปัญหาในอนาคต 1.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 2.เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการแก่ประชาชนในการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ แก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนทุกเรื่องที่เขตบางกอกใหญ่ได้รับแจ้ง ให้ทันตามที่กำหนด และมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
595 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (best service)(รักษารอบ) มิติที่ 3(3.2) ในปัจจุบันสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ประสบปัญหาต่างๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมโดยรอบพื้นที่และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลกระทบต่อการปฏิบัติราชการของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ดังนี้ ๑. ปัญหาการเดินทางมาทำงานไม่ได้รับความสะดวก เนื่องจากมีการก่อสร้างรถไฟฟ้า สายสีน้ำเงิน ทำให้ถนนและบาทวิถี ของถนนสายหลักในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ เป็นพื้นที่ก่อสร้าง ทางเข้าสำนักงานเขต บาทวิถีเป็นพื้นที่ตั้งเสาตอม่อโครงสร้างรถไฟฟ้า ถนนถูกปิดช่องการจราจรเหลือเพียง ๑ เลน รถประจำทางที่เดิมเส้นทางเคยผ่านหน้าสำนักงานเขต เปลี่ยนเส้นทางทำให้บางคันไม่ผ่านหน้าสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๒. ปัญหาที่จอดรถ เนื่องจากที่ดินเช่าบริเวณข้างสำนักงานเขตเดิม เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินได้ขายที่ดินให้แก่เจ้าของใหม่และได้ยกเลิกการให้เช่าแก่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ พื้นที่จอดรถจึงลดลง ๓. ปัญหาความเครียดจากการทำงาน เนื่องจากความคาดหวังของผู้รับบริการที่มากขึ้น ภาระงานที่มากขึ้น ขาดพื้นที่สำหรับผ่อนคลายอิริยาบถในระหว่างวัน จึงทำให้เกิดความเครียดจากการทำงาน จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น สำนักงานเขตบางกอกใหญ่จึงได้จัดทำโครงการบางกอกใหญ่แบ่งปันความสุขขึ้น เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตและจิตใจของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขต บางกอกใหญ่ให้มากยิ่งขึ้น โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากข้าราชการและบุคลากรทุกส่วนราชการ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิเช่น การสร้างเครือข่าย Carpool ทางเดียวกันแวะรับกันมาทำงาน กิจกรรมการร่วมกันพัฒนาพื้นที่สีเขียวและจุดพักผ่อนบริเวณโถงหน้าลิฟต์ในแต่ละชั้นของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ รวมถึง การบริหารจัดการพื้นที่จอดรถและจัดหาพื้นที่จอดรถเพิ่มเติม โดยมุ่งหวังให้ผู้รับบริการได้รับประสบการณ์ ที่ดี ในการมาใช้บริการที่สำนักงานที่เขตบางกอกใหญ่ มีความประทับใจและเกิดความพึงพอใจต่อการให้บริการ ๑ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๒. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์สร้างบรรยากาศที่ดีให้แก่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๓. เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ โดยมุ่งสร้างเสริมให้เกิดความสุขในที่ทำงาน สร้างพื้นที่สีเขียว ปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สร้างสภาพแวดล้อมทางจิตสังคม และสร้างสุขภาวะ ให้แก่คนทำงานและผู้มารับบริการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีความสุขในการทำงาน ๒. ประชาชนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
596 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2.1 เป็นการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บุคลากรในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีสภาพการทำงานที่ปลอดโรค ปลอดภัยจากการทำงาน และส่งเสริมการมีสุขภาพอนามัยที่ดีโดยนำหลักการและแนวทางการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย มาประยุกต์ใช้ เพื่อนำมาสู้การดำเนินการควบคุมและป้องกันอันตราย ด้วยมาตรการ วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายดังกล่าว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ สังกัดกรุงเทพมหานครและผู้เกี่ยวข้องให้ปลอดโรค ปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งส่งผลต่อการให้บริการประชาชน สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด มีการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานตามขั้นตอนการดำเนินการที่สำนักอนามัยกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
597 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ บางกอกใหญ่ (Best Service) ในปัจจุบันการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น ผู้คนหันมาให้ความสำคัญกับการรักษาสภาพแวดล้อม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีการดำเนินการในหลากหลายวิธี เช่น การอนุรักษ์ป่าไม้ ปลูกป่าชายเลน การคัดแยกขยะในชุมชน แต่ในการแก้ปัญหาดังกล่าวยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาขยะจากแหล่งกำเนิดของขยะต่างๆ ได้อย่างแท้จริง อาทิเช่น ขยะที่เกิดจากร้านค้า ตลาด ร้านอาหาร เป็นต้น ตลาดสดถือเป็นสถานที่สำคัญในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและสินค้าส่วนใหญ่ที่มีผู้เลือกซื้อไปบริโภค ได้แก่ อาหารสด ผักสด วัตถุดิบแต่งอาหารต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่งต้นทางของการเกิดขยะมูลฝอย ขยะจากอาหารเป็นจำนวนมาก รวมถึงการใช้ถุงพลาสติกในการใส่สินค้าจากร้านค้าต่างๆ และหากพื้นที่ตลาดและบริเวณโดยรอบไม่มีการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี รวมถึงผู้ค้าและประชาชนที่มาซื้อสินค้าขาดจิตสำนักที่ดี ส่งผลให้สินค้าเหล่านี้อาจมีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค จะก่อให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินอาหารในกลุ่มคนหมู่มาก ซึ่งตลาดในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่เป็นตลาดเก่าแก่มีอายุยาวนาน มีลักษณะความเป็นพื้นที่ชุมชนสมัยเก่า จึงเป็นปัญหาทางด้านกายภาพและด้านสุขาภิบาลของตลาด ตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ค้าเป็นการไช้ความสะดวกในการหาถุงพลาสติกใส่อาหาร กล่องโฟมหรือใช้บรรจุภัณฑ์ให้กับลูกค้าที่เป็นการเพิ่มปริมาณมูลฝอยโดยปริยายและจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลถึงปัญหาการทำลายสภาพแวดล้อมและภาวะโลกร้อน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ บางกอกใหญ่ เป็นโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยปรับปรุงตลาดร่วมกับผู้ค้าในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ซึ่งมีตลาดจำนวน 4 ตลาด เพื่อยกระดับคุณภาพทางกายภาพของตลาดให้มีความสะอาดมากยิ่งขึ้น รวมถึงร่วมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ การรณรงค์คัดแยกคัดแยกขยะในพื้นที่ตลาดสด การขอความร่วมมือในการร่วมกันลดการใช้ถุงพลาสติก หันมาใช้ถุงผ้า เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) กำหนดยุทธศาสตร์ในยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟม ในตลาดของพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อพัฒนาการสุขาภิบาลตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย 3. เพื่อส่งเสริมประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 1. ผู้ประกอบการ ผู้ค้าและประชาชนที่มาใช้บริการตลาด สามารถคัดแยกขยะ ทำให้ลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟม 2. ตลาดได้รับการปรับปรุงการสุขาภิบาลตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย คุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3. การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ กับประชาชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ตลาดอย่างยั่งยืน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
598 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
599 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 84. โครงการตลิ่งชัน ห่วงใย ใส่ใจวัยสูงอายุ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วยปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านการเงิน และปัญหาด้านจิตใจ มักจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ เราจึงควรตระหนักให้ความสำคัญในการเข้าไปดูแลช่วยเหลือ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถดูแลตนเอง หรือใช้ชีวิตอย่างคนปกติทั่วไปได้ สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงนำปัญหาดังกล่าวมาจัดทำโครงการเพื่อดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับความดูแลช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ตามความต้องการ 2.1 เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ตามความเหมาะสม 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพกาย และสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 2.4 เพื่อให้เกิดการบริการสาธารณะภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โปร่งใส บนความมีส่วนร่วมของประชาชน และความร่วมมือระหว่างรัฐ และเอกชน (Smart Governance) 2.5 เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชนทั้ง 43 ชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันได้รับความช่วยเหลือตามความเหมาะสม ได้รับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์โดยมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
600 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 85. โครงการโรงเรียนจัดการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม (รักษารอบ) โรงเรียนเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของนักเรียน ซึ่งต้องใช้ชีวิตเพื่อหาประสบการณ์ในวันหนึ่งๆ มากกว่าอยู่ที่บ้าน จึงต้องเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ การจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้มีบรรยากาศที่ดี เหมาะสม และลดภาวะที่เป็นพิษ เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ สติปัญญาของนักเรียนให้ดีที่สุด และที่สำคัญที่สุดอีกอย่างคืออาหารที่ต้องจัดการให้สะอาดปลอดภัย ดังนั้น การจัดการอาหารให้ปลอดภัย เป็นสิ่งที่ต้องใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ นอกจากนี้โรงเรียนยังเป็นแหล่งที่ถ่ายทอดประสบการณ์ให้นักเรียนข้อมูลเกี่ยวกับทักษะชีวิต และสิทธิขั้นพื้นฐานของนักเรียนจะต้องปลูกฝังและสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้นักเรียน เช่น การทำบัญชีเงินออม การจัดการขยะ การป้องกันอันตรายจากอัคคีภัย และทำไมนักเรียนต้องมีบัตรประชาชน สิ่งเหล่านี้นักเรียน ครู รวมถึงผู้ปกครองจะต้องมีความเข้าใจ สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้ตระหนักถึงความจำเป็น และความปลอดภัยของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้ใช้บริการในโรงเรียน จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนจัดการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารอย่างปลอดภัย และเรียนอย่างมีความสุข และมีทักษะในชีวิตอย่างเพียงพอ 1. สร้างเครือข่ายระหว่าง สำนักงานเขต โรงเรียน ประชาชนในพื้นที่ 2. บูรณาการความร่วมมือของเครือข่ายในการจัดการอาหารให้ปลอดภัย การจัดการขยะ และสร้างทักษะชีวิตให้นักเรียนในเรื่องการออมเงิน การป้องกันอัคคีภัยและการฝึกซ้อมการอพยพหนีไฟในโรงเรียนเป้าหมาย การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนของนักเรียน รวมถึงdารดูแลความปลอดภัยของนักเรียน 1. มีภาคีเครือข่ายระหว่าง สำนักงานเขต โรงเรียน และประชาชนในพื้นที่ 2. มีการจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนในโรงเรียน 2.1 ดำเนินการจัดการอาหารให้ปลอดภัยตามแนวทางที่กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัยกำหนด - กิจกรรมเฝ้าระวังอาหารในโรงเรียนไม่ให้พบการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารเคมีที่ห้ามใช้ในอาหาร (โดยการใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย Test Kit และ SI2) 2.2 การจัดโครงการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - จัดทำบัตรประจำบัตรประจำตัวประชาชนให้นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2-6 ที่ยังไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน 2.3 การให้ความรู้เรื่องการป้องกันอัคคีภัย - ทุกโรงเรียนมีการจัดทำแผนผังภายในโรงเรียน - ทุกโรงเรียนมีการฝึกซ้อมการป้องกันอัคคีภัย และอพยพหนีไฟของนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
601 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขม ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การให้บริการของหน่วยงานและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จึงต้องนำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว สำนักงานเขตหนองแขมได้ดำเนินการให้บริการด้านเว็บไซต์ของหน่ายงานมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถค้นหาข้อมูลในการรับบริการได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อปรับปรุงเว็บไซต์ให้บริการประชาชนและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของหน่วยงาน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานด้านต่าง ๆ 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
602 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
603 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
604 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
605 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
606 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนภายในกำหนด สำนักงานเขตได้จัดทำระบบการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้มีความรวดเร็ว สามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากประชาชน เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชน ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้แล้วเสร็จภายในกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
607 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ประชารัฐร่วมใจพัฒนาถนนทองหล่อ ปัจจุบันถนนทองหล่อหรือถนนสุขุมวิท 55 มีสภาพภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามและไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่าที่ควร ทั้งในเรื่องของการทิ้งขยะมูลฝอย การปลูกประดับต้นไม้ การจอดรถยนต์บนทางเท้า หาบเร่ - แผงลอย ไฟฟ้าแสงสว่าง ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของทางเท้า ประกอบกับซอยทองหล่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มีสถานประกอบการ และที่พักอาศัยเป็นจำนวนมาก หากมีสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามอาจเกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อหน่วยงานและกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตวัฒนาร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ในซอยทองหล่อ ได้ร่วมกันคิด ร่วมวางแผน และร่วมดำเนินการ เพื่อพัฒนาถนนทองหล่อให้มีสภาพภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น มีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย และมีอัตลักษณ์ของซอย โดยสำนักงานเขตวัฒนาได้บูรณาการการทำงานระหว่างฝ่ายต่างๆ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและมีเอกภาพมากขึ้น 1 เพื่อสร้างเครือข่ายประชาชนช่วยดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างยั่งยืน 2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมและปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนทองหล่อให้มีความสะอาด สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย ประชาชนสามารถสัญจรบนทางเท้าได้โดยสะดวกและปลอดภัย 3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและนักท่องเที่ยวให้ดีขึ้น 4 เพื่อสร้างอัตลักษณ์ของถนนทองหล่อ และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน 5 เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้สัญจรและประชาชนในบริเวณซอยทองหล่อ 1.เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมดำเนินการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของถนนทองหล่ออย่างยั่งยืน 2 เกิดการวางแผนบูรณาการและบริหารทรัพยากรในการปฏิบัติงานระหว่างส่วนราชการของสำนักงานเขตวัฒนา 3 เกิดอัตลักษณ์ของถนนทองหล่อ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
608 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยกรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ.2562 เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภารกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานคร ที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 บรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวม โดยตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มุ่งสนองความต้องการของประชาชนในสังคมใหม่ให้สู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์การชั้นเลิศด้านการบริการ 2.เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการประชาชนทีมารับบริการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฏร 3.เพื่อให้ผู้มาติดต่อขอรับบริการพึงพอใจสูงสุด 1.ผู้มารับบริการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.ระยะเวลาการให้บริการลดลงร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
609 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการดีที่สุด "โครงการแอพพลิเคชั่นเพื่อชาวบางแคดูแลผู้สูงวัย" กรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำคัญในสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร และได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุระดับเขต ซึ่งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ระดับเขต เขตบางแค ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการเฉพาะด้านผู้สูงอายุในปี 2561 และจากการประเมินผลการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมาปรากฏว่า การให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายยังจำกัดอยู่ในวงแคบ โดยพบว่าการให้ความรู้เรื่องการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุในดัชนี บรรลุเป้าหมายเพียงร้อยละ 2.73 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในพื้นที่ จึงมีแนวคิดเพิ่มช่องทางการให้ความรู้การปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาสภาพแวดล้อม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ในรูปแบบแอพพลิเคชั่น เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เป็นจำนวนมาก สะดวกและรวดเร็วขึ้น รวมถึงผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของหลากหลายหน่วยงานในแอพพลิเคชั่นเดียว 1. เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้านการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจการตระหนักรับรู้ของประชาชนทุกกลุ่มวัยในการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการเตรียมการสู่วัยสูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปใช้หรือถ่ายทอดให้ผู้สูงอายุ เผยแพร่ความรู้ที่ครอบคลุมทุกมิติเพื่อเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุที่มีคุณภาพในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมในพื้นที่เขตบางแค จำนวน 9,573 คน ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้รับความรู้ผ่านแอพพลิเคชั่นที่ร้อยละ 100 (ทุกโรงเรียนในพื้นที่เขตบางแค) 2. ประชาชนที่มีอายุ 18 – 59 ปี จำนวน 27,679 คน ได้รับความรู้ผ่านแอพพลิเคชั่น ดังนี้ 2.1 ในสถานประกอบการ - ในสถานประกอบการรายเดิม จำนวน 1,616 คน - ในสถานประกอบการรายใหม่ ที่มีพนักงานมากกว่า 100 คน ขึ้นไป จำนวน 24 แห่ง จำนวน 2,594 คน 2.2 ในสำนักงานเขตและศูนย์สาธารณสุขประจำเขต จำนวน 999 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.3 ในหน่วยงานภาครัฐ -ในหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานเดิม จำนวน 620 คน คิดเป็นร้อยละ 100 - ในหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานใหม่ จำนวน 5 แห่ง จำนวน 767 คน 2.4 ในชุมชนทั้ง 49 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 100 จำนวน 21,083 คน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
610 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
611 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) สำนักงานเขตสายไหม ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561) สำนักงานเขตสายไหมได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับถนนจำนวน 120 เรื่อง (ผิวจราจรชำรุด จำนวน 65 ราย/ฝุ่นละออง จำนวน 11 ราย/ดินตกหล่น จำนวน 44 ราย) ซึ่งนอกจากจะเกิดความเสียหายแก่เส้นทางสัญจรแล้ว ยังพบว่ามีปริมาณฝุ่นควันและเสียงดังรบกวนประชาชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตอีกด้วย ดังนั้นสำนักงานเขตสายไหม จึงได้จัดทำโครงการ Saimai Happy Road Happy Life เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 1.เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างในพื้นที่เขตสายไหม 2.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้แก่ การสัญจรไม่สะดวกจากถนนชำรุด และความเจ็บป่วยจากฝุ่นละออง 3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชน และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 1.ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ควบคุมปริมาณฝุ่นละอองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในพื้นที่เขตสายไหม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.) 3.เกิดเครือข่ายระหว่างภาคประชาชน หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ เพื่อร่วมกันสอดส่องดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
612 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
613 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตสายไหม เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
614 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการสำรวจและเตือนให้ยื่นแบบฯ โดยใช้ฐานข้อมูลจากใบทะเบียนพาณิชย์ที่มีผู้มาขอจดทะเบียนที่ ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตคันนายาว ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และปีงบประมาณ ๒๕๖๑ เพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนผู้พิกัดภาษีและจำนวนเงินภาษีให้สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ 1. เพื่อให้ฝ่ายรายได้ สามารถจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ได้ตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2. เพื่อขยายฐานภาษีผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น สามารถจัดเก็บภาษีโรงเรืนและที่ดินรายใหม่เมื่อเทียบกับจำนวนผู้ขอจดทะเบียนพาณิชย์ที่ฝ่ายปกครอง ประจำปีงบประมาณ 2560 และ 2561 ได้ 60 ราย (ร้อยละ 20) 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
615 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
616 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ตัวชี้วัด 3.1 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
617 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ตัวชี้วัด 3.2 โครงการวังทองหลาง สร้างสุข ปลุกรอยยิ้ม ( รักษารอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุด Best Service ) สำนักงานเขตวังทองหลางมีภารกิจหลักในการบริการและช่วยเหลือประชาชน และเป็นหน่วยงานในการนำนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนเป็นหน่วยงานในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่เขตที่ขอความร่วมมือ เนื่องจากภารกิจ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเจ้าหน้าที่ทำให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เช่น โรคปวดกล้ามเนื้อ มือชา นิ้วล็อค เป็นต้น และโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลต่อสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่ เกิดภาวะความเครียดและเหนื่อยล้าสะสมจากการทำงาน จากปัญหาดังกล่าวสำนักงานเขตวังทองหลางได้ตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้าง สุขภาวะ ที่ดีให้กับเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีการขยับร่างกายให้มีการผ่อนคลายจากการทำงาน รวมทั้งเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นระยะเวลานาน โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) และ โรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) 1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีความสุขในการทำงาน 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลาง ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดความรัก ความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีสุขภาวะที่ดี ทั้งกาย ใจ อารมณ์ สังคม และปัญญา 4. เพื่อให้สำนักงานเขตวังทองหลางเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน 1.) มีการจัดทำองค์ความรู้ในการทำงาน อย่างน้อย 10 เรื่อง 2.) ร้อยละบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลางที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ) มีแนวโน้มการพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ( 18.5-22.90 ) เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 3.) จำนวนเรื่องร้องเรียนในการให้บริการ ที่เกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ไม่เกิน 10 เรื่อง/ปี ( ร้องเรียนผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555 ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
618 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ( Best Service ) ประจำปีงบประมาณ 2562 อยู่ระหว่างเขียนโครงการ อยู่ระหว่างเขียนโครงการ อยู่ระหว่างเขียนโครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
619 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC เขตบางนา ตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (พลตำรวจเอกอัศวิน ขวัญเมือง) มีนโยบายให้จัดตั้ง "ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear:BFC): ในทุกสำนักงานเขต เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มาติดต่อ ด้านงานบริการทะเบียนราษฏร์ และการขออนุญาตต่างๆ ตลอดจนให้คำปรึกษาต่างๆ โดยมีหน่วยงานในสังกัดเขตมาปฏิบัติงานในศูนย์ดังกล่าว 1. จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear:BFC) ในสำนักงานเขตบางนา จำนวน 1 ศูนย์ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้ามารับบริการด้านงานทะเบียนราษฏร์ และการขออนุญาตต่างๆ ที่ถูกต้อง โปร่งใส และรวดเร็ว และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้มารับบริการ ร้อยละความพึงพอของผู้มารับบริการ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
620 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 4.1 โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 11 11 11 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
621 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 1.2 กิจกรรมการพัฒนาการประชุมหัวหน้าหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้รับมอบหมายให้จัดการประชุมหัวหน้าหน่ายงานของกรุงเทพมหานครเป็นประจำทุกวันพฤหัสแรกของเดือน โดยในการประชุมแต่ละครั้งจะต้องจัดทำเอกสาร รายงานการประชุม และประสานหน่วยงานเพื่อจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ตลอดจนต้องใช้ความรวดเร็วในการประสานแจ้งให้องค์ประชุมและผู้เข้าร่วมประชุมในการพิจารณารับรองรายงานการประชุม และทราบถึงกำหนดการและระเบียบวาระประชุม ดังนั้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่หัวหน้าหน่วยงาน และเป็นการลดปริมาณการใช้กระดาษ ส่วนประสานนโยบาย สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจึงได้จัดนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนางานด้านการประชุมฯ โดยได้จัดทำ QR Code ในการจัดส่งรายงานการประชุมหัวหน้าหน่วยงานฯ ผ่านเว็บไซต์หนังสือเวียนกรุงเทพมหานคร และอบรมบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานสากล กิจกรรม 1. จัดทำรายงานการประชุมหัวหน้าหน่วยงานฯ ร้อยละ 100 2. จัดทำ QR Code รายงานการประชุมฯ ทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 3. จัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรมการจัดทำ QR Code รูปแบบพี่สอนน้อง จำนวน 1 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 4. จัดอบรมบุคลากรส่วนประสานนโยบายทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 5. ผลการทดสอบความรู้ในการจัดทำ QR Code ของบุคลากรที่เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 1. เพื่อพัฒนางานด้านการประชุมฯ 2. บุคลากรส่วนประสานนโยบายมีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสม 3. ลดขั้นตอนและวัสดุในการจัดการประชุม บุคลากรส่วนประสานนโยบาย มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยผ่านการอบรมและมีผลการทดสอบความรู้ในการจัดทำ QR Code ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
622 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสารสนเทศ (New Face for Best) สำนักงาน ก.ก. มีหน้าที่ดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ซึ่งที่ผ่านมามีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น Facebook ของสำนักงาน ก.ก. แต่เนื่องจาก Facebook ของสำนักงาน ก.ก. มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ปะปนกับข่าวการสอบ ส่งผลให้ขาดความต่อเนื่องในการเข้าถึงข้อมูลการสอบ สำนักงาน ก.ก. จึงจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสารสนเทศ (New Face for Best) เพื่อแก้ปัญหาข้างต้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสอบแข่งขัน 1. เพื่อเพิ่มช่องทางและยกระดับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสอบแข่งขันฯ 2. เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกับผู้รับบริการให้เข้าถึงข้อมูลและตรงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น 3. เพื่อให้การสรรหาบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญมีประสิทธิภาพมากขึ้น 1. สำนักงาน ก.ก. สามารถสร้างความเข้าใจระหว่างผู้รับบริการกับหน่วยงาน (Relationship) ด้วยรูปแบบการสื่อสารที่ชัดเจน ทันสมัย และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 2. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารการสอบสามารถสร้างความประทับใจแก่ผู้รับบริการ (First Impression) และเกิดมุมมองเชิงบวกต่อกรุงเทพมหานครจากการให้บริการด้วยใจ (Service Mind) 3. สร้างภาพลักษณ์ให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรชั้นนำที่สามารถดึงดูด คนดี คนเก่ง เข้ามาสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (Employer of Choice) 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
623 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
2.1. 2563 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานและการควบคุมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร การกำหนดนโยบาย มาตรการ และขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด (มีมาตรการควบคุมกำกับ ตรวจสอบ) หน่วยรับตรวจยอมรับหรือรับทราบและนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ไปปฏิบัติหรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานด้านดังกล่าวในอนาคต จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับหรือรับทราบและนำไปปฏิบัติหรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานด้านดังกล่าวในอนาคต 110,500.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
624 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการข้อมูลและเอกสารการตรวจสอบภายในด้วยระบบสารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
625 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
626 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบบสารสนเทศ สำนักการโยธา .. .. ร้อยละ 80 279,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 10.00
627 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,100,000.00 1,975,016.16 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
628 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 7,827,300.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-12-22 00:00:00 2020-10-21 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
629 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงสำหรับ เชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สวนสาธารณะ, ศูนย์เยาวชน, ศูนย์กีฬา, ห้องสมุดประชาชน, สถานศึกษา, สถานีสูบน้ำ, สำนักงานเขตทั้ง 50 สำนักงานเขต, สถานีตำรวจ ทั้ง 88 สถานี, กองบังคับการตำรวจนครบาลทั้ง 9 แห่ง, ศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์, ศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์, ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) ฯลฯ เพื่อบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
630 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 งานบำรุงรักษาระบบวิทยุสื่อสารแบบดิจิตอลกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 34,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
631 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลด้านสาธารณภัยของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลหลักของสำนักฯ และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อนำไปพิจารณาสั่งการได้ เพื่อให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักฯ ให้สามารถพิจารณาสั่งการ และเป็นประโยชน์ในการนำฐานข้อมูลไปใช้ได้ มีฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักฯ และสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
632 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
633 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 กิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือ เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนามหานครอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเห็นถึงความสำคัญในการกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาพื้นที่กรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ ให้สอดคล้องกับแนวทางตามประกาศคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ 1/ 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมิน คุณสมบัติ วิธีการและกระบวนการในการพิจารณาการเป็นเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจึงได้จัดทำกิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนามหานครอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นการศึกษาข้อมูลจากการทดลองดำเนินการในพื้นที่จริง ในการเตรียมความพร้อมของการพัฒนาพื้นที่สู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการสร้างเสริมความร่วมมือ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการระดมความคิดเห็นและกรอบแนวทางการพัฒนาพื้นที่ให้ตรงกับความต้องการและศักยภาพของพื้นที่ กำหนดเลือกพื้นที่เริ่มต้นของการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์จากการนำข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการในแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564ต่อไป 2.1 เพื่อศึกษาการพัฒนาเมืองสู่มหานครอัจฉริยะ ด้วยการสร้างความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2.2 เพื่อศึกษาและคัดเลือกพื้นที่เริ่มต้นในการดำเนินการพัฒนาสู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 2.3 เพื่อจัดทำแผนเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 3.1 มีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมความคิดเห็นต่อการพัฒนาเมืองสู่มหานครอัจฉริยะ 3.2 มีการศึกษาและเลือกพื้นที่เริ่มต้นเพื่อดำเนินการพัฒนาสู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 3.3 มีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
634 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการเก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดจะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลักที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
635 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การบันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล (ทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล) เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2506 - 2542 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2506-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นฝ่ายทะเบียนได้มีการ ตั้งแต่ปี 2506-2546 จำนวน18,256 ราย ฉะนั้นฝ่ายทะเบียนจึงแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2514-2522 จำนวน 5,976 ราย ช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2506-2513 จำนวน 6,497 ราย 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อสามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที 3. เพื่ออำนวยความสะดวก และความรวดเร็วให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 4. เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเก็บช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2514-2522 จำนวน 5,976 ราย 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
636 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ///////// ///////// ///////////// 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
637 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน การตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจสอบ 24 ครั้ง/ปี (เดือนละ 2 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
638 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ นโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร มุ่งเน้นการบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่าง ๆ 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ดำเนินการตามเป้าหมายตามที่กองงานผู้ตรวจราชการ กรุงเทพมหานครกำหนด (ประเมินความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
639 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า "การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการประจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน" การปรับปรุงคุณภาพให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่าางมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน 2.การบริหารราชการมีเป้าหมายสุดท้าย คือ ทำให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ซึ่งพยายามให้เกิดความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล ฯลฯ ล้วนแต่ต้องการให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ หากปฏิบัติงานแล้วผู้รับบริการไม่พึงพอใจยังไม่นับว่ามีการปฏิบัติงานและการบริหารราชการได้ตามเป้าหมายอย่างแท้จริง การวัดความพึงพอใจจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
640 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
641 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
642 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล หน่วยงานมีการจัดทำฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด มีฐานข้อมูลของสำนักงานเขตคลองสาน ตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
643 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตมีการรวบรวมข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ลงใน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) และมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) อย่างเป็นระบบ มีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน มีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
644 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ข้อมูลต่างๆ ทีเกิดจากการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนมีจำนวนมาก ที่เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและได้มีการรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ แต่ยังไม่ได้มีการรวมเป็นฐานข้อมูลเดียว ทำให้การนำมาใช้ประโยชน์จากข้อมูลไม่เต็มประสิทธิภาพ เพื่อสนองนโยบาลประเทศไทย 4.0 กรุงเทพมหานคร ได้กำหนดเป้าหมายสำคัญในการมอบหมายให้ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครรวมถึงถึงสำนักงานเขตสาทรนั้นจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ขึ้น เพื่อรองรับตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ มิติที่ 4 การพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภพในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต สำนักงานเขตสาทรมีฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
645 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
646 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
647 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 แผนพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตบางคอแหลม ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลให้สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการวางนโยบายในอนาคต ฐานข้อมูลจำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
648 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การจัดทำฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูล ตามแผนการพัฒนาข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
649 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 ก่อสร้างอาคาร ค.ส.ล.3 ชั้น โรงเรียนสุเหร่าซีรอ (ราษฎร์สามัคคี) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 ได้กำหนดให้การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะจะมีผลการพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญหา อารมณ์ และสังคม โรงเรียนจึงเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของนักเรียน ปัจจุบันสภาพอาคาร ห้องเรียนบางส่วนชำรุดทรุดโทรมเนื่องจากใช้งานมานาน และมีไม่เพียงต่อ จึงจำเป็นต้องก่อสร้างอาคารเพิ่มขึ้น เพื่อให้พร้อมใช้งานตลอดเวลาและเพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน 1. เพื่อให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม 2. เพื่อให้มีอาคารเรียนสวยงาม - ก่อสร้างอาคาร ค.ส.ล 3 ชั้น โรงเรียนสุเหร่าซีรอ (ราษฎร์สามัคคี) 3,281,000.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 ชะลอ 67.00
650 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขต ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
651 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2563 กิจกรรมส่งเสริมสร้างผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ปัจจุบันความก้าวหน้าทางวิชาการด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และการวิจัยเกิดขึ้นอย่างมากมาย เกิดการวินิจฉัย การรักษาพยาบาลด้วยวิธีการใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่มีส่วนราชการในสังกัดประกอบด้วยโรงพยาบาล ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) ซึ่งหน้าให้บริการตรวจรักษา ผู้ป่วยทั่วไป และผู้ป่วยเฉพาะทาง รวมทั้งเป็นแหล่งการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน แพทย์ฝึกหัด นักศึกษาแพทย์ นักศึกษาพยาบาล และนักศึกษาด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกสังกัดกรุงเทพมหานคร จำเป็นต้องส่งเสริมให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขมีความก้าวหน้าทางด้านวิชาการ และการส่งเสริมสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ เพื่อนำผลงานมาพัฒนาในด้านการรักษาพยาบาลและเพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานคร การสนับสนุนให้เกิดการสร้างผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ต้องมีการบริหารจัดการ เช่นเดียวกับการให้บริการซึ่งก็ต้องมีการบริหารจัดการเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการให้เกิดการผลงาน คือ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และในอนาคตต่อไปข้างหน้าที่จะเป็นการพัฒนากระบวนการให้บริการประชาชน เนื่องจากค้นพบวิธีการใหม่ทำให้กระบวนการดูแลผู้ป่วยดีขึ้น หลายครั้งมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขหรือตอบปัญหา สามารถพัฒนาต่อยอดไปเป็นงานวิจัย หรือผลงานวัตกรรมที่เชื่อถือได้ และเป็นต้นแบบที่ดี ดังนั้นบุคลากรในสังกัดสำนักการแพทย์ต้องมีการพัฒนาเรียนรู้ สามารถนำแนวคิดและประสบการณ์จากการปฏิบัติงาน ทำให้ผลงานเชิงวิชาการที่มีคุณภาพมากขึ้นและจะเกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ขึ้นได้ 1.เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับความรู้และติดตามวิทยาการความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข 2.เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดงานวิชาการ งานวิจัยในองค์กร การสร้างนวัตกรรม รวมถึงการนำผลการวิจัย และนวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัดได้มีโอกาส แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จัดกิจกรรมการนำเสนอผลงานและการประกวดผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ของส่วนราชการในสังกัดสำนักการแพทย์ 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
652 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2563 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2563 (สพธ.) การประกวดและการจัดงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคิดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข แลกเปลี่ยนความคิดเพื่อต่อยอดงานนวัตกรรมฯ ที่ผ่านการตัดสิน และแสดงผลงานนวัตกรรมระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆ ได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัย จำนวน 80 คน - จัดประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 500 คน/วัน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยมีการประกวดและตัดสินผลงาน ตลอดจนการจัดพิมพ์เอกสารฯ แจกผู้ร่วมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 1,000 เล่ม 1,000,000.00 121,098.25 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
653 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2561) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
654 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรม การจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
655 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 15,342,000.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 76.68
656 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2563 โครงการศึกษาวิจัยส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาระกิจเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำโดยมีโรงควบคุมคุณภาพน้ำบำบัดน้ำเสียซึ่งในแต่ละวันมีปริมาณน้ำเสียที่เข้าระบบปริมาณมาก นั้นหมายถึงค่าไฟฟ้าใช้ในการเดินระบบบำบัดน้ำเสียที่สูงตามปริมาณน้ำเสียที่ผ่านการบำบัด ซึ่งทางหน่วยงานค้นหามาตรการลดการใช้ไฟฟ้าเพื่อลดค่าใช้จ่ายลง พลังงานน้ำเป็นตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ จึงใช้หลักการนี้นำมาศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า กำหนดให้โรงควบคุมคุณภาพน้ำเป็นสถานที่เหมาะสมในการดำเนินการศึกษาวิจัยการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน้ำขนาดเล็ก โดยพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถนำไปเก็บสะสมไว้ในแบตเตอรี่เพื่อเป็นพลังงานไฟฟ้าสำรองใช้ทดแทนพลังงานไฟฟ้าหลักจากการไฟฟ้านครหลวง พลังงานไฟฟ้าส่วนนี้เน้นนำไปใช้ในการส่วนวงจรไฟฟ้าแสงสว่างของโรงควบคุมคุณภาพน้ำ -เพื่อศึกษาวิจัยการนำแรงดันน้ำที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสียมาใช้ ในรูปแบบของการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ -เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จากการนำพลังงานที่มีมาใช้ให้ประโยชน์ที่สูงสุด เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าต้นแบบจากพลังน้ำที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยผลิตไฟฟ้าและมีระบบสำรองพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้กักเก็บไว้ในแบตเตอรี่เพื่อใช้เป็นพลังงานไฟฟ้า เพื่อใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าสนับสนุนภายในโรงควบคุมคุณภาพน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
657 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณ๊ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatmentplant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
658 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่มาใช้งาน บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู่มาใช้ บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 121,119,000.00 82,355,477.83 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
659 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพิ่มความปลอดภัยของ บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 33,504,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
660 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 43,925,100.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
661 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 43,670,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
662 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพดหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ 13,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
663 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 38,945,300.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
664 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 41,040,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
665 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง สำนักงานเขตดุสิต สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตพระนคร สำนักงานเขตวังทองหลาง สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ สำนักงานเขตราชเทวี สำนักงานเขตห้วยขวาง - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
666 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดลัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรบัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรห้ศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพตะร้นออก 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
667 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ สำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตดอนเมือง สำนักงานเขตสายไหม สำนักงานเขตจตุจักร สำนักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ พร้อมเพื่อเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพเหนิอ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
668 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ต่อการเกิดอาชญากรรม กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,365,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
669 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือเพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 122,394,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
670 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
671 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงาน บริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมระบบบริหารการจัดการบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกัน ต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในปัจจุบันระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ จำนวน 34 กล้อง ซึ่งมีความละเอียดของภาพที่ระดับ D๑ (๗๐๔x๕๗๖ Pixels) เท่านั้น รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV), อุปกรณ์บันทึกภาพ (DVR Recorder), UPS ขนาด 1 KVA, Edge Switch, Distribute Switch, เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับดูกล้อง CCTV, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบันทึกภาพ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก, ตู้ใส่อุปกรณ์ Network, กล่องสวิตซ์ตัดตอน มีอายุการใช้งานที่มากกว่า 10 ปี เริ่มเสื่อมสภาพจากการใช้งานและล้าสมัย ทำให้ภาพที่ได้จากการตรวจจับมีความละเอียดไม่เพียงพอที่จะระบุตัวตนของผู้ก่อเหตุ ระบุรูปพรรณสัณฐานของผู้ต้องสงสัย หรือเหตุการณ์ที่จะนำไปสู่การก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุความรุนแรงได้ ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ระบบโทรทัศน์วงจรปิดดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความทันยุคทันสมัยกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน สำนักการจราจรและขนส่งจึงมีความต้องการที่จะปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม ให้สามารถใช้งานได้อย่างเป็นปกติมีประสิทธิภาพ ทดแทนระบบเก่าที่เสื่อมสภาพและล้าสมัย และเพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย ป้องปราม ติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดทัยบริเวณภายใน เขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐาน วังเทเวศร์ 10,982,400.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
672 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณ แบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สำนักการจราจรและขนส่งได้จัดซื้อกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยและอำนวยการจราจรการจัดกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ “ปั่นเพื่อพ่อ Bike for Dad” ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ และสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ก็สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งยังมีความสามารถในการส่งข้อมูลภาพเหตุการณ์ปัจจุบันไปยังศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร และสามารถเรียกภาพดูย้อนหลังได้ 30 วัน อันเป็นประโยชน์ในการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยช่างผู้ชำนาญการ 2. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานตำรวจในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว 3. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ใช้งานได้อย่างทันท่วงที ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ตลอด 24 ชั่วโมงและสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วนได้อย่างทันท่วงที เป็นระยะเวลา 12 เดือน 3,050,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
673 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อเป็นการใช้สำหรับป้องปราม และรักษาความปลอดภัยระวังเหตุร้าย รวมทั้งประกอบเป็นหลักฐานในกรณีที่มีเหตุไม่ปกติเกิดขึ้น บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ต 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
674 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐาน สถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกันต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณที่สำคัญ บริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง โดยรอบเขตพระราชฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ คือ พระบรมมหาราชวัง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วังสระปทุม วังเลอดิส วังเทเวศร์ วังทวีวัฒนา วังศุโขทัย โครงการส่วนพระองค์ 904 พระที่นั่งอัมพรสถานและบริเวณซอยทวีวัฒนา 22 กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 6,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
675 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 13,364,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
676 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 27,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
677 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 17,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
678 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 587 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 218 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 267 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 123 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 390 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 96 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 990 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.15 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.16 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 120 กล้อง 11,400,000.00 5,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
679 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 9,300,000.00 4,650,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
680 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน ๗ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางขุนเทียน, สำนักงานเขตหนองแขม, สำนักงานเขตบางแค, สำนักงานเขตทุ่งครุ, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สำนักงานเขตบางบอน และสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 55 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 107 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 154 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 780 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 381 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 208 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 134 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 44 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 45 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 95 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 51 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 กล้อง 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.15 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.16 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.17 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 84 กล้อง 10,700,000.00 5,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
681 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 20,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
682 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 28,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
683 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 14,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
684 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 23,900,000.00 11,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
685 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 370 กล้อง 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 16,900,000.00 8,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
686 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 17,100,000.00 8,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
687 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลางตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 56,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
688 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กทม ต้องการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ให้ใช้งานได้ตลอดเวลา 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
689 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (เกิน) 1 1 1 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
690 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพหนือ 16,193,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
691 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 16,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
692 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 13,900,000.00 6,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
693 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 จำนวน 2,840 จุด 7,500,000.00 5,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
694 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) สำนักการจราจรและขนส่งที่เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบ เกี่ยวกับระบบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และระบบจราจร ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการเพิ่มความสะดวกสบายด้านการจราจรและเพิ่มความปลอดภัยให้กับประชาชนตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยติดตั้งระบบบริการจุดรับส่งปลอดภัย บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 48 จุด ที่สำคัญ และมีประชาชนใช้เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทาง โดยสามารถตอบสนองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครด้านมหานครปลอดภัย คือผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการที่มีการรับ-ส่งผู้โดยสาร บริเวณจุดรับส่งปลอดภัย สามารถมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้ และสามารถตอบสนองตามแผนนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านสะดวก โดยเดินทางสะดวก ใช้ชีวิตสะดวก ข้อมูลสะดวก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 48 จุด รวม 144 กล้อง พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) เพื่อบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีการใช้จุดเปลี่ยนถ่ายนี้ในการเดินทาง โดยสามารถตรวจสอบรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของบุคคล เช่น เพศ สีผิว รูปร่าง เสื้อผ้าที่สวมใส่ เป็นต้น พร้อมสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการวางวัตถุต้องสงสัยและรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของวัตถุได้ และสามารถตรวจสอบแผ่นป้ายทะเบียนยานพาหนะ กรณีที่มีการจอดรับ-ส่งผู้โดยสารหรือประชาชน - ติดตั้งระบบเรียกรถบริการสาธารณะอัจฉริยะ โดยระบบสามารถบันทึกภาพของผู้ใช้บริการและทะเบียนรถบริการสาธารณะที่ให้บริการ ซึ่งหากเกิดเหตุอันไม่พึงประสงค์ของผู้โดยสารหรือผู้ให้บริการ ระบบสามารถติดตามผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดีได้ หรือกรณีลืมสัมภาระ สิ่งของบนรถบริการสาธารณะ ก็สามารถติดตามคืนได้ 1. เพื่อจัดระเบียบรถบริการสาธารณะที่จอดกีดขวางช่องทางจราจรและให้ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการสามารถเรียกใช้และให้บริการรถสาธารณะได้อย่างสะดวกและมีความปลอดภัย 2. เพื่อใช้เทคโนโลยีมาอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าตำรวจในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย ในการตรวจสอบผู้กระทำผิด 1. ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) จำนวน 48 จุด 2. เชื่อมโยงข้อมูลของระบบฯ เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) 18,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
695 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
696 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทาำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 19,600,000.00 9,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
697 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 25,100,000.00 12,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
698 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ โดยแบ่งตามพื้นที่ 6 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ศูนย์จตุจักรและศูนย์บางเขน) กลุ่มกรุงเทพกลาง (ศูนย์ราชเทวีและศูนย์ห้วยขวาง) กลุ่มกรุงเทพใต้ (ศูนย์พระโขนงและศูนย์บางคอแหลม) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ศูนย์มีนบุรีและศูนย์บึงกุ่ม) กลุ่มกรุงธนเหนือ (ศูนย์บางพลัดและศูนย์จอมทอง) กลุ่มกรุงธนใต้ (ศูนย์บางบอนและศูนย์ราษฎร์บูรณะ) เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการปรับปรุงระบบบริหารจัดการการเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพ ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า รวมทั้งการดำเนินติดตั้งระบบบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และบริหารจัดการแบบรวมศูนย์เพื่อแสดงภาพ ควบคุม ตรวจสอบเรียกดูภาพย้อนหลัง และปรับปรุงระบบ Multimedia ภายในห้องควบคุมเพื่อสะดวกและง่ายต่อการแสดงผล ติดตามการเคลื่อนไหวที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบตลอดเวลาและการติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพไว้ พร้อมทั้งกำหนดให้มีพนักงานประจำศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทั้ง 13 ศูนย์ สำหรับให้บริการประชาชนในการติดต่อขอสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ย้อนหลัง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ ดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 36,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
699 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
0.0.0 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ฝ่ายธรรมยุต ซึ่งเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 7 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งเป็นวัดแห่งเดียวของกรุงรัตนโกสินทร์ที่เป็นวัดประจำรัชกาลของพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์ และยังเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช องค์พระประมุขแห่งคณะสงฆ์ไทย 2 พระองค์ คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (หม่อมเจ้าภุชงค์ ชมพูนุท สิริวฑฒโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2464 – 2480 และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2517 – 2531 และเคยเป็นที่พำนักของสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะหลายรูป ซึ่งในปัจจุบันในหลวงรัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “สมเด็จพระมหามุนีวงศ์” (อัมพร อมฺพโร) เจ้าอาวาส วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 โดยจัดให้มีพิธีสถาปนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 และใช้พระนามว่า “สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ” กรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร เล็งเห็นความสำคัญในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน ป้องปราม และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ชุมชน รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ จึงจะดำเนินจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธ และเส้นทางต่อเนื่อง จำนวน 284 กล้อง โดยจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ความละเอียด 1080P ณ จุดติดตั้งไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพทั้งหมดเข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลสำราญราษฏร์ เพื่อบันทึกภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อความปลอดภัยโดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง 65,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
700 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สำหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 62,100,000.00 62,100,000.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
701 1.0.4.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ สำนักสิ่งแวดล้อมโดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศเพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหามลพิษทางอากาศครอบคลุมพื้นที่ ๕๐ เขต โดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิม จำนวน ๔ สถานี สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี และ แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ที่ผ่านมาการรับส่งข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและรถตรวจวัดคุณภาพอากาศมายังกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ดำเนินการผ่านโปรแกรมต่างๆ ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก และแบบเคลื่อนที่ ส่งผลให้สำนักสิ่งแวดล้อมขาดการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการ เพื่อที่จะนำไปประเมินผลมลพิษทางอากาศ และวางแผนบริหารจัดการ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการโครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ เพื่อเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์ อ้างอิงข้อมูลค่าตรวจวัดคุณภาพอากาศ ทำให้การประมวลผลที่ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศมีความแม่นยำและถูกต้องยิ่งขึ้น ก่อนเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวสู่สาธารณชนต่อไป โดยศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศสามารถใช้ข้อมูลสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับ หรือจากการเชื่อมโยงข้อมูลอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ อาทิเช่น ทิศทางลม การก่อสร้าง การจราจร ฯลฯ มาประกอบการวิเคราะห์ค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณจุดตรวจวัดฯ สามารถประมวลผล แปรผล และเตือนให้ประชาชนหลีกเลี่ยงในการเข้าไปในพื้นที่ที่ค่ามลพิษทางอากาศสูงอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งนี้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลคุณภาพอากาศ การแปรผล การพยาการณ์คุณภาพอากาศล่วงหน้าภายใน ๒๔ ชั่วโมง ฯลฯ ผ่านทางคอมพิวเตอร์พื้นฐาน แท็ปเล็ต และโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน ผ่านระบบแอพพลิเคชั่น โดยทางระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ประชาชนสามารถนำข้อมูลคุณภาพอากาศไปช่วยในการตัดสินใจในการทำกิจกรรมภายนอกอาคารบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศต่อตัวเองและบริเวณนั้น ซึ่งเป็นสร้างความตระหนักให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยกันมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครต่อไป 1. เพื่อทดสอบระบบการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศในการจัดการระบบสารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศ ระหว่างสถานีตรวจวัดเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก แบบเคลื่อนที่ และศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อทดสอบระบบจำลองการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศ ระบบเพื่อค้นหาแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ ระบบสำหรับนำเข้าและเชื่อมโยงข้อมูลด้านอากาศจากหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร และศึกษาการนำข้อมูลเข้า Big Data 3. เพื่อทดสอบระบบแจ้งเตือนประชาชนชาวกรุงเทพมหานครให้ทราบถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพ ระยะเวลาที่สามารถอยู่ได้ในพื้นที่นั้น การป้องกันตนเองเบื้องต้น หากเกิดกรณีอยู่ในพื้นที่ที่มีค่ามลพิษทางอากาศค่าสูง 4. เพื่อแปรผลข้อมูลที่บูรณาการทั้งหมดสนับสนุนให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร พิจารณา วางแผน ตัดสินใจ และกำหนดนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร 1. กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม เป็นศูนย์สารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานครที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2. ข้อมูลคุณภาพอากาศระหว่างสถานีตรวจวัดเดิม จำนวน ๔ สถานี บนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ข้อมูลหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร สามารถเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างเป็นระบบ (Platform) อยู่ในศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร (Big Data) 3. การวิเคราะห์ การประมวลผล การแปรผลเหตุการณ์ การพยากรณ์ การแพร่กระจาย การค้นหาแหล่งกำเนิด จากค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ผ่านระบบ Big Data เผยแพร่สู่ประชาชนเชิงแผนที่ภูมิศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต แอพพลิเคชั่น 4. ประชาชนสามารถ รับทราบถึงความเสี่ยง ผลกระทบ การป้องกันสุขภาพของตนเองและช่วยในการตัดสินใจของประชาชนในการทำกิจกรรมใดที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ 5. ประชาชนและกรุงเทพมหานคร มีปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ข้อติชมด้านมลพิษทางอากาศ ความรู้ด้านอากาศ อื่นๆ ผ่านทางระบบ social media เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ค เป็นต้น 8,155,000.00 8,155,000.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
702 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการ ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในแต่ละพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการน้ำเสียของอาคารประเภท ก และ ข ตามกฎหมายส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพระนคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
703 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญเช่นกัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามประเภทแหล่งกำเนิด ได้แก่ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมจำพวกที่ 2 และจำพวกที่ 3 กลุ่มอาคารบางประเภทและบางขนาด หรืออาคารประเภท ก และ อาคารประเภท ข ที่ดินจัดสรรประเภท ก ที่ดินจัดสรรประเภท ข รวมถึงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ก และ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ข อีกทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้การดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย ในพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
704 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐาน ที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
705 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อน จากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1 เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2 ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
706 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตยานนาวา ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากร ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่ม ให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตยานนาวา จึงได้จัดทำโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา เพื่อให้มีฐานข้อมูลจำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่างๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตยานนาวา และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวาได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
707 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต เป็นข้อมูลในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
708 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
709 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ กรุงเทพมหานครมีนโยบายการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆของแหล่งกำเนิดน้าเสียสถานประกอบการในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานครในรูปแบบเอกสารและข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลและจัดการข้อมูลในลักษณะต่างๆได้ ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 1.เพื่อสำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสีย 2.เพื่อการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบ้าบัดน้าเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ สำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์และจัดส่งให้สำนักการระบายน้าให้ทันภายในเดือนมิถุนายน 2563 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
710 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 มิติที่1(บูรณาการ)กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ - เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย - เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต - สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 - ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
711 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 จัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร จากสถานการณ์น้ำเสียของแหล่งน้ำสาธารณะในปัจจุบัน มีปัญหาที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น กรุงเทพมหานครจึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ โดยพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น สำนักงานเขตบางกะปิ ได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องจัดทำฐานข้อมูล จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผนและกำหนดแนวทางการดำเนินงานต่อไป เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางกะปิ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางกะปิ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตบางกะปิที่มีการบำบัดน้ำเสีย โดยประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
712 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
713 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด 1.เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางเขน ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2.เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
714 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียพื้นที่เขตมีนบุรี 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ เพื่อเตรียมการจัดเก็บค่าบำบัดนำ้เสียของกรุงเทพมหานคร 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 ( 80 คะแนน) 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ (20 คะแนน) มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
715 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) เป็นการบูรณาการสำนักระบายน้ำเพื่อประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
716 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ -สำนักงานเขตคลองสานจึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตคลองสานเพื่อสนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร -เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตคลองสาน เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย -เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำทั่วทั้งกรุงเทพมหานครเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ผู้ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
717 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันแหล่งน้ำถูกแหล่งกำเนิดน้ำเสียสถานประกอบการปล่อยนำ้เสียลงแหล่งน้ำ เพื่อควบคุมไม่ให้น้ำเน่าเสียจึงต้องมีการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียขึ้น ให้มีการบำบัดก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำ เพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของแหล่งกำเนิดนำ้เสียสถานประกอบการในพื้นที่ มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
718 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น 1.เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 2.เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อให้มีข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล และประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแก่ผู้ประกอบการเป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
719 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหารที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้วความพยามยามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียเบื้องต้นหรือสนับสนุนให้มีระบบบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐาน ซึ่งแนวทางดังกล่าวจำเป็นจะต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำ ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
720 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีคูณความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณี ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็สนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัด น้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสาทร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตสาทร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียจากสถานประกอบการ และเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำเพื่อให้สามารถใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
721 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย และการตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
722 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
723 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
724 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร (โครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ) ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แนวทางที่จะลดความสกปรกให้กับแหล่งน้ำธรรมชาติ คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น และควบคุมให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง การแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้วางแผนกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป 1 เพื่อสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัด้ก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียจำนวน 1 ฐานข้อมูล และมีแผนที่แสดงความหนาแน่นของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย รวมถึงมีแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
725 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
726 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการ การจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง และมีสถานประกอบการจำนวนมาก ส่งผลให้มีการใช้น้ำในปริมาณมากเช่นกัน แต่ปัจจุบันยังพบมีการลักลอบปล่อยน้ำที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ โดยเฉพาะน้ำที่ถูกปล่อยจากสถานประกอบการ ก่อให้เกิดน้ำเสียเป็นวงกว้าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูล ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จึงจัดทำโครงการ การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ขึ้น เพื่อสำรวจสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปริมาณน้ำที่ใช้ในทุกกิจกรรม และดูแลควบคุมให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ 1. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม, อาคารประเภท ก และประเภท ข, ที่ดินจัดสรร และสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาดำเนินการในเรื่อง การจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย อย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
727 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
728 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสียประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตหลักสี่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตหลักสี่ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตหลักสี่ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการ ในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตหลักสี่และขยายไปให้ครอบคลุมทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) โดยเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ เพื่อประสานความร่วมมือกับ สถานประกอบการต่างๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
729 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 แผนงานกิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม ประกอบกับการประกอบกิจการทุกประเภทได้มีผลกระทบกับแหล่งน้ำเช่นกัน ลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลเช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียคุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของกิจกรรมสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการและประชาสัมพันธ์ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 50 แห่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
730 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการจราจร (ม.2.3.2.2.4) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการบริหารจัดการจราจรบริเวณจุดทางแยกสำคัญๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 238 กล้อง และจอแสดงผล จำนวน 50 จอ เพื่อใช้ในการตรวจสอบสภาพจราจร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะทำการส่งข้อมูลภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบการเชื่อมโยงสัญญาณข้อมูล และระบบเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มายังศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยงข้องของงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาลสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาโดยช่างผู้ชำนาญการ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน 22,400,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
731 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร (ม.2.3.2.2.3) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. เพื่อให้มีการแสดงภาพการจราจรที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) บริเวณทางแยกต่างๆ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลการจราจรเพื่อประกอบการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการจราจร 1. ปรับปรุง บำรุงรักษา ตรวจสอบและแก้ไขระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร จำนวน 498 กล้อง และอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง ให้สามารถใช้งานได้ดีและมีประสิทธิภาพ 2. เชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งแสดงเส้นสีที่แจ้งถึงระดับการติดขัด 29,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
732 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 กิจกรรมรวบรวมฐานข้อมูลต้นไม้ กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
733 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ด้วยกรุงเทพมหานครได้จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร โดยมีเป้าหมายให้แต่ละสำนักงานเขตนำพื้นที่สวนสาธารณะ สวนหย่อม สวนป่า สวนถนน และสวนบนอาคารสูง (Green Roof) ที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน มาลงในระบบฐานข้อมูลในเว็บไซด์ http://203.155.220.220/parks เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี จึงได้จัดทำ “โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2563” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจ รวบรวม ข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี มาลงในระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร และให้เป็นไปตามตัวชี้วัดเจรจาตกลงเพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อสำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ที่สำนักงานเขตราชเทวีดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน 2. เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 1. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามศักยภาพของเขต 2. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) 12 แห่ง ต่อปี 3. นำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
734 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร เนื่องจากในปัจจุบัน กรุงเทพมหานครประสบปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อมทางอากาศ ทางน้ำ เสียง ผุ่นละออง สารพิษต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต้องมีพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพิ้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางพลัดจีงได้จัดทำโครงการเพื่อหาพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นพื้นที่ดูดซับฝุ่นละออง ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าชคาร์บอนมอนอกไซด์จากท่อไอเสียรถยนต์ และลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.1เพื่อดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่ 3 ในการพัฒนากรุงเทพมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อลดปริมาณฝุ่นละออง ลดภาวะโลกร้อน 2.3 เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนส่งผลให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ 2.4 เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน เป้าหมาย 3.1 พื้นที่รกร้าง ที่โล่งในศาสนสถานที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1 ไร่ ขึ้นไป 3.2 พื้นที่ทำการเกษตรเดิม 3.3 พื้นที่ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น 3.4 แหล่งน้ำ สระน้ำ หนองน้ำ บึง ซึ่งมีน้ำท่วมขัง ที่ลุ่ม คลอง 3.5 สนามกอล์ฟ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
735 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลพื้นที่สีเขียวโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
736 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
6.2. 2563 โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริง จากผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 พบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านการคิดคำนวณของนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เท่ากับ 34.13 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ จากผลการทดสอบดังกล่าวแสดงให้เห็นว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีปัญหาเรื่องทักษะด้านการคิดคำนวณ ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้นของนักเรียน สำนักการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการนำเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน เห็นว่าเทคโนโลยีเสมือนจริง (AR) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของครูในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน และส่งเสริมให้มีการนำเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1. เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2. เพื่อผลิตสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 1 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติการสอนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 3,978,500.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
737 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง สืบเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาการศึกษา โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อให้สอดคล้องตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา เป้าหมาย การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ รองรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร 14,375 คน และนักเรียนในสังกัดจำนวน 286,719 คน ทั่วพื้นที่ 50 สำนักงานเขต สำนักการศึกษาจึงจัดทำโครงการเช่าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยกำหนดวัตถุประสงค์การใช้และการบริหารจัดการห้องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพได้มากขึ้น 1. เพื่อพัฒนานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในทุกระดับ 2. เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมห้องคอมพิวเตอร์ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และเพื่อเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนและนักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย 3. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร รองรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป้าหมายรวม โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 437 โรงเรียน มีห้องคอมพิวเตอร์สำหรับจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพครบทุกโรงเรียน ด้านปริมาณ 1. พัฒนาห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 437 โรงเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ จำนวน 576 ห้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 21,916 เครื่อง 2. พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์สำนักการศึกษา จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ 1) พัฒนาศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 51 เครื่อง 2) พัฒนาศูนย์ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย จำนวน 1 แห่ง ด้านคุณภาพ 1. นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีองค์ความรู้และความสามารถใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีองค์ความรู้และความสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการสอนและสร้างสื่อการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 63,298,900.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
738 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 4.1 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการศึกษา ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) 0.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
739 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการศึกษา สำนักการศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร มีส่วนราชการภายใน 8 ส่วนราชการ ซึ่งแต่ละส่วนราชการมีข้อมูลต่างๆ มากมาย แต่ยังขาดระบบการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลในระดับฐานข้อมูลระหว่างส่วนราชการและสถานศึกษา ทำให้เกิดปัญหาด้านความถูกต้อง ความซ้ำซ้อนของข้อมูล และข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน การนำระบบบริหารข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะทำให้การเชื่อมโยงข้อมูลภายในส่วนราชการของสำนักการศึกษาและสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์และการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา สำหรับเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก และให้บริการข้อมูลในรูปแบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) 2. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาระหว่างหน่วยงานภายในสำนักการศึกษา โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับการใช้งานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาทุกมิติให้มีประสิทธิภาพ รองรับนโยบายของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักการศึกษากับฐานข้อมูลกลางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ 1. ด้านปริมาณ สำนักการศึกษา และโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 437 โรงเรียน มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน 2. ด้านคุณภาพ 1. สำนักการศึกษาและโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน 2. โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศในการจัดการด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 18,226,400.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
740 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
6.2. 2563 โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษครู เพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนด้วยสื่อนวัตกรรมใหม่ สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันภาษาอังกฤษถือเป็นภาษากลางของโลกที่คนต่างภาษาต่างวัฒนธรรมใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ความสำคัญนี้จึงทำให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองรองจากภาษาประจำชาติ และภาษาอังกฤษมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนไทยทุกคนทั้งเพื่อการติดต่อสื่อสารโดยตรงกับชาวต่างชาติและเพื่อใช้แสวงหาสืบค้นข้อมูลความรู้จากแหล่งต่าง ๆ จำนวนมากที่เป็นภาษาอังกฤษ ไม่ว่าอยู่ในรูปแบบของหนังสือ บทความ วารสาร หรือข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การมีทักษะภาษาอังกฤษจะทำให้ได้รับโอกาสที่ดีในหลายๆ ด้าน เพราะนอกจากจะสามารถติดต่อสื่อสารได้แล้ว ยังสามารถเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ เพิ่มโอกาสในการพัฒนาตนเอง สามารถสร้างวิสัยทัศน์ พัฒนาความคิด ทัศนคติ และสามารถเป็นผู้ตามทันโลกอีกด้วย ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้เล็งความสำคัญและประโยชน์ระยะยาวของการมีทักษะภาษาอังกฤษของบุคลากรในองค์กรจึงมีนโยบายส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อการพัฒนาศักยภาพของตนเองที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนกรุงเทพมหานครในอนาคต สำนักการศึกษาจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษครู เพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนด้วยสื่อนวัตกรรมใหม่ สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยให้ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทางภาษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และให้ครูสามารถปฏิบัติงานการสอนให้แก่นักเรียนได้อย่างเต็มที่ ลดการออกนอกห้องเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย "คืนครูสู่ห้องเรียน" ของกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อพัฒนาและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร 2 เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรู้ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้กว้างขวางขึ้นจากแหล่งเรียนรู้ที่เป็นภาษาอังกฤษ ส่งผลสัมฤทธิ์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในทุกวิชา 1 ด้านปริมาณ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน ๓,๐๐๐ คน เข้ารับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษครู เพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนด้วยสื่อนวัตกรรมใหม่ 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครสามารถนำความรู้และทักษะภาษาอังกฤษไปใช้การจัดการเรียนการสอนในวิชาที่รับผิดชอบได้ 29,287,600.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 35.00
741 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดีที่สุด เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
742 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนให้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับระดับความรู้ความสามารถซึ่งพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิด และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 2.1 เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ 2.2 เพื่อส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ให้เป็นศูนย์กลางการประสานงานและการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อการแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์และเหมาะสม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความเสียสละ ยึดมั่นในคุณธรรม ดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข มีจิตสาธารณะร่วมพัฒนา ชุมชน สังคมและประเทศ 3.1 จ้างอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ จำนวน 1 คน 3.2 กิจกรรมการประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตและผู้เกี่ยวข้องประจำเดือน จำนวน 20 คน จัดประชุม จำนวน 6 ครั้ง/ปี 3.3 กิจกรรม “เด็กไทยยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตฯ นักเรียน นักศึกษาจากสถานศึกษาในพื้นที่เขต พร้อมผู้เกี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ดำเนินการรวมทั้งสิ้น 50 คน 3.4 กิจกรรม “สานสัมพันธ์สภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่”กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตฯ นักเรียน นักศึกษาจากสถานศึกษาในพื้นที่เขต พร้อมผู้เกี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ดำเนินการรวมทั้งสิ้น 60 คน ณ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 149,800.00 1,500.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
743 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล - มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 มีการนำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองครบทุกรายการ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
744 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 61.00
745 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อมูลที่ดินของรัฐ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ดินที่เป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินแผ่นดินธรรมดา หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ซึ่งรัฐยึดถือครอบครองไว้เป็นประโยชน์แห่งรัฐ เฉพาะประเภท ที่ราชพัสดุ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมธนารักษ์ และประเภท ที่ดินที่ได้รับ นสล. (หนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง) ซึ่งเป็นหนังสือแสดงสิทธิในการขอใช้ประโยชน์หรือร่วมกันใช้ที่ดินในเขตที่ราชพัสดุ หรือเขตสาธารณประโยชน์ที่ออกโดยกรมที่ดิน โดยเป็นเอกสารสิทธิแสดงแนวเขตที่ดินของรัฐ ซึ่งอาจจะออกเป็นแปลงใหญ่รวมกันและระบุชื่อหน่วยงานที่ใช้ประโยชน์ไว้ได้ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมที่ดิน เฉพาะที่มีการเปลี่ยนแปลง และอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้นำส่งให้สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลักษณะขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ประกอบข้อมูลคำอธิบาย ได้แก่ เลขที่เอกสารสิทธิ ขนาดพื้นที่ และสภาพการใช้พื้นที่ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ กรุงเทพมหานครได้มีฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
746 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองตามผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแผนที่เขตพระนครถูกต้องเป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ท้้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก - เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง - เพื่อส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านส่งสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองครบถ้วนตามที่ได้รับอนุญาต 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
747 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่ กท 0502/1778 ลว.3ก.ย.2556 กำหนดให้มีการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2557 ของหน่วยงานให้เหมาะสมกับงบประมาณรายจ่ายของโครงการที่ได้รับจัดสรร และนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต ประจำปีงบประมาณ 2557 บรรจุในแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งสำนักผังเมืองและสำนักงานเขต 50 เขต ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บ รวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง ฝ่ายทะเบียนลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายโยธาลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
748 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน 3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว ตัวชี้วัด -ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ค่าเป้าหมาย -ร้อยละ 100 วิธีการคำนวณ - จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
749 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาตาร เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ดำเนินการลงจุดตามคำขอเลขหมายประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
750 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย กรุงเทพมหานคร มีระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ โดยสำนักผังเมืองเป็นผู้ออกแบบ สำนักงานเขตบางเขนได้นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย เพื่อนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการค่าธรรมเนียมขยะ นำระบบสารสนเทศจากสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการ 1 ฝ่าย (1 ระบบ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
751 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
752 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 ทำขึ้นเพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีกรอบและทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2563 ที่ชัดเจน ในส่วนของฝ่ายทะเบียน มีลักษณะงานประจำ สอดคล้องกับสถานการณ์และทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม กำหนดโครงการสำคัญในแผน กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแห่งพื้นที่ ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมุลทางภูิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบ ค้นหาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 2. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชัน สำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามรถกระทำได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใชในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ซึ่งปลุสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผที่สารสนเทศภุมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
753 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
754 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
755 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2563 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
756 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการ การพิจารณาอนุญาตสถานประกอบกิจการให้ประกอบกิจการได้ต้องอาศัยกระบวนการตรวจสอบสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ และต้องนำเอกสารหลักฐานมายื่นขอประกอบด้วย 1. สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ของเจ้าของกิจการ 2. สำเนาบัตรทะเบียนบ้านสถานประกอบกิจการ 3. หรังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 4. หลักฐานการขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร 5. หลักฐานแสดงกรรมสิทธิหรือสิทธิ์ในการใช้อาคารที่เป็นสถานประกอบการ 6. ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการจากส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. แผนที่แสดงที่ตั้งสถานประกอบกิจการ 1.เพื่อนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน 2. เพื่อนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่ -นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน และนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
757 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง 4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 5. ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
758 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อนสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และการลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผลระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
759 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดที่แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร โดยส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9) 1. เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อใหัผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 4. เพื่อสะดวกและง่ายต่อการตรวจสอบ กำหนดจุดตำแหน่งบ้านได้ถูกต้องแม่นยำ 1. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานลงจุดสามารถกำหนดตำแหน่งการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขรหัสประจำบ้านชัดเจนและเป็นไปตามมาตรฐานสากลครบทุกหลังคาเรือน ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. สามารถกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่ง ในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9) ทุกหลังคาเรือนได้อย่างถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
760 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ 2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
761 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
762 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม - กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพสอดคล้องกับระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ - ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวมและเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง - สำรวจ จัดเก็บรวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบทุกจุดในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย (GIS) ของสำนักผังเมือง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
763 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -ปัจจุบันในชีวิตประจำวันของเราได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากทำให้สะดวกรวดเร็วทั้งในการทำงาน การติดต่อสื่อสาร และทำให้มีการตัดสินใจได้อย่างแม่นยำขึ้น ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่มีบทบาทและมีความสำคัญมากในการนำไปประยุกต์ใช้งานในหลากหลายมิตินิยมใช้กันทั่วโลก ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS)คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้ฐานข้อมูลภูมิศาสตร์ (Geographic Database) สำนักงานเขตหลักสี่เล็งเห็นประโยชน์ จึงมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -สามารถนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางานอย่างน้อย 1 งาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
764 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และการนำระบบสารสนเทศ (GIS) ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี ปัจจุบันมีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารใหม่จำนวนมาก ซึ่งเป็นฐาานข้อมูลสำคัญที่แสดงถึงการขยายตัวของเมือง ประกอบกับมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ 1.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดสร้างเพื่อปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลแผนที่ของตำแหน่งอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างถูกต้อง 2.สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นตามข้อมูลแผนที่ที่สำนักงานผังเมืองได้จัดเตรียมไว้ทำให้สะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้สามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว รวดเร็วและมีความถูกต้อง 3.สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบความสอดคล้องการกำหนดพื้นที่ปลูกสร้างและการใช้ประโยชน์อาคารกับพระราชบัญญัติผังเมืองรวมและข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครที่บังคับใช้ 4.การใช้ประโยชน์อาคารสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลที่มีอยู่ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2. สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่จัดอยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนได้รับรู้และนำไปเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจ หรือวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ต่อไปในอนาคตได้ด้วย 3. ฝ่ายรายได้สามารถนำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
765 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900) การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
766 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 (15.ทะเบียน)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร - ด้วยกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง ได้จัดทำโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตก่อสร้างอาคารและการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งสำนักงานเขตสะพานสูง ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้การดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต และสอดคล้องกับโครงการของสำนักผังเมือง จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งในการปรับปรุงแผนที่ - เพื่อแสดงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง - เพื่อเป็นการสอดคล้องกับโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันของกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง และเป็นการปฏิบัติงานต่อเนื่อง - เพื่อเป็นการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศมาใช้ในการลงจุดแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้าน - เพื่อเป็นการจัดทำข้อมูล สถิติ การออกเลขรหัสประจำบ้าน - จัดทำรายงานสรุปผลส่งสำนักผังเมือง จำนวน 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
767 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 โครงการการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เขตวังทองหลางถือเป็นเขตชั้นในเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ซึ่งประกอบไปด้วย 9 เขตได้แก่ เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ เขตดุสิต เขตดินแดง เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตห้วยขวาง และเขตวังทองหลาง โดยสภาพทั่วไปของเขตวังทองหลางนั้น เป็นเขต ที่มีการผสมผสานระหว่างอุตสาหกรรม การพาณิชย์ ที่พักอาศัย และการคมนาคม ดังนั้น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตวังทองหลาง จึงมีความหลากหลาย ที่ผสมผสานกันทั้งวัฒนธรรม ศาสนา มีย่านเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นแหล่งรวมของร้านอาหารมากมาย ซึ่งถือว่าพื้นที่เขตวังทองหลางยังสามารถรองรับการขยายตัวของเมืองได้อีกพอสมควร การใช้ประโยชน์จากที่ดินดังกล่าว ประกอบกับความเจริญของสังคมเมือง ซึ่งต้องเติบโตไปพร้อม ๆ กันนี้เอง ทำให้ในพื้นที่เขตวังทองหลาง ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ประโยชน์จากที่ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยให้มากที่สุด การปลูกสร้างบ้านเรือน ทั้งในรูปของหมู่บ้านต่าง ๆ อาคารพาณิชย์ อาคารอยู่อาศัย ทั้งอาคารชุด อพาร์ตเม้นท์ ก็เกิดขึ้นตามมา ดังนั้นวิธีการหนึ่งที่ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ เพื่อควบคุมและตรวจสอบจำนวนบ้านในพื้นที่เขตวังทองหลาง ที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการกำหนดเลขบ้าน พร้อมให้รหัสประจำบ้านทุกหลัง ที่ได้ทำการปลูกสร้างตามที่ได้ขออนุญาตปลูกสร้างอย่างถูกต้อง และได้รับความร่วมมือจากสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร จัดทำโปรแกรมการปฏิบัติงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถที่จะกำหนดจุดบ้านที่ได้มีการให้รหัสประจำบ้านเรียบร้อยแล้ว 1. เพื่อใช้ตรวจสอบจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขบ้านให้เรียบร้อยแล้ว หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างแล้วเสร็จ 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่เขตวังทองหลางให้รองรับการเป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. เพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยด้านโครงสร้างพื้นฐานของเมือง ร้อยละของจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ร้อยละ 100) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
768 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
4.2. 2563 โครงการบูรณาการการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (Digital Signage) เพื่อศึกษา วิเคราะห์และออกแบบเครื่องมือในการรวบรวม และบูรณาการสื่อประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อที่จะได้มาซึ่งระบบสารสนเทศที่ดี มีความเหมาะสมกับการทำงานของกรุงเทพมหานคร สามารถรองรับการบริหารจัดการได้ทุกภาคส่วน รองรับการประกันคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล สามารถนำสารสนเทศที่ได้ไปประกอบการวางแผน การตัดสินใจในการบริหาร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยข้อมูลในระบบจะต้องมีความถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือสูง ทันต่อเหตุการณ์ และมีกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความร่วมมือในการทำกิจกรรม นำไปสู่การยอมรับและปฏิบัติให้แพร่กระจายออกไปอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง 1. เพื่อร่วมศึกษาปัญหาและโครงสร้างของระบบสารสนเทศที่มีอยู่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งแนวทางการนำเสนอสารสนเทศสำหรับผู้ใช้งานในแต่ละระดับ 2. เพื่อให้สำนักงานประชาสัมพันธ์มีศักยภาพในการวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเป็นระบบ มีฐานข้อมูลที่ความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร 3. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศกลางที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ 4. เพื่อให้สื่อประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานครได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพก่อนการนำเสนอ เพื่อให้เกิดการบูรณาการด้านการประชาสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 80 เพื่อที่จะได้มาซึ่งข้อมูลในการจัดทำระบบสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ลดขั้นตอนและเวลาในการทำงาน สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร 535,000.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 5.00
769 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
4.2. 2563 การดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานประชาสัมพันธ์ ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 5 ขี่นตอน 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
770 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2563 กิจกรรมการสร้างฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักการคลัง มีภารกิจความรับผิดชอบโครงการศูนย์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร ซึ่งต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จึงควรมีการสร้างฐานข้อมูลเพื่อให้เป็นแหล่งจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูล สถิติที่เกี่ยวข้อง - เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจให้แก่นักธุรกิจและผู้สนใจ - กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
771 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2563 โครงการจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน สำนักงานการส่งเสริมอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม ได้ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการได้มีสถานที่จำหน่ายและแสดงสินค้า รวมถึง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของประชาชนโดยทั่วไป ทั้งนี้จากการดำเนินงานที่ผ่านมายังพบว่าข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยังไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการสืบค้น การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การวางแผน การติดตามประเมินผลและการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงานดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการด้านการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน 1. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการทำรายงาน สถิติข้อมูล 3. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการบริหารจัดการและพัฒนาผู้ประกอบการ และผลิตภัณฑ์ชุมชน 4. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วมจำหน่ายสินค้าในงานต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และทั่วถึง จัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการส่งเสริมการจำหน่าย 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
772 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 กิจกรรมการจัดทำเว็บไซต์ของสภากรุงเทพมหานคร (เป็นกิจกรรมในโครงการการประชาสัมพันธ์งานของสภากรุงเทพมหานคร) การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบบทบาทหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานครจะทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และบทบาทของสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งจะช่วยเพิ่มช่องทางให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะข้อคิดเห็นในการพัฒนากรุงเทพมหานครและแจ้งปัญหาความเดือดร้อนผ่านทางสภากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานคร รวมทั้งข้อมูลข่าวสาร ภารกิจและผลการดำเนินงานของสภากรุงเทพมหานครให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบ 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภากรุงเทพมหานครซึ่งเป็นองค์กรสำคัญหนึ่งของการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ อันจะช่วยเสริมสร้างและกระตู้นให้เกิดการมีส่วนร่วมพัฒนากรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานคร จัดให้มีการผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสภากรุงเทพมหานครให้ประชาชนได้ทราบ ในรูปแบบ 2 ภาษา เพื่อให้ครอบคลุมถึงประชาชนทุกกลุ่มที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 0.00
773 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของสภากรุงเทพมหานครผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติ และกระทู้ ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยมีระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อให้มีฐานข้อมูลที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 2. เพื่อสนับสนุนข้อมูลในการปฏิบัติงานให้กับสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญ สภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประชาชนที่สนใจ สามารถสืบค้นข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยการสืบค้นผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ให้มีฐานข้อมูลที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
774 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 โครงการบริหารการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร (SBMC Unified Communications) สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีแนวคิดที่จะพัฒนาการประชุมสภากรุงเทพมหานคร ให้มีความสะดวกรวดเร็ว ก้าวสู่ความเป็นเลิศ มีความทันสมัย รองรับการเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 1. เพื่อให้สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีระบบการบริหารจัดการด้านการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์สำหรับให้บริการแก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครและบุคลากรของหน่วยงาน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงานภายในสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร 1. ผู้รับบริการสามารถติดต่อสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน รวมถึงสามารถค้นหาและส่งผ่านข้อมูลที่เกี่ยวกับภารกิจของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครและข้อมูลอื่นๆ ตลอดรวมถึงสามารถรับทราบกิจกรรมการประชุมอันเป็นภารกิจที่สำคัญ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา 2. การใช้กระดาษสำหรับจัดทำเอกสารเชิญประชุมคณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญและคณะอนุกรรมการลดลง 3. อย่างน้อย 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
775 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
776 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 1.4 โครงการการติดตามข้อมูลการลงพื้นที่ของผู้บริหาร การดูแลคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนชาวกรุงเทพมหานครเป็นภารกิจหลักในการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ของผู้บริหารกรุงเทพมหานครทุกคน ที่ต้องใส่ใจและจริงจังในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน รวมทั้งการพัฒนาทางด้านกายภาพและการบริการในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประชาชน กระบวนการในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและสำเร็จตามแผนงานที่วางไว้ จำเป็นต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุมหรือลงพื้นที่ติดตามงาน การลงพื้นที่เป็นภารกิจของผู้บริหารในการปฏิบัติงานนอกสถานที่ เพื่อรับทราบข้อมูลเชิงประจักษ์ รับรู้ข้อเท็จจริงของการดำเนินการในโครงการนั้น ๆ ทั้งสภาพพื้นที่ รูปแบบการทำงานความก้าวหน้าของโครงการ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานและแนวทางการแก้ไขจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ซึ่งผู้บริหารตามโครงการนี้หมายถึงรองผู้ว่า-ราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจสอบ ติดตาม และ/หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในส่วนงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้งาน โครงการต่าง ๆ สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งภายหลังลงพื้นที่และมีข้อสั่งการใด ๆ แล้ว การติดตามข้อมูลความคืบหน้าในกรณีนั้น ๆ ถือเป็นเรื่องจำเป็นและสำคัญ กลุ่มงานเลขานุการรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการนี้ เพื่อติดตามข้อมูลการลงพื้นที่ของผู้บริหาร และเร่งรัดผลักดันให้งาน/โครงการนั้น ๆ สำเร็จเป็นรูปธรรม สามารถแก้ไขปัญหาให้กับหน่วยงาน และประชาชนได้ 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามงาน และการรายงานผลความคืบหน้าอย่างชัดเจนมีระยะเวลาการติดตามที่แน่นอน และมีการจัดเก็บผลการติดตามงานอย่างเป็นระบบ สามารถรายงานผล เสนอต่อผู้บริหารได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และรวดเร็ว 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สามารถรับทราบปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการได้ในระยะเวลารวดเร็ว ทำให้สามารถตัดสินใจและหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ติดตามผลจากข้อสั่งการในการลงพื้นที่ของรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 คน 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
777 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงาน ก.ก. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 กำหนดตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อรวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 2. เพื่อนำข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3. นำฐานข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครมาใช้ประมวลผลเป็นสารสนเทศสำหรับการวางแผนบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครได้ มีฐานข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครที่สามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศสำหรับการวางแผนทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
778 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.ความสำเร็จในการให้บริการติดตามหนังสือราชการผ่าน Line@ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 กรุงเทพมหานครได้กำหนดเป้าหมายที่จะให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ (SMART CITY) มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชนหรือมีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และหรือภาคเอกชน 1. เพื่อเพิ่มช่องทางในการติดตามหนังสือราชการให้กับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้บริการติดตามหนังสือราชการของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการติดตามหนังสือราชการของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 1. เพิ่มช่องทางในการติดตามหนังสือราชการจำนวน 1 ช่องทาง (Line@) 2. เจ้าหน้าที่ส่วนเลขานุการแจ้งรับทราบการติดตามหนังสือราชการผ่าน Line@ ภายใน 15 นาที 3. เจ้าหน้าที่ส่วนเลขานุการแจ้งผลการติดตามหรือความคืบหน้าของหนังสือราชการผ่าน Line@ ภายใน 30 นาที 4. ผู้ใช้บริการที่ประเมินความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการให้บริการติดตามนังสือราชการ ของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานครในระดับมากหรือมากที่สุด 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
779 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 5. กิจกรรมการศึกษาแนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศที่ใช้ในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของศูนย์ กทม.1555 ตามแผนปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 ได้กำหนดให้มีโครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์กทม. 1555 เป็นโครงการเร่งด่วน (Quick Win) และโครงการเป้าหมายสำคัญ (Flagship) ระยะกลาง ที่ต้องดำเนินการในปี พ.ศ. 2563 แต่เนื่องด้วยการดำเนินการโครงการดังกล่าวนั้น มีความจำเป็นต้องศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการเรื่องเรียน ข้อดีข้อเสีย ความเป็นไปได้ และความเสี่ยงในการจัดทำระบบฯ เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนในยุค Thailand 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อกำหนดเป็นแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์กทม. 1555 ต่อไป 1. เพื่อศึกษาแนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศที่ใช้ในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการศูนย์กทม. 1555 2. เพื่อนำผลการศึกษาฯ มาดำเนินการพัฒนาให้เป็นรูปธรรม สามารถนำมาพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการศูนย์กทม. 1555 1. มีผลการศึกษาฯ ฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ 2. สามารถนำผลการศึกษาฯ มาดำเนินการพัฒนาให้เป็นรูปธรรมอย่างน้อย ๑ ชิ้นงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
780 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กรุงเทพมหานครมีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/42 ลงวันที่ 28 มกราคม 2563 แจ้งแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ให้หน่วยงานทราบและพิจารณาดำเนินการ เพื่อให้การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ-มหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย กลุ่มงานสารบรรณกลางและบริหารเอกสารได้จัดกิจกรรมผลักดันศูนย์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยดำเนินการตรวจการนำเข้าข้อมูลในศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นประจำทุกเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม-มิถุนายน 2563 และดำเนินการนำเข้าข้อมูลการตรวจศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ในระบบบันทึก ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 โดยดำเนินการตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายน 2563 เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบฐานข้อมูลของ สลป.ได้ สามารถจัดทำระบบฐานข้อมูลของ สลป.ได้จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
781 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 6. โครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2548 เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อีกทั้งระบบดังกล่าวใช้งานมานาน เป็นเวลา 12 ปีแล้ว และปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งเอเชีย" ซึ่งเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าวได้นั้น คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมเกิดประโยชน์ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลดิจิทัล โดยพัฒนาตาม "กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ" หรือ "Thailand e-Government Interoperability Framework"(TH e-GIF) 1. เพื่อนำไปสู่เป้าหมายสูงสุดในการสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุด เดียวกัน ด้วยการบูรณาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเข้าด้วยกัน 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณ สำหรับการรับ-ส่งหนังสือระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการสั่งการของผู้บริหารและเพิ่มความสะดวกในการกระจายงานสู่ผู้ปฏิบัติ 4. เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และการสืบค้นเอกสารของหน่วยงานได้อย่างมีระบบ ลดปัญหาเอกสารฉบับจริงสูญหาย โดยจัดเก็บสำเนาเอกสาร ไว้ในระบบและรักษาความสำคัญของข้อมูลสารบรรณด้วยระบบรักษาความปลอดภัยและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. เตรียมพร้อมโครงสร้างระบบข้อมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้กรอบ TH e-GIF เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับส่วนราชการอื่น ๆ ได้ในอนาคต 6. เพื่อสามารถบริหารจัดการข้อมูล ลดจำนวนการใช้งานหรือยกเลิกการใช้กระดาษและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 7. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามสถานะของหนังสือ/เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงระยะเวลาดำเนินการ ในแต่ละขั้นตอนได้ 8. เพื่อให้มีระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อำนวยความสะดวก รวดเร็ว ในการเวียนหนังสือภายใน 9. เพื่อให้สามารถจองห้องประชุมในระบบ และสามารถนัดหมายการประชุมกับผู้บริหารในระบบได้ เป็นระบบที่ออกแบบให้สามารถให้บริการครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทั้ง 77 หน่วยงาน/ส่วนราชการ ได้แก่ 16 สำนัก สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเพมหานคร สำนักงานเขต 50 เขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 ส่วนราชการ โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน โดยมีระบบงานที่จะเกิดขึ้นได้แก่ ระบบงานสารบรรณและจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารจัดการห้องประชุม ซึงหน่วยงานเข้าใช้งานแบบเต็มระบบจะสามารถใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องการรับ-ส่งหนังสือการร่างหนังสือการค้นหาและติตตามงาน การปิดงานและยกเลิกเอกสาร การออกเลขหนังสือ การใช้งานระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบบริหารจัดการห้องประชุม 10,800,000.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-11-27 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
782 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (19) โครงการพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สนป. มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลการบริหารงานบุคคล เพื่อนำไปใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลของ กทม. ที่อยู่ในอำนาจของปลัดกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
783 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สปท.3/กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูล และให้บริการข้อมูลมูลนิธิ สมาคม ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ การจัดทำฐานข้อมูล หมายถึง การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา ให้บริการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด มูลนิธิ หมายถึง ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อกุศลสาธารณะ ศาสนา ศิลปะ หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ สมาคม หมายถึง การจัดตั้งเพื่อการกระทำการใดๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกัน และมิใช่เป็นการหากำไร/รายได้มาแบ่งปันกัน 1. การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา 2. การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด 1. การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา 2. การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
784 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สปท.15/กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสำนักงานปกครองและทะเบียน ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
785 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายโครงการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ 237,500.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 10.00
786 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โครงการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร ระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
787 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมความรู้ด้านการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระบบสารสนเทศสำหรับสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 41,436.00 41,436.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
788 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 05 - กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตรวจราชการ ด้วยการเก็บข้อมูลหน่วยรับการตรวจในปัจจุบันยังไม่มีระบบที่เป็นมาตรฐาน ส่งผลให้การสืบค้นข้อมูลมีความลำบาก กองงานผู้ตรวจราชการจึงได้จัดทำฐานข้อมูลของหน่วยรับการตรวจ 77 หน่วยงาน เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชกากรุงเทพมหานคร เช่น ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสถิติต่าง ๆ งบประมาณ ปัญหาร้องเรียน ข้อมูลถนน/คูคลองไฟฟ้าสาธารณะ เป็นต้น เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยรับการตรวจ 77 หน่วยงาน เสนอผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ประกอบการตรวจราชการ ผู้ตรวจราชการนำข้อมูลไปใช้สนับสนุนการตรวจราชการ ร้อยละ 80 0.00 0.00 ** กองงานผู้ตรวจราชการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
789 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 มิติที่ 4.1 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด 0.00 0.00 ** กองงานผู้ตรวจราชการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
790 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2563 หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเพิ่มศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ (โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์) ในบริบทของโลกปัจจุบัน รัฐบาลระดับเมืองได้รับการคาดหวังให้เป็นผู้ผลักดันและแก้ไขปัญหาระดับโลก เช่น ความมั่นคงที่เกี่ยวเนื่องกับการก่อการร้าย ความเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความรุนแรงของภัยธรรมชาติ ตลอดจนปัญหามลพิษ กรุงเทพมหานครก็เช่นเดียวกัน ต้องเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินภารกิจที่มีความซับซ้อน มีขอบเขตกว้างขวางขึ้น คาดเดาได้ยากขึ้น และจัดการได้ยากขึ้น รวมทั้งยังต้องพยายามปรับองค์กรให้เท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงแบบขุดรากที่เกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิตอล (Technology Disruption) เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการตามภารกิจได้อย่างเท่าทันต่อบริบทของปัญหากรุงเทพมหานครมีความจำเป็นต้องยกระดับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้ก้าวทันและพร้อมรับมือกับอนาคตที่ ไม่สามารถคาดหมายทำนาย (Future-ready) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผ่านการเรียนรู้จากเมืองต้นแบบ หรือองค์กร ชั้นนำในต่างประเทศ ที่เป็นผู้นำและสามารถเป็นแบบอย่างการดำเนินการที่ดี ในการนี้ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครในฐานะหน่วยงานหลักด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้ตระหนักถึงความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากรในสังกัดของสถาบันฯ ให้มีศักยภาพ จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเพิ่มศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ในลักษณะของการ “พัฒนาผู้พัฒนาทรัพยากรบุคคล” (Training the Trainer( ประกอบด้วยการฝึกอบรมในประเทศ และการเพิ่มพูนวิสัยทัศน์และประสบการณ์จากการฝึกอบรมกับองค์กรต้นแบบในต่างประเทศ เพื่อให้บุคลากรสามารถทำงานได้อย่างเป็นมืออาชีพ และสามารถขยายผลไปสู่การยกดับคุณภาพทรัพยากรบุคคลในภาพรวมของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป 1. ทบทวนบทบาทและกระบวนการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาสู่การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวใหม่ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในด้านต่าง ๆ เพิ่มขีดความสามารถในการปฎิบัติงานให้ประสบความสำเร็จมากขึ้น ตลอดจนสามารถบูรณาการความรู้ ไปใช้เพื่อการพัฒนาองค์กร 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความพร้อมในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลขององค์การเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สามารถวางแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมถึงบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร 2.4 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การพัฒนาบุคลากรแนวใหม่ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ด้าน HRD Innovation & Strategic policy Implementation จากวิทยากร และองค์กรชั้นนำต่างประเทศ ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการพิเศษ และประเภทอำนวยการ ระดับต้น สังกัดสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 55 คน ผู้เกี่ยวข้อง 10 คน (เจ้าหน้าที่ดำเนินการ และวิทยากร) 2,481,900.00 353,005.58 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
791 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2563 หลักสูตรการใช้นวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างการพัฒนารายบุคคล (โครงการค่าใช้จ่ายในการเสริมสร้างการพัฒนางานและวัฒนธรรมองค์กร) ปัจจุบันการพัฒนาองค์กรไม่ได้มุ่งเน้นเพียงแต่การพัฒนาคน และระบบงานเท่านั้น เพราะทุกองค์กรมีความตระหนักเช่นเดียวกันว่า ทรัพยากรที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ ข้อมูลความรู้ที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร หากองค์กรใดมีแหล่งข้อมูลที่สามารถสนับสนุนการทำงาน และส่งเสริมการเรียนรู้แก่บุคลากรได้ ก็ถือเป็นความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน และยังเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาในด้านอื่น ๆ ได้ ดังที่เราเรียกว่าองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ซึ่งเป็นแนวคิดในการพัฒนาองค์กรที่เน้นการการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในองค์กร (Team Learning) ส่งเสริมการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องทันต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งมีกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เกิดบรรยากาศของการคิดริเริ่ม (Initiative) โดยมุ่งเน้นการนำนวัตกรรม (Innovation) มาใช้เป็นเครื่องมือบริหารความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนารายบุคคล การบริหารความรู้สำหรับการพัฒนารายบุคคล เป็นการรวบรวมความรู้ที่มีอยู่ในแหล่งต่าง ๆ มาสร้างเป็นคลังความรู้ที่เป็นระบบ รวมทั้งความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ซึ่งถือเป็นทุนความรู้ที่มีคุณค่า โดยใช้เทคนิคการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และนำนวัตกรรมมาเป็นเครื่องมือในการบริหาร เพื่อสร้างเป็นคลังสารสนเทศของหน่วยงาน ให้เกิดประสิทธิภาพด้านการเข้าถึงความรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างค่านิยมขององค์การ (Corporate Value) ด้านองค์กรแห่งการเรียนรู้ อันเป็นการสนับสนุนการพัฒนารายบุคคลตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ดังนั้น สถาบันฯ จึงมีแนวคิดการจัดทำโครงการการใช้นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนารายบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือการจัดการ คลังความรู้ของหน่วยงาน ๒. เพื่อวางแผนจัดเก็บความรู้ในระบบออนไลน์ และแนวทางการสงวนรักษาผลผลิตทางปัญญาขององค์กรในรูปแบบดิจิทัล รวมทั้งวิธีการจัดการและการเผยแพร่ให้ผู้สนใจสามารถรับรู้ เข้าถึงเพื่อการใช้ประโยชน์ ๓. เพื่อวางแผนกำหนดหัวข้อความรู้ที่จำเป็นต้องใช้ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ กรุงเทพมหานคร และส่งเสริมการพัฒนารายบุคคล กลุ่มเป้าหมายที่เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน ๒๐ คน ดังนี้ ๑. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน อาวุโส จำนวน ๒๐ คน ๑ รุ่น ระยะเวลาการอบรมแบ่งเป็นการเรียนผ่านระบบออนไลน์ (E-Training) และการอบรมแบบไป-กลับ ๑ วัน ๒. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน ๖ คน ดังนี้ ๑) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ ๔ คน ๒) วิทยากร ๒ คน 391,800.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
792 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 หลักสูตรการเสริมสร้างความรู้การจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (โครงการค่าใช้จ่ายในการเสริมสร้างการพัฒนางานและวัฒนธรรมองค์กร) การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในปัจจุบัน เป็นการให้ความสำคัญต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กรมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหาร การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การสนับสนุนการปฏิบัติงานขององค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลของบุคลากรเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญต่อการบริหารงานเป็นอย่างมาก ในแต่ละองค์กรจึงกำหนดกลยุทธ์การนำนวัตกรรมมาพัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการบริหาร การวางแผนกำลังคน การพัฒนาและฝึกอบรม เพื่อก้าวทันความเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับการก้าวสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปของสารสนเทศ (Information) ที่ถูกต้อง ทันสมัย และสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ ทั้งนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลให้ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ ต้องเริ่มต้นจากการออกแบบระบบที่ดี เพื่อสามารถนำไปใช้อย่างสอดรับกับภารกิจของหน่วยงาน เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร สถาบันฯ จึงมีแนวคิดการจัดทำโครงการฝึกอบรมการเสริมสร้างความรู้การจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการจัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๒. เพื่อวางแผนการใช้ระบบสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๓. เพื่อศึกษาแนวทางการสนับสนุนข้อมูลทรัพยากรบุคคลเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการจัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้แก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๐๖ คน ดังนี้ ๑. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน อาวุโส จำนวน ๑๐๖ คน แบ่งออกเป็น ๒ รุ่น ๆ ละ ๕๓ คน ระยะเวลาการอบรมรุ่น ๆ ละ ๑ วัน ๒. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวนรุ่นละ ๑๔ คน ดังนี้ ๑) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ ๑๐ คน ๒) วิทยากร ๔ คน 159,400.00 89,294.90 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
793 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2563 หลักสูตรการฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์) ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบงานคอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงาน และการบริหารงานนโยบายต่าง ๆ ทั้งในส่วนภาครัฐและเอกชน องค์กรต่าง ๆ รวมทั้งกรุงเทพมหานคร จะต้องปรับตัวและเปลี่ยนแปลงโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่มาใช้ในการดำเนินงาน เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร และพัฒนาศักยภาพของคนในองค์กรทุก ๆ ด้าน ทั้งบุคลากรด้านเทคโนโลยี บุคลากรที่ทำงานในสำนักงาน รวมถึงการดำเนินชีวิตในชีวิตประจำวันที่จะต้องชาญฉลาด รู้เท่าทันสื่อ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยการวางแผนการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้กับองค์กร การปรับกระบวนการทำงานให้เข้ากับยุคดิจิทัล การปรับและพัฒนาบุคลากรให้พร้อมทั้งด้านทัศนคติ ความรู้ ทักษะสู่ยุคดิจิทัล รวมไปถึงวัฒนธรรมองค์กรดิจิทัลเพื่อก้าวเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรุงเทพมหานครมองเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการระบบฐานข้อมูล และการสร้างงานหรือสื่อนำเสนอมัลติมิเดียออนไลน์ โดยสามารถนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและก้าวทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขึ้น ซึ่งเป็นการสนับสนุนนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ในการปรับสมรรถนะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีศักยภาพสูงขึ้น และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารและพัฒนามหานคร 1. เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ และนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายรัฐบาลในการยกระดับงานบริการภาครัฐด้วยการปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ สังกัดสำนัก สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นสายงานคอมพิวเตอร์ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 20 รุ่น ๆ ละ 25 คน รวมทั้งสิ้น 500 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 82 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 40 คน 2. วิทยากร จำนวน 42 คน 3,789,800.00 1,600,000.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
794 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กรุงเทพมหานครมีต้องการให้บุคลากรเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพมีขีดสมรรถนะสูง สามารถรองรับภารกิจที่ท้าทายของกรุงเทพมหานคร ในการก้าวสู่มหานครแห่งเอเชีย การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสมกับการบริหารมหานคร การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในหลักสูตรการฝึกอบรมที่สถาบันฯ ดำเนินการในขั้นตอนการฝึกอบรม เช่น การรับสมัคร การแจ้งผล/คำสั่ง การเรียนรู้ออนไลน์ การส่งเอกสารประกอบการบรรยาย การนัดหมาย การประชาสัมพันธ์ และการประเมินผล(รายวิชา โครงการ ความพึงพอใจ) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
795 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
796 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล -หน่วยงานมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งาน ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลจากหน่วยงาน -เพื่อให้หน่วยงานมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งาน ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลจากหน่วยงาน ฐานข้อมูลหน่วยงาน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 ** สำนักงานกฎหมายและคดี สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
797 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 3.2) ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) โครงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร มีหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นพันธมิตรร่วมกันดำเนินโครงการ เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าให้แก่บุคลากรภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทำให้การใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง 1. เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อลดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค 3. รณรงค์และปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรภายในหน่วยงาน 4. เพื่อส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานในการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า สามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้ได้ร้อยละ 7.5 ขึ้นไป โดยเทียบจากปีงบประมาณ พ.ศ.2562 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
798 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 7.1 โครงการจัดทำระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการบริการและการปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร สำนักงานการต่างประเทศมีหน้าที่ดำเนินงานด้านการต่างประเทศเชิงรุกของกรุงเทพมหานคร แต่ยังขาดระบบสารสนเทศฐานเพื่อการดำเนินภารกิจด้านต่างประเทศและสนับสนุนการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการงานด้านการต่างประเทศ รวมถึงใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงจะดำเนินโครงการจัดทำระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมประเด็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินภารกิจ เป็นแหล่งข้อมูลด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครสำหรับการสืบค้น ตลอดจนส่งเสริมการประชาสัมพันธ์งานด้านต่างประเทศต่อสาธารณชน และเป็นศูนย์กลางการประสานงานกับต่างประเทศเพื่อการพัฒนาเมืองและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับบริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัลและกรอบนโยบายด้านการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนข้อมูลงานด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสามารถวิเคราะห์เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการกำหนดนโยบายของผู้บริหารและการดำเนินการของผู้ปฏิบัติ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการงานด้านต่างประเทศของกรุงเทพมหานครและงานที่เกี่ยวข้องของสำนักงานการต่างประเทศ 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับบุคลากร มีเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศ 4. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้การดำเนินงานตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนากรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพสูงสุด 5. เพื่อสร้างแหล่งข้อมูลด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการบริการประชาชนและการปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 4,200,000.00 4,200,000.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
799 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1) ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักงานการต่างประเทศให้มีความทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และทันสมัย 2. เพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานผ่านกาารพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน สำนักงานการต่างประเทศมีการพัฒนาฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของหน่วยงาน ซึ่งเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
800 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักการแพทย์ เนื่องจากการจัดเก็บข้อมูลของสำนักการแพทย์ยังจัดเก็บไม่เป็นระบบ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล database โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการแพทย์และเกิดผลประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักการแพทย์และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งมีการจัดข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
801 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาฐานข้อมูล (สพธ.) ตามแนวทางการประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจัดทำฐานข้อมูล โดยสำนักอนามัยมีภารกิจในด้าน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน ดังนี้ 1. ภารกิจด้านสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค 2. ภารกิจด้านรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ภารกิจด้านสาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ 4. ภารกิจด้านป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด 5. ภารกิจด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 47 ตัวชี้วัด เพื่อให้หน่วยงานได้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งมาจากข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย โดยผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อเป็นประดยชน์ต่อการบริหารงานองค์กรและสอดคล้องตามภารกิจของหน่วยงาน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
802 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข เข้าสู่ Cloud (สชส.) สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย เป็นห้องปฏิบัติการกลางของกรุงเทพมหานครที่ให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ผู้ใช้บริการประกอบด้วยศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ๗๖ แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ส่วนราชการในระดับกองและสำนักงานของสำนักอนามัย สำนักงานเขต และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานชันสูตรสาธารณสุขได้นำระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการมาใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน เพื่อให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนงานสนับสนุนน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ในการตรวจวิเคราะห์ให้กับผู้ใช้บริการ โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) จำนวน ๑๐ ระบบงาน และเชื่อมโยงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข กับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถสั่งตรวจวิเคราะห์ และรับทราบผลตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศ สามารถตรวจรับสิ่งส่งตรวจ ลงทะเบียนสิ่งส่งตรวจ บันทึกผล และรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว แพทย์สามารถนำผลการตรวจวิเคราะห์ไปใช้ในการวินิจฉัย รักษาโรค ติดตามการรักษา ตลอดจนการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างทันท่วงที รวมถึงมีระบบการรายงานสถิติ เพื่อใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการและมีระบบบริหารจัดการน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ การเบิก-จ่ายน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ทั้งภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข และระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความก้าวหน้ามากขึ้นทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและ ใช้งานบริการต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ เทคโนโลยี Clouding Computing หรือ Cloud (คลาวด์) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถสนับสนุนระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย สามารถแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีผู้ใช้เข้ามาใช้ระบบหรือมีปริมาณ Transaction เกิดขึ้นในระบบจำนวนมากจนระบบไม่สามารถรองรับได้ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ และส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยที่อาจจะได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ล่าช้า นอกจากนี้การให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการให้กับโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร และสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขต ยังไม่สามารถส่งผ่านข้อมูลการสั่งตรวจและรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศได้ การปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขขึ้นสู่ cloud เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข ทำให้สามารถสั่งตรวจ และรับทราบผลการตรวจวิเคราะห์ได้รวดเร็ว ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ รองรับการเชื่อมโยงการส่งต่อข้อมูลการตรวจวิเคราะห์ของผู้ป่วยระหว่างหน่วยงานบริการทางการแพทย์ และส่งต่อข้อมูลบริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขตในอนาคต รวมถึงเพิ่มความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชนผู้ใช้บริการ ๑. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สำนักอนามัย เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๒. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการของสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๓. เพื่อปรับปรุงและแก้ไขโปรแกรมเชื่อมต่อระบบ เพื่อให้ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สามารถเชื่อมต่อระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) และระบบสารสนเทศที่ใช้ในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข โดยสามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย ถูกนำเข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ และเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง รวมถึงเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศที่ใช้ภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขซึ่งมีทั้งระบบที่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์และไม่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ โดยให้สามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ 496,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
803 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี (สสว.) --สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมีและวัตถุอันตรายของสถานประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์การจัดการสารเคมี และเชื่อมดยงข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการจัดการวางแผนและดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานครให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ --1. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานคร --1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการที่มีข้อมูลครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริการจัดการสารเคมี 5,777,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 24.00
804 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีภารกิจในการบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง รวมถึงส่วนราชการในระดับกองและสำนักงาน จำนวน 13 แห่ง ที่ทำหน้าที่ดูแลและสนับสนุนการดำเนินการด้านต่างๆ โดยมีสถานที่ติดตั้งกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจและให้บริการแก่ประชาชน ใน 4 มิติ ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู รวมทั้งการบริหารจัดการในด้านการบริการสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอกที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกันด้วย สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาตอบสนองต่อภารกิจเพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์ งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึงสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติ เพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาสำนักอนามัย และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ ในปัจจุบันมีการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ คลินิกสัตวแพทย์ ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ รวมถึงกอง สำนักงาน และผู้บริหารของสำนักอนามัย นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว (ที่จะเปิดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ผ่านระบบเครือข่ายและมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายการเข้าถึงและการเรียกใช้ระบบสารสนเทศ รวมถึงความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการให้บริการแก่ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,200,000.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
805 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดประเวศ (สยส.) -- สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย มีหน่วยงานในสังกัดที่ให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2 แห่งคือ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบบริหารจัดการด้านข้อมูล และการให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดเกิดความล่าช้า ประกอบกับการจัดเก็บข้อมูลที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ โดยนำโปรแกรม ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดบริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร โดยผ่านเครือข่ายของสำนักอนามัยและสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณชนิดไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต -- 1. เพื่อติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ 2. เพื่อติดตั้งโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ -- ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดครอบคลุมจุดให้บริการ ของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ 365,900.00 365,900.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
806 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อให้ได้มาตรฐานและทั่วถึงเพียงพอต่อการใช้งาน สำนักการศึกษาจึงดำเนินโครงการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน 1. เพื่อพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้เพียงพอต่อการใช้งานด่านการเรียนการสอนและการบริหารโรงเรียน 2. เพื่อส่งเสริมครูผู้สอนให้ใช้สื่อการสอนในอินเทอร์เน็ตที่มีคุณภาพมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ด้านปริมาณ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีระบบอินเทอร์เน็ตได้มาตรฐานและเพียงพอต่อการใช้งานด้านการเรียนการสอนทั้ง 437 โรงเรียน ความเร็วแต่ละโรงเรียนไม่น้อยกว่า 100 Mbps ด้านคุณภาพ 1. ครูและนักเรียนสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตโรงเรียนเพื่อการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสูงขึ้น 10,700,000.00 3,323,930.88 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 97.00
807 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา ปัจจุบันสำนักการศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายเป็นหลัก แต่จากการสำรวจส่วนราชการในสำนักการศึกษา ปรากฏปัญหาการส่งสัญญาณไร้สายมีประสิทธิภาพต่ำและบางพื้นที่อับสัญญาณ สาเหตุมาจากอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ประกอบกับมีสัญญาณรบกวนอื่นๆ จำนวนมากจากสถานที่ใกล้เคียง ส่งผลกระทบต่อการทำงานของบุคลากรในสำนักการศึกษา สำนักการศึกษาจึงมีโครงการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา โดยจัดหาผู้มีความรู้ ความชำนาญมาติดตั้งเครือข่ายไร้สายในสำนักการศึกษา เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง ด้านปริมาณ 1. ติดตั้งเครือข่ายไร้สาย พร้อมอุปกรณ์ประกอบใน 8 ส่วนราชการของสำนักการศึกษา 2. ติดตั้งระบบไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบใน 8 ส่วนราชการของสำนักการศึกษา ด้านคุณภาพ บุคลากรของสำนักการศึกษาสามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3,145,800.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
808 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) คงไว้ สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัยต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
809 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 4.1 นำเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. มีฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา 2. มีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 3. เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
810 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการระบายน้ำ (กสน.) ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง แหล่งสะสมข้อมูลซึ่งรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อพัฒนาฐานข้อมูล สำหรับจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมืองจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาและจัดทำ ฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมือง ของกรุงเทพมหานคร หน่วยงานสามารถพัฒนาและจัดการฐานข้อมูล (Data base) ได้ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
811 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและน้ำมันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก พัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและนำ้มันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก 1. อำนวยความสะดวกให้กับผู้เสียภาษี เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ 2. ให้บริการชำระภาษีด้วยวิธีทันสมัย 3. ให้บริการชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. พัฒนาระบบชำระเงินค่าภาษีผ่านระบบ e-payment ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล 2. เพื่อบริการทางเลือกให้แก่ผู้ประกอบการ 3. เสริมสร้างศักยาพด้านการเงินการคลังของกรุงเทพมหานครให้เป็นมาตรฐาน 7,200,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
812 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของประชาชนผู้รับบริการ โดยบริหารจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แจ้งความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากทุกช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
813 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร - - - 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 100.00
814 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาลผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาล กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง ดูงานด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2.1 เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ในการนำมาซึ่งการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ตลอดจนนำประโยชน์ที่ได้รับมาเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร (MIS) ระบบงานงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาล ให้มีรูปแบบและมาตฐานเดียวกับหน่วยงานภาครัฐอื่น 2.2 เพื่อเพิ่มพูดความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบ คำสั่งที่เกี่ยวข้องให้กับเจ้าหน้าที่เพื่อนำแนวทางที่ได้รับมาปรับใช้การตรวจสอบฎีกา การควบคุมการเบิกจ่าย ตลอดจนนำมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันให้เป็นมาตรฐานเดียวกับหน่วยงานภาครัฐอื่น ผู้เข้าร่วมโครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาลจำนวน 68 คน ข้าราชการ กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง 54 คน ลูกจ้างประจำ กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง 3 ตย ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 14 คน - วิทยากร จำนวน 4 คน - เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน 219,050.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
815 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล กองโรงงงานช่างกล สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการซ่อมและบำรุงรักษายานพาหนะ เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้จัดการงานซ่อมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 ซึ่งใช้งานมาประมาณ 15 ปี เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ปัจจุบันล้าสมัย ไม่สามารถรองรับการพัฒนาการปฏิบัติงานรูปแบบใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศในภาพรวมใหม่ทั้งหมด เพื่อให้รองรับการใช้งานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพที่สุด และเพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน สามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อให้กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฆลสาย 3 มีระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน เพื่อสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน และสามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของกองโรงงานช่างกล ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานที่กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฑลสาย3) โดยเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) ได้ จำนวน 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
816 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ กองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารทรัพย์สิน ศึกษา วิเคราะห์ การบริหารทรัพย์สินของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันข้อมูลทรัพย์สินยังกระจัดกระจายและ ยังไม่มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบ ทำให้กรุงเทพมหานครไม่สามารถนำทรัพย์สินประเภทที่ดินฯ มาก่อให้เกิดประโยชน์หรือก่อให้เกิดรายได้ ในการนี้ กองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ จึงเล็งเห็นประโยชน์และความสำคัญของการจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินฯ จึงจัดทำกิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ขึ้นมา เป็นฐานข้อมูลในการนำไปปฏิบัติตามแผนการบริหารทรัพย์สินฯ มีหลักในการบริหารจัดการ และสร้างมูลค่าทรัพย์สินให้แก่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาในมิติข้างต้นและให้มีระบบบริหารจัดการที่ดีมีฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินฯ เป็นข้อมูลให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครสามารถนำไปพัฒนาหรือสร้างรายได้ให้แก่กรุงเทพมหานครต่อไป 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถนำที่ดินว่างเปล่าหรือมิได้ใช้ประโยชน์ นำไปพัฒนาหรือสร้างรายได้ให้แก่กรุงเทพมหานคร ฐานข้อมูลที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพฯ กรุงเทพมหานครมีการจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์อย่างเป็นระบบในรูปแบบดิจิตอล 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
817 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมปรับปรุงฐานข้อมูลภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กรุงเทพมหานครได้ประกาศบัญชีรายการที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุดโดยใช้ข้อมูลที่ได้รับจากกรมที่ดิน และกรมธนารักษ์ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบัน ขณะที่ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางแห่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ทำให้การจัดทำประกาศบัญชีรายการที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุดไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ทุกสำนักงานเขตสามารถแจ้งภาษี ประเมินภาษีได้ถูกต้อง ครบถ้วน 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2.เพื่อให้การประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเป็นไปอย่างถูกต้อง ลดการอุทธรณ์การประเมินภาษี ปรับปรุงข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจากการข้อแก้ไขการประกาศบัญชีที่ดิน สิ่งปลูกสร้างและห้องชุดในกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
818 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2563 โครงการฝึกอบรมพัฒนาความรู้เชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจ (2563) สำนักเทศกิจเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรสายงานเทศกิจให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมพัฒนาความรู้เชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจขึ้น เพื่อเพิ่มพูนความรู้ สนับสนุนให้เกิดการต่อยอดแนวความคิด และนำไปประยุกต์สร้างสรรค์ หรือสนับสนุนให้เกิดผลงานที่เป็นประโยชน์กับกรุงเทพมหานครต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการเพิ่มพูนและพัฒนาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่เทศกิจให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่เทศกิจสามารถปฏิบัติงานด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งเจ้าพนักงานเทศกิจ ระดับชำนาญการ และปฏิบัติการ ตำแหน่งพนักงานเทศกิจ ระดับชำนาญงานและปฏิบัติงาน บุคลากรกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งพนักงานเทศกิจ ส 1 หรือ ส 2 ตำแหน่งพนักงานเทศกิจ สังกัดสำนักเทศกิจ และฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต จำนวน 360 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการและวิทยากร จำนวน 69 คน รวม 429 คน โดยแบ่งการฝึกอบรมเป็น 3 รุ่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรุ่นละ 120 คน วิทยากรรุ่นละ 18 คน เจ้าหน้าที่รุ่นละ 5 คน รวมรุ่นละ 143 คน 654,400.00 604,800.00 สํานักเทศกิจ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
819 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ปฏิบัติงานด้านเทศกิจและประวัติการเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับด้านเทศกิจ ตามแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครของสำนักเทศกิจ (2563) การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ เป็นเครื่องมือสำคัญที่จะมีส่วนช่วยในการบริหารจัดการข้อมูลปริมาณมากที่เป็นปัญหาอุปสรรคในปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว และลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ ทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนด้านกำลังคน และการวางแผนการจัดการฝึกอบรม สามารถบริหารจัดการได้อย่างครอบคลุม ทั่วถึง เป็นธรรม และเหมาะสม 1. เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลและประวัติการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ 2. เพื่อใช้ประกอบการวางแผนด้านทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาบุคลากรได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทั่วถึง 3. เพื่อจัดเก็บประวัติข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ 1. สำนักเทศกิจมีระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานเทศกิจ จำนวน 1 ระบบ 2. ความสำเร็จในการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลและระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานเทศกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
820 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ (2563) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.จัดทำฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ 2.นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ สำนักเทศกิจ จัดทำฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
821 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
822 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *รองรับมิติที่ 4.1 ตามคำรับรองฯ* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 11,022,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
823 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) ดำเนินการตามโครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินของการไฟฟ้านครหลวงบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) และเชื่อมโยงระบบเชื่อมโยง ของกล้อง CCTV และทรั้ง เรดิโอ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง และตามแผนงานของการไฟฟ้าที่จะนำเสาสายไฟลงใต้ดิน นำสายสื่อสารของ สจส. ลงดินบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) 29,720,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
824 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แบบอัตโนมัติ พร้อมระบบสนับสนุนการซ่อมการบำรุง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) ด้วยกรุงเทพมหานครได้มีการสำรวจและมีการเก็บข้อมูลลงบนฐานข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างเป็นระบบและจุดเดียว ทำให้สามารถทราบข้อมูลของเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างละเอียด เช่น แนวการเดินสายเคเบิลเส้นใยนำแสง, จำนวนสาย และจำนวน Core ของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แต่ละเส้นทาง, ระยะทางสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic), จุดเชื่อมต่อ, จำนวน cores ที่ใช้งาน จำนวน cores ที่ว่างของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) จากข้อมูลที่จัดเก็บดังกล่าว ทำให้ ระบบสามารถประเมินค่า Loss ของสายสัญญาณได้, ช่วยหาเส้นทางการติดตั้งสายสัญญาณที่สั้นที่สุด, สามารถช่วยในการวิเคราะห์ และแสดงผลกระทบโดยตรงกับผู้ใช้รายใดบ้าง เป็นต้น แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับประกันว่าข้อมูลจะเป็นปัจจุบัน ถ้าไม่ได้นำซอฟต์แวร์บริหารจัดการสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มาอยู่ในกระบวนการการติดตั้ง กระบวนการซ่อมบำรุง สายเคเบิลเส้นใยนำแสง ดังนั้นกรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มากที่สุด เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว เพื่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงเป็นปัจจุบันตลอดเวลา รวมทั้งผู้ดูแลระบบสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ทันทีเมื่อมีปัญหา จึงจัดหาซอฟต์แวร์สำหรับสนับสนุนการติดตั้งใหม่, การติดตั้งเพิ่มเติม, การบำรุงรักษา และจัดหาอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร เป็นปัจจุบันตลอดเวลา - เพี่อสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง และทำให้ลดเวลาในการซ่อมสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง ของกรุงเทพมหานครให้สามารถใข้ประโยชน์ในการส่งข้อมูล ของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร และเพี่อการรักษา ความปลอดภ้ยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการแกํไขปัญหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพี่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบในอนาคตได้ - เพี่อจ้ดทำระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิล เส้นใยนำแสง และระบบสน้บสนุนการซ่อมการบำรุง 29,533,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
825 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายสำนักการจราจรและขนส่ง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) เนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบยังคงปรากฏในหลายพื้นที่และกระจายเป็นวงกว้าง กรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่เป้าหมายสำคัญอีกแห่ง เนื่องจากเป็นเมืองหลวงของประเทศและมีผู้คนอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสถานการณ์ก่อความไม่สงบบางส่วนได้เกิดขึ้นแล้วในบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร ก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตของผู้คน รวมทั้งส่งผลต่อธุรกิจท่องเที่ยวและเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากสถานการณ์ความไม่สงบดังกล่าวแล้ว การที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนเป็นจำนวนมาก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เพิ่มขีดความสามารถในด้านการดูแลรักษาสวัสดิภาพของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร โดยได้แบ่งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ออกเป็น 2 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ 1. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับรักษาความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งใช้เฝ้าระวัง ตรวจจับ ตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งใช้ในการป้องปราม การก่อความไม่สงบโดยวิธีการก่อวินาศกรรมหรือภัยคุกคามต่อสวัสดิภาพของประชาชน ทำให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับการแก้ไขปัญหาการจราจร รวมทั้งปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาน้ำท่วม อุบัติเหตุบนท้องถนน การจัดระเบียบทางเท้า อาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร มีกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ติดตั้งและใช้งานด้านสังเกตการณ์สภาพจราจร และปัญหาน้ำท่วมกระจายอยู่ตามทางแยกต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่ง กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้แก่ เครื่องเรียกดูภาพจากกล้องฯ, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบริหารจัดการระบบ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก และเน็ตเวิร์คสวิตซ์ ติดตั้งกระจายอยู่ตามศูนย์ควบคุมฯ, ศูนย์บริหารจัดการ และห้องควบคุมกล้องฯ เป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบางส่วน ที่ติดตั้งในตู้ใส่อุปกรณ์ Network กระจายตามพื้นที่กรุงเทพมหานคร เช่น ทางแยก สะพานลอย ซอยอันตราย ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยต่างๆ ประตูระบายน้ำ โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน สถานีตำรวจ กองรักษาการณ์ประจำพระราชฐาน เป็นต้น ซึ่งเป็นการยากที่จะมีการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และในปัจจุบันมีผู้ใช้งานทั้งจากภายในและจากภายนอกสำนักการจราจรและขนส่ง ตลอดจนภัยคุกคามระบบเครือข่ายจากภายนอกมีเพิ่มมากขึ้น การแทรกแซงเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถทำได้ง่าย ทั้งจากบุคคลภายนอกและบุคคลภายใน อีกทั้ง จากการทำงานปัจจุบันพบว่าอุปกรณ์ที่ใช้บริหารจัดการในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) มีฐานเวลาไม่ตรงกัน ทำให้การ Synchronized เรื่องเวลาและเหตุการณ์คลาดเคลื่อน มีการเข้าถึงได้จากหลากหลายช่องทาง โดยไม่มีการควบคุม ที่ดี การเข้าถึงอุปกรณ์เครือข่ายหลักทางกายภาพเป็นไปโดยง่ายและไม่มีการตรวจสอบ และการติดตามหาผู้กระทำมารับผิดชอบได้ยาก แก้ไขเปลี่ยนการตั้งค่าการทำงานของอุปกรณ์ผิดพลาดทำให้ระบบมีปัญหาได้ อีกทั้ง ปัจจุบันระบบของกรุงเทพมหานครขยายใหญ่ขึ้น โดยไม่มีการจัดระเบียบหรือปรับปรุงการใช้งาน IP Address ให้มีประสิทธิภาพตาม เนื่องจากยังไม่มีระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค (Security Network) - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโครงสร้างพิ่นฐานด้านระบบ เครือข่ายของกรุงเทพมหานคร โดยศึกษา ออกแบบ และแกํไข ระบบเครือข่ายภายในกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ถูกต้อง ตามหล้กมาตรฐาน - เพี่อฟ้องทันและรักษาความปลอดทัยของระบบเครือข่าย เทคโนโลยีและข้อมูลของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบในการเฝัาระวังรักษาความปลอดทัย ของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค สามารถปฏิบตการความมั่นคง ปลอดทัย และเฝัาระวังความปลอดทัยด้านระบบเครือข่ายพร้อมเครี่องมีอ ในการบริหารวัดการ Hardware และ Software ที่เป็นมาตรฐาน สากล สามารถรองรับการเฝัาระวังและตอบสนองฟ้ญหาด้าน ความปลอดทัยของระบบเครือข่ายได้ตลอด 24 ชั่วโมง - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย สำนักการจราจรและขนส่ง 19,757,800.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
826 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานการแจ้งหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมด้วยระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีภารกิจในการวางและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นกรอบกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครในหลายมิติ ทั้งด้านกายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีความเชื่อมโยงถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารของประชาชนและภาคเอกชน ซึ่งปัจจุบันกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๔๑ ก เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม จึงได้กำหนดวิธีดำเนินการให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินที่ประสงค์จะใช้ที่ดินเพื่อก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาตหรือต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานตามกฎหมาย แจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามแบบหนังสือแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือแบบ ผมร. ๑ พร้อมกับการยื่นคำขออนุญาตหรือการแจ้ง ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ณ สำนักงานเขตท้องที่ หรือสำนักการโยธา โดยสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองจะได้รับรายงานจากสำนักงานเขต และสำนักการโยธา ซึ่งจากผลการดำเนินการที่ผ่านมาได้รับข้อมูลล่าช้า ไม่ครบถ้วน อีกทั้งข้อมูลอยู่ในรูปแบบกระดาษ ไม่สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ทันที ประกอบกับมีข้อสังเกตจากผลการตรวจราชการให้มีการลดขั้นตอน ลดการใช้ทรัพยากรในการส่งรายงานผล และผลการสอบถามความคิดเห็นจากประชาชนผู้รับบริการ มีความต้องการให้มีบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อความสะดวก รวดเร็ว แม่นยำ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองจึงได้พัฒนา Webmap Application ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายเพื่อบันทึกหนังสือแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (แบบ ผมร.๑) เป็นระบบแสดงผลแผนที่กรุงเทพมหานครแบบออนไลน์ ให้ประชาชนสามารถแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินผ่านระบบได้ด้วยตนเอง โดยฝ่ายโยธา สำนักงานเขต และสำนักการโยธา สามารถเข้ามาตรวจสอบหรือแก้ไขข้อมูลในแบบ ผมร.๑ ที่ประชาชนยื่นมาพร้อมกับแบบฟอร์มการขออนุญาตก่อสร้างอาคารได้ รวมทั้งหน่วยงานกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศเพื่อประเมินผลการบังคับใช้ผังเมืองรวม และวิเคราะห์ วิจัยเพื่อการพัฒนาเมืองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดรับกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ที่หน่วยงานมีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะที่เหมาะสมต่อการปรับเปลี่ยนระบบการทำงานนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในการให้คำแนะนำแก่ประชาชน เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนเทศ ดังนั้น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานการแจ้งหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมด้วยระบบภูมิสารสนเทศ จึงเป็นการพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครในการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อบริการประชาชนและบริหารจัดการข้อมูลเมืองให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อลดขั้นตอน ลดการใช้ทรัพยากร และข้อมูลที่ได้มีทันสมัย ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการและเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่มีความประสงค์ขอแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการรายงานผลมายังสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องตามขั้นตอนและกระบวนการ และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในการเป็นองค์กรดิจิทัล 3.1. หน่วยงานมีคู่มือหรือวิธีการที่ชัดเจนในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการประชาชนและกระบวนการทำงานในการแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวม 3.2. บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนกระบวนการบริการประชาชนในการแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมไปสู่รูปแบบดิจิทัลด้วยตนเอง 3.3. ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองในการให้บริการประชาชน 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
827 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง รายละเอียดตามที่ปรากฏในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ฐานข้อมูลของหน่วยงานการพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
828 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
829 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร(BMA PBIS:Performance- based Budgeting Information System) สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร (BMA PBeB: Performance-based e-Budgeting) ที่ใช้ได้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีในท้องตลาด มีคุณภาพ มีความยืดหยุ่น มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ และรองรับการขยายตัวในอนาคตต่อไป โดยระบบ BMA PBIS ต้องครอบคลุมการแก้ปัญหาของระบบปัจจุบัน รองรับความต้องการในการบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตลอดจนอำนวยความสะดวกในการนำเสนอข้อมูลด้านการงบประมาณสำหรับใช้สนับสนุนประกอบการตัดสินใจ สามารถเผยแพร่สารสนเทศด้านการงบประมาณสำหรับผู้สนใจ ตลอดจนรองรับการจัดทำงบประมาณตามพระราชบัญญัติการงบประมณ พ.ศ.2561 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยจัดหาระบบและจัดจ้างที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุง เทพมหานครให้สามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่น 1. เพื่อจัดหาและพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อจัดจ้างที่ปรึกษาดำเนินการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร มีการออกแบบพัฒนาและจัดทำระบบสารสนเทศด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครให้รองรับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานที่สามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 45,511,000.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
830 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) และสอดคล้องตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์ แต่เนื่องจากข้าราชการของกรุงเทพมหานครบางส่วนยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้อย่างครบถ้วนประกอบกับข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับการแต่งตั้งหรือมีการโยกย้ายไปหน่วยงานอื่น ทำให้ข้าราชการที่รับตำแหน่งทดแทน อาจไม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้การใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และไม่มีความเข้าใจในการใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่างๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้ง สามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบไป - กลับ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ประกอบด้วย 1) หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 2) หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 149,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-17 00:00:00 2020-05-17 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
831 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
5.1.1 2563 โครงการศึกษาและวิเคราะห์สถาปัตยกรรมองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกระบวนการทำงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 1 สถานการณ์การดำเนินการของหน่วยงานในปัจจุบันมีการปฏิบัติงานหลายขั้นตอนใช้กระดาษเป็นจำนวนมากโปรแกรมการปฏิบัติงานไม่ครอบคลุมถึงกระบวนการตามภารกิจที่สำคัญ ข้อมูลมีการจัดเก็บซ้ำซ้อนและขาดผู้รับผิดชอบสำหรับข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันและแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) เสนอแนวทางเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างแผนแม่บทฯ และภารกิจขององค์กรในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า อาทิ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการบริหารทรัพยากรบุคลากรเป็นต้น เพื่อให้รองรับกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ การขับเคลื่อนของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัญหาส่วนใหญ่คือ การขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) กับพันธกิจองค์กร (Business) ซึ่งเป็นผลก่อให้เกิดความล้มเหลวของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรอาทิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดซื้อด้วยราคาแพงแต่ใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับกระบวนการทางพันธกิจ (Business Process) ไม่ตอบโจทย์ วิสัยทัศน์ทางธุรกิจ (Business Vision)ขององค์กร รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีความซับซ้อนเกินความจำเป็น สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) เป็นแนวความคิดใหม่ที่บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับพันธกิจขององค์กรอย่างเป็นระบบตั้งแต่การกำหนดโจทย์การบริการการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) เพื่อออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมโยงกับการดำเนินงานได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ Architecture ไปจนถึง Roadmapขององค์กร เพื่อผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ขององค์กรที่กำหนดไว้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีผลต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อมุ่งเน้นไปสู่การเป็นองค์กรที่ใช้ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในการทำงาน (Data Driven Organization) และลดการใช้กระดาษให้มากที่สุด 3. เพื่อกำหนดกระบวนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ Single Source โดยมีการกำหนด Data Operation และ Data Governance ที่เหมาะสม 5. เพื่อเป็นแนวทางกำหนดกรอบการพัฒนาแอปพลิเคชันที่เน้นการเชื่อมโยงระบบผ่านAPIเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการเปิดข้อมูลให้กับ Stakeholder ผ่าน Public API 1.รายงานสรุปผลการศึกษา เพื่อคัดเลือกกรอบแนวทางที่เหมาะสมใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของกรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมองค์กร ที่เหมาะสม และจัดทำรายละเอียดข้อมูลสถาปัตยกรรมองค์กรในแต่ละด้านที่สอดคล้องตามกระบวนการโดยระบุถึงข้อมูลหลักของกระบวนการแหล่งที่มาของข้อมูลและผู้ใช้งานข้อมูล 2. การบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับกระบวนงานตามภารกิจอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กรที่พร้อมสู่การเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคงไปสู่การปฏิบัติ 3. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจอย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติ 11,430,000.00 1,143,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
832 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต 26,855,300.00 16,062,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
833 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (หน่วยงานและส่วนราชการในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร) ศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นอาคารขนาดใหญ่ มีการใช้พลังงานไฟฟ้าปริมาณมากในแต่ล่ะปี ประกอบกับภารกิจของกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะด้านต่างๆให้แก่ประชาชน ทำให้แต่ละวันจะมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานและเข้ามาติดต่อราชการเป็นจำนวนมากไม่น้อยกว่า 1,500 คน ปัญหาที่พบคือบุคลากรส่วนใหญ่ยังคงใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ถูกวิธี ไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้งบประมาณรายจ่ายค่าสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า)มีจำนวนสูง จึงเป็นที่มาของโครงการการลดใช้ไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นพันธมิตรร่วมกันดำเนินโครงการ เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าให้แก่บุคลากรภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทำให้การใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง ส่งผลให้งบประมาณด้านศาธารณูปโภค(ไฟฟ้า) ที่เป็นภาษีของประชาชนลดลงไปตามไปด้วย 1.เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครอย่างประสิทธิภาพ 2.เพื่อลดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร ด้านค่าใช้จ่ายสาธาณูปโภค 3.รณรงค์และปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรภายในหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าในรูปแบบต่างๆ 4.เพื่อส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานในการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าและลดค่าใชจ่ายค่าสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า) ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร จากปีงบประมาณ พ.ศ.2562 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
834 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร (รักษารอบ) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ก่อนเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการของหน่วยงานจำนวนมาก ประกอบกับฝ่ายเลขานุการฯ ซึ่งมีหน้าที่จัดเตรียมและวิเคราะห์ข้อมูลโครงการของหน่วยงานก่อนเสนอเข้าสู่การพิจารณาในคณะกรรมการฯ จะต้องวิเคราะห์โครงการจำนวนมากเสนอต่อคณะกรรมการฯ เพื่อให้ทันต่อการเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ หน่วยงานต้องเสนอขอรับการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลจากคณะกรรมการฯ หลายครั้ง และใช้เวลาในการพิจารณานาน เนื่องจากขาดความเข้าใจในการนำเสนอโครงการต่อคณะกรรมการฯ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เล็งเห็นถึงปัญหาในการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ จนถึงขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ จึงขอเสนอโครงการการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการให้บริการกับหน่วยงานในการให้คำปรึกษาและจัดส่งโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการบริหารจัดการข้อมูลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในภาพรวมของฝ่ายเลขานุการฯ ในการจัดเตรียมรายละเอียดโครงการให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งผลให้คณะกรรมการฯ ได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถนำไปบูรณาการภาพรวมในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.เพื่อเพิ่มช่องทางการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ในการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่หน่วยงาน 3.เพื่อติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นำไปสู่การประเมินผลตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร เป้าหมาย ปี 2562 (ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว) 1.ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน กระบวนการ และขั้นตอนการนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาโครงการที่มุ่งสู่การลดระยะเวลาการดำเนินการให้ทันต่อการขอรับงบประมาณ ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.การนำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้น (ในปี พ.ศ. 26562) มาใช้ในการดำเนินการ 3.จัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
835 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณที่กรุงเทพมหานครจะต้องจัดส่งบุคลากรไปสอบ วัดความรู้กับหน่วยงานภายนอก ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของบุคลากร รองรับการสอบวัดความรู้ของบุคลากรกรุงเทพมหานครทั้งหมด และเป็นการพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 – 2565) รวมถึงการบรรลุวิสัยทัศน์ “ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครเป็นมืออาชีพในการให้บริการประชาชน (BMAPRO 21st) มุ่งสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย” ได้สำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลจำเป็นต้องจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากรกรุงเทพมหานคร (Digital Skill) ๒.๑ จัดทำระบบศูนย์สอบมาตรฐานในการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ๒.2 จัดหาข้อสอบสำหรับการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ๓.๑ มีระบบศูนย์สอบมาตรฐานในการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร 3.2 มีข้อสอบสำหรับการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร 10,735,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 46.00
836 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ ในฐานะกรุงเทพมหาครเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์รับคำขออนุญาต ประกอบปัจจุบันอยู่ในยุคของสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) จึงเห็นควรจัดหาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการรับ-ส่งใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว ตลอดจนปรับปรุงระบบการรับชำระเงินที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยและหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการเป็นศูนย์รับคำขอของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) อย่างเต็มรูปแบบและทันสมัยโดยผ่านการให้บริการของธนาคาร หรือตัวแทนรับชำระเงิน เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการที่มาติดต่อขอรับชำระค่าธรรมเนียมจากค่าบริการในการออกใบอนุญาต ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมายังหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สามารถชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง 2.1 เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อหรือ การทำธุรกรรมทางด้านการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเต็มรูปแบบหลากหลายช่องทางรวมถึงรองรับการรับชำระเงินค่าธรรมเนียมได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาติดต่อขอชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตที่หน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร 2.2เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการไม่ต้องเดินทางมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยสามารถรับเอกสารใบสำคัญหรือใบอนุญาตได้จากระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบขนส่งอัจฉริยะของภาคเอกชน 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถสอบทานตัวเลขค่าธรรมเนียมและค่าภาษีได้สะดวกรวดเร็วและถูกต้องทันการณ์ โดยสามารถสรุปข้อมูลรายรับ พร้อมส่งต่อข้อมูลไปยังทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจในด้านการวางแผนงบประมาณรายรับได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3.1 อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนหรือผู้ประกอบการ โดยมีทางเลือกในการชำระเงินค่าธรรมเนียมค่าภาษี ไม่ต้องถือเงินสด และยังรองรับการรับชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมงผ่านช่องทางหลากหลาย รวมถึงไม่ต้องเดินทางมายังหน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานครเพื่อมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านมาอนุมัติแล้ว 3.2 เพื่อรองรับการบูรณาข้อมูลการรับชำระเงินของกรุงเทพมหานครกับหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณภาครัฐได้อย่างแม่นยำถูกต้อง 40,100,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 57.00
837 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล การดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องกำหนดนโยบายและวางแนวทางปฏิบัติทางด้านความปลอดภัยในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหาครใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549ด้วยการนำเทคโนโลยีระบบรหัสแบบกุญแจสาธารณะ หรือกุญแจสมมาตร ที่ประกอบด้วยกุญแจส่วนตัว (Private key) และกุญแจสาธารณะ (Public key) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล พร้อมด้วยการใช้โปรโตคอลSecure Socket LayerหรือSSL มาประยุกต์ใช้ในการเข้ารหัส และการถอดรหัส (Encryption) ในระหว่างขั้นตอนการรับ–ส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและเชื่อมั่นได้ว่า เอกสารสำคัญหรือข้อมูลของทางราชการยังคงได้รับการปกป้องและยังคงเป็นความลับ (Data Confidentiality)จากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือผู้ไม่หวังดีเข้ามาอ่าน หรือขโมยข้อมูลระหว่างการดำเนินธุรกรรมได้ 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับการออกใบอนุญาตในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และการทำธุรกรรมของกรุงเทพมหานครที่มีความน่าเชื่อถือและมีผลถูกต้องตามกฎหมาย 2.2เพื่อสร้างความเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานครในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการกับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต 2.3 เพื่อบ่งบอกและยืนยันตัวบุคคลในโลกดิจิทัล สำหรับรองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้มีผลตามกฎหมาย 3.1ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการหรือหน่วยงานภาครัฐที่ร่วมทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต มีความเชื่อมั่นในด้านการรักษาความลับของข้อมูล ตลอดจนความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลแม้อาจมีการถูกดักจับข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรม 3.2 เป็นการยกระดับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ตลอดจนสามารถยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัลได้ 47,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 57.00
838 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบ web portal กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การบริการระบบเว็บไซต์กรุงเทพมหานครและเว็บไซต์หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร มีเทคโนโลยีที่เป็นปัจจุบันเป็นช่องทางหลักในการสื่อสารกับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพระบบ web portal กรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของการปรับปรุงโครงสร้าง การทำงานของระบบและรูปแบบการทำงานที่ต้องเข้าถึงระบบ Social Media และรองรับการทำงานลักษณะ Web Service ซึ่งเป็นการออกแบบเว็บไซต์ในยุคแห่งการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน รวมถึงระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยและการตรวจสอบระบบเว็บไซต์ 1.เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการทำงานของระบบ web portal กรุงเทพมหานคร (Web Server Architecture) ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อปรับปรุงรูปแบบการทำงานของระบบ web portal กรุงเทพมหานคร (Application Architecture) ให้สามารถเข้าถึงระบบ Social Media และรองรับการทำงานลักษณะ Web Service 3.เพื่อตรวจสอบสถานะการทำงานของเว็บไซต์ที่อยู่ภายใต้ระบบ web portal กรุงเทพมหานคร 1.เว็บไซต์กรุงเทพมหานครและหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร สามารถเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วผ่านอุปกรณ์ Smart Device 2.ข้อมูลของเว็บไซต์สามารถเชื่อมโยงไปยัง Social Media ต่าง ๆ ได้ เช่น Facebook , Twister , Instragram เป็นต้น 3.ปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบของข้อมูลระบบ web portal ให้สามารถรองรับการจัดทำ Web Service 4.มีระบบตรวจสอบสถานะการทำงานของเว็บไซต์ (Website Monitoring) อย่างน้อย ๕๐๐ เว็บไซต์ 8,500,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 70.00
839 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 เพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูล กรุงเทพมหานครได้มีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยมีศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ และเครื่องมือบริหารจัดการประสิทธิภาพสูงเพื่อรองรับระบบสารสนเทศของหน่วยงาน ดังนั้นโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องมีระบบบริหารจัดการ เพื่อตรวจสอบเหตุการณ์ ประเมินประสิทธิภาพของอุปกรณ์ สำหรับการวางแผนในการดูแลบำรุงรักษาให้เกิดความต่อเนื่องในการให้บริการและสอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของศูนย์สารสนเทศภาครัฐ กรุงเทพมหานครอยู่ระหว่างการพัฒนาศูนย์ข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นศูนย์ให้บริการของระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร มีการให้บริการที่จำเป็นสำหรับการพัฒนา การปฏิบัติงาน และการให้บริการทางด้านดิจิทัล ในลักษณะของบริการโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure as a Service : IaaS) และบริการแพล็ตฟอร์ม (Platform as a Service : PaaS) โดยแบ่งการดำเนินการเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ การสร้างศูนย์ข้อมูล การพัฒนาระบบคลาวด์ และการจัดเตรียมแพล็ตฟอร์ม เช่น ระบบฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการ แต่การดำเนินการศูนย์ข้อมูล ยังขาดเครื่องมือในการตรวจสอบระบบและควบคุมโครงสร้างพื้นฐานของศูนย์ข้อมูล เพื่อเพิ่มระบบตรวจสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ภายในศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุมโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมยกระดับความสามารถของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครให้อยู่ในระดับ4(Cross Agency DC)ตามมาตรฐานศูนย์ข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ(Government Data Center Modernization:GDCM)ของรัฐบาล 1.มีระบบตรวจสอบการใช้พลังงานไฟฟ้าซึ่งสามารถตรวจสอบการใช้พลังงานย่อยลงไปถึงระดับแต่ละตู้อุปกรณ์ได้ 2.มีระบบตรวจสอบคุณภาพแบตเตอรี่ของระบบสำรองไฟฟ้า เพื่อการวางแผนในการบำรุงรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.มีระบบบริหารจัดการในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถแสดงตำแหน่งอุปกรณ์ในลักษณะ ๓ มิติ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียดแบบออนไลน์ได้ 14,211,800.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
840 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระบบควบคุมและตรวจสอบสิทธิการเข้าถึงระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการพัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) เพื่อรองรับระบบงานสารสนเทศต่างๆ มากมายหลายระบบ สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งการเข้าใช้ระบบเครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ ก่อให้เกิดความสับสน ความยากลำบากต่อการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่ในการ ที่จะต้องจดจำชื่อ Loginและ Passwordของแต่ละระบบ จากปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีการจัดทำระบบตรวจสอบสิทธิและระบบควบคุมการใช้งานเครือข่ายของกรุงเทพมหานครให้เป็นรูปแบบเดียวกัน (One Login and One Password) สำหรับการเข้าจัดการระบบเครือข่ายสื่อสาร และอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและระบุสิทธิการเข้าถึงเครือข่ายสื่อสารหรืออุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารต่างๆ ได้อย่างสะดวก มีความคล่องตัว และมีความปลอดภัยในการปกป้อง Loginและ Password ของเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบและผู้ใช้งาน เพื่อลดความสับสน ความยากลำบากต่อการเข้าใช้งานของเจ้าหน้าที่ในการที่จะต้องจดจำชื่อ Login และPassword ของแต่ละเครือข่าย และป้องกันการเข้าถึงระบบเครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร โดยผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต จัดหาระบบตรวจสอบสิทธิและระบบควบคุมการใช้งานเครือข่าย เพื่อควบคุมและตรวจสอบสิทธิการเข้าถึงระบบเครือข่ายและระบบงานสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร 13,600,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
841 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 ปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้ติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักโดยใช้สายใยแก้วนำแสงเป็นตัวกลางเชื่อมต่อกับหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ในสังกัดของกรุงเทพมหานครทั้งสำนักงานเขต 50 เขต สำนัก 16 สำนัก และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเข้าใช้งานระบบงานสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ระบบงานทะเบียนราษฎร และบัตรประจำตัวประชาชน และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยสายใยแก้วนำแสงมีอายุการใช้งานมากกว่า 12 ปี มีสภาพเก่า ชำรุดเสื่อมสภาพ จนทำให้ด้อยประสิทธิภาพและขาดเสถียรภาพ จากเหตุผลดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อการใช้งานและการบริการประชาชนมีความล่าช้าในการเรียกใช้ข้อมูลของระบบสารสนเทศต่าง ๆ จนส่งผลให้ต้องหยุดการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ณ หน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครอยู่บ่อยครั้ง ต้องใช้ระยะเวลาแก้ไขปัญหาเพื่อให้สามารถกลับมาใช้งานได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง อีกทั้งปัจจุบันกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการพัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) พร้อมระบบคลาวด์ (Cloud System) เพื่อให้บริการระบบสารสนเทศทั้งหมดของกรุงเทพมหานคร โดยใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักส่งผ่านข้อมูลไปยังหน่วยงานต่าง ๆ จากปัญหาที่กล่าวถึงข้างต้นจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน รวดเร็ว มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลสำหรับการเรียกใช้บริการระบบสารสนเทศจากศูนย์ข้อมูลและจากระบบคลาวด์ของกรุงเทพมหานคร เพื่อปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว จ้างใช้บริการเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน รวดเร็ว มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลของสำนักงานเขต 50 เขต และหน่วยงานส่วนกลาง 19 หน่วยงาน 75,012,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
842 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 ปรับปรุงระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการแก่บุคลากรของกรุงเทพมหานครตั้งแต่ ปี ๒๕๔๒ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันภายใต้ user@bangkok.go.th ซึ่งเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกันภายในองค์กร และหน่วยงานต่างๆ ภายนอกองค์กร โดยให้บริการในรูปแบบของ Web Mail และ Client Mail รวมถึงให้พื้นที่ในการจัดเก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คนละ ๑ GB โดยมีการดูแลบำรุงรักษาและปรับปรุงระบบดังกล่าวเป็นอย่างดีมาโดยตลอดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการใช้งานสูงสุดแก่ผู้ใช้งานภายในองค์กร 1.เพื่อพัฒนาให้เป็นระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หลักของกรุงเทพมหานคร รองรับการใช้งาน ของเจ้าหน้าที่ทุกคน มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง และแพร่หลายรวมถึงเกิดความสะดวกในการใช้งานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร 2.สามารถรองรับการใช้งานในรูปแบบ Web Mail และ Client Mail ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.สามารถรองรับการใช้งานในรูปแบบ Mobile Application และการเชื่อมต่อกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ปฏิทิน ตารางนัดหมายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.สามารถรองรับผู้ใช้งานได้ จำนวน 70,000 คน และมีพื้นที่ในการจัดเก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คนละ ๑๐ GB 2.รูปแบบการใช้งานทั้งในส่วนของ Web Mail และ Client Mail เป็นไปตามมาตรฐานสากล และผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก อีกทั้งง่ายต่อการใช้งาน 3.มีระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ Mobile Application เพื่ออำนวยความสะดวก ต่อการใช้งานให้ผู้ใช้งาน สามารถใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา 4.มีระบบ Mail Engine ที่มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเสถียรภาพ 5.มีระบบป้องกันจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็น Spam ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา 10,741,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 100.00
843 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 จัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 10 เขต และ 8 โรงพยาบาล ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขต ต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับ สำนักงานเขต จำนวน 10 สำนักงานเขต ได้แก่ สำนักงานเขตคันนายาวดุสิต บางพลัด พญาไท มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว และห้วยขวาง ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จัดซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้องทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งระบบคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการด้านทะเบียนราษฎร ณ โรงพยาบาล จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลางโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลตำรวจโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชและโรงพยาบาลราชวิถีจัดซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 มีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้องทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง 1.พื่อให้ทั้ง 10 สำนักงานเขต และ 8 โรงพยาบาล มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน 2.เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้อย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clearหรือ BFC สำนักงานเขตทั้ง 10 สำนักงานเขต และ 8 โรงพยาบาล มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีความทันสมัย และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อให้สามารถให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน รวมทั้งให้บริการตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clearหรือ BFCได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้รับความพึงพอใจจากประชาชน 49,084,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 70.00
844 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต ปัจจุบันเครือข่ายสื่อสารรับส่งข้อมูลภายในสำนักงานเขต ที่เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) ไปยังอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ของฝ่ายต่าง ๆ รวมถึงจุดให้บริการประชาชน โดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางที่เป็นสายนำสัญญาณแบบเกลียวคู่ (UTP) ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้งานมามากกว่า 10 ปี มีสภาพชำรุดและเสื่อมสภาพ อีกทั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง(Access Switch) มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เริ่มมีสภาพเก่า มีการชำรุดเสียหายบ่อยขึ้นและล้าหลังในความสามารถทางด้านเทคโนโลยี จากเหตุผลดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในการใช้ปฏิบัติงานและการบริการประชาชน เช่น การปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มจุดเชื่อมต่อเครือข่ายทำได้ลำบาก อุปกรณ์กระจายสัญญาณมีสภาพเก่าและล้าสมัย ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่มีเสถียรภาพ ส่งผลกระทบต่อการทำงานในวงกว้างของกรุงเทพมหานครที่ต้องการใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานด้านความเร็ว มีเสถียรภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขตเพื่อรองรับการใช้งานอย่างบูรณาการ โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุนและผลประโยชน์ของประชาชนผู้มารับบริการและความคล่องตัวรวดเร็วของบุคลากรกรุงเทพมหานครในการปฏิบัติงานและให้บริการแก่ประชาชน พื่อปรับเปลี่ยนเครือข่ายสื่อสารข้อมูลโดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางแบบไร้สายแทนที่ระบบสื่อสารแบบสายนำสัญญาณแบบเดิม และปรับเปลี่ยนอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ให้รองรับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพเหมาะสมกับ การให้บริการประชาชนในปัจจุบัน จัดหาอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารแบบไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่การปฏิบัติงานของแต่ละฝ่าย และจุดให้บริการประชาชน ทั้ง 50 สำนักงานเขต (เอกสารแนบแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารไร้สาย) 87,672,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-01-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
845 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2563 ในมิติที่ 4 ด้านพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล โดยให้หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อให้มีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครกำหนด เพื่อให้มีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครกำหนด พัฒนาฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลตามกรอบที่คณะกรรมการกำกับการพัฒนาฐานข้อมูล ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2563 กำหนด 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
846 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง สำหรับการบริหารจัดการและการบริการ ณ ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละระบบทำงานบนเครื่องแม่ข่ายของตนเองทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง จากการที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายมีจำนวนมาก มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงและต้องเปิดระบบปรับอากาศอย่างเพียงพอต่อการควบคุมอุณหภูมิห้องให้เหมาะสม ประกอบกับเครื่องแม่ข่ายที่ใช้งานอยู่เดิม มีอายุนานหลายปี มีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน มีความเสี่ยงสูงต่อการชำรุดเสียหาย อีกทั้งไม่สามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรของเครื่องให้เต็มขีดสมรรถนะและยืดหยุ่นเหมาะสมกับสภาวะการใช้งานจริงของแต่ละระบบงานในแต่ละช่วงขณะดังที่ต้องการได้เช่นเดียวกับเทคโนโลยีเครื่องแม่ข่ายในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง ทำการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ข่ายให้ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน ด้วยเทคโนโลยี Virtualization เพื่อรองรับการนำระบบสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครติดตั้งระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน โดยมีการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน ช่วยลดขนาดพื้นที่ในการติดตั้ง จัดการ การใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาลดลง ประหยัดพลังงานไฟฟ้าทั้งนี้ยังทำให้การบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลดความซับซ้อนในการจัดการ รวมไปถึง สามารถดูข้อมูลเครื่องแม่ข่ายทั้งหมดได้สะดวกและง่ายขึ้นในหน้าจอเดียวกัน ตอบสนองต่อภารกิจพิเศษที่ต้องการ ใช้งานทรัพยากรของระบบเครื่องแม่ข่ายได้ในเวลารวดเร็ว พร้อมทั้งรองรับปัญหาการขาดแคลนเครื่องแม่ข่ายที่นำมาทดแทนเครื่องที่มีอายุการใช้งานนาน มีการเสื่อมสภาพ มีสมรรถนะต่ำไม่สามารถรองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นได้ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาเครื่องแม่ข่ายเสมือน เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งเพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐเพื่อผลักดันสู่ไทยแลนด์ 4.0 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเครื่องแม่ข่ายเสมือนที่มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการทำงานของระบบสารสนเทศได้หลากหลายระบบ 2.เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรเครื่องแม่ข่ายเสมือนให้เป็นแบบรวมศูนย์และให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 3.เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการการใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดการใช้พลังงาน 4.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องแม่ข่ายในอนาคต รวมถึง License ของ Software อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถรองรับการเติบโตในอนาคต จัดหาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมให้กับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในภาพรวม 89,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
847 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 จัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์สำหรับศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการจัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล พร้อมทั้งระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์ และโครงข่ายของศูนย์ข้อมูลขึ้น โดยในการจัดหาซอฟต์แวร์ที่ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการระบบสารสนเทศของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานสำหรับศูนย์ข้อมูล (Data Center) ครอบคลุมทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ (Infrastructure as a Service : IaaS) และซอฟต์แวร์ Platform as a Service (PaaS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมีซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.จัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่จำเป็นต้องใช้ในระบบการบริหารจัดการและการให้บริการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร 2.จัดหาซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับศูนย์ข้อมูล 3.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล 4.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์และเครือข่ายของศูนย์ข้อมูล 5.จัดหาซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารจัดการคอมพิวเตอร์แบบศูนย์กลาง 84,401,900.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
848 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ทบทวนและจัดทำตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจของกรุงเทพมหานคร สนับสนุนการพัฒนาตามเป้าหมายของการพัฒนาระดับประเทศ เพื่อใช้ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาที่เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร โดยมีการสำรวจข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัดระดับเมือง แต่ยังไม่ได้มีการรวบรวมและพัฒนาให้เป็นระบบที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเพื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการแผนได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีเป้าหมายสำคัญในการยกระดับองค์กรให้เป็นองค์กรชาญฉลาด (Smart Department) ภายในปี 2565 เพื่อรองรับมหานครอัจฉริยะ (Smart City) มีการกำหนดพันธกิจการเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้วยการพัฒนาคลังข้อมูลกลางกรุงเทพมหานคร (Data Warehouse)และระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขจุดอ่อน โดยใช้ประโยชน์จากประเด็นสำคัญดังกล่าว กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จึงได้จัดทำกิจกรรมการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้เพื่อจัดทำฐานข้อมูล 1 เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างภารกิจด้านแผนและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 เพื่อสร้างเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและหน่วยงานกรุงเทพมหานคร การบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างภารกิจด้านแผนและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยจัดทำระบบฐานข้อมูลตัวชี้วัดเมืองเพื่อใช้ในการบริหารจัดการแผน 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
849 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน ตัวชี้วัด 4.1 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล(Data file) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร พิจารณาจากกระบวนการในการดำเนินงาน ทั้งการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและ ติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน โดยมีวิธีการดำเนินการทั้งหมด 5 ขั้นตอน ความสำเร็จของผลการดำเนินการแต่ละขั้นตอน เป็นไปตามเกณฑ์ของคณะกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
850 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
1.2. 2563 โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัลของบุคลากรสายงานสนับสนุนสำนักพัฒนาสังคม (Up skill for Digital Organization) จากสถานการณ์โลกปัจจุบันกำลังปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมถึงประเทศไทยที่อยู่ในยุคของการปฏิรูปเพื่อ่เข้าสู่การพัฒนาตามแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 ดังนั้น ในทุกภาคส่วนทั้งองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีความสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคดิจิทัล โดยเชื่อมโยงทรัพยากรบุคคล ความรู้ ทักษะนวัตกรรมทางความคิด และเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นหนึ่งเดียวกับการขับเคลื่อนภารกิจเพื่อดูแลและตอบสนองความต้องการของประชาชนกรุงเทพมหานครในศตวรรษที่ 21 ที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซับซ้อน และอ่อนไหวมากขึ้นตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไร้ขีดจำกัด เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัล ให้แก่บุคลากรสายสนับสนุน และนำความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัลไปพัฒนาตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ประกอบด้วย นักจัดการทั่วไป นักประชาสัมพันธ์ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา นายช่างศิลป์ นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานพัสดุ นิติกร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการสถิติ จำนวน 90 คน วิทยากร จำนวน 3 คน คณะกรรมการอำนวยการ จำนวน 8 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน ดำเนินการแบบไป-กลับ จำนวน 3 วัน ภายในเดือนมิถุนายน 2563 ณ โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร 272,800.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
851 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาระบบเรียกดูข้อมูลสถิติของสำนักพัฒนาสังคม ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ระบบที่สามารถให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สามารถสืบค้นข้อมูลด้านสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม เพื่อพัฒนานวัตกรรมบริการภาครัฐ เพื่อสนับสนุนงานให้บริการหรือเพิ่มช่องทางทางการให้บริการสำหรับประชาชน มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้บริการประชาชนและ/หรือเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
852 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการการจัดการความรู้ (KM) ด้านพัฒนาสังคมเชิงบูรณาการ สำนักพัฒนาสังคมในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานด้านพัฒนาชุมชนในทุกมิติ ทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม อนามัย และจิตใจ ส่งเสริมให้บุคคลมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในการดำรงชีวิต คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของบุคคล ส่งเสริมและจัดสวัสดิการสังคมแก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมของกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักพัฒนาสังคม โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาความรู้ในการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่าจุดอ่อนของสำนักพัฒนาสังคมที่สำคัญและเห็นสมควรนำมาแก้ไขเป็นลำดับแรก คือ แนวทางการปฏิบัติงาน ขาดการถ่ายทอดความรู้ การรับรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างส่วนราชการ ขาดการบูรณาการในการทำงานร่วมกัน บุคลากรจะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน รู้เฉพาะงานในหน้าที่ของตนเอง 1.เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน โดยสนับสนุนให้ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดสำนักพัฒนาสังคม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการทำงานของแต่ละส่วนราชการ บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองโดยการหมุนเวียนงานได้ เป็นการขจัดความซ้ำซ้อนของงาน สามารถนำมาจัดกิจกรรมบูรณาการการทำงานด้านพัฒนาสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการอย่างแท้จริง 2.เพื่อให้เกิดระบบการจัดเก็บความรู้ที่มีประสิทธิภาพโดยบุคลากรสังกัดกรุงเทพมหานคร และประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ผ่านทาง Social Media ช่องทางต่างๆ เช่น ทาง Website Page หรือ Facebook ของสำนักพัฒนาสังคมและสามารถบูรณาการความรู้สู่หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
853 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ Bangkok Brand สู่ Online Market Place สำนักพัฒนาสังคมได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล และพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม นับเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในระดับอาเซียนและก้าวไปสู่ความเป็นสากล 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานครให้เป็นผู้ประกอบการเชิงธุรกิจดิจิตอล - 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
854 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักพัฒนาสังคม ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data File) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม ปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเพื่อสนับสนุนการทำงานตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
855 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนคร ในปัจจุบัน ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ ตัดสินใจ (Decision Making) ในเรื่องต่างๆได้อย่างเหมาะสม และทำให้สามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น สำนักงานเขตพระนครตระหนักถึงบทบาทสำคัญของข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าว จึงได้จัดทำกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนครขึ้น เพื่อให้สำนักงานเขตพระนครมีฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร ใช้พัฒนาปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และช่วยลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลได้ เพื่อให้สำนักงานเขตพระนครมีฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ มีฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
856 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร นำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ได้ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
857 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตบางรัก ปัจจุบันข้อมูลมีความสำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านการเป็นเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร แต่หากไม่ได้รับการจัดการ จัดระเบียบหมวดหมู่ คัดเลือกข้อมูลที่เป็นจริง หรือได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา ก็จะสร้างความสับสนให้แก่ผู้ใช้ข้อมูลนั้น เพื่อมีฐานข้อมูลที่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยการสนับสนุนการตัดสินใจในด้านต่างๆ ของผู้บริหาร รวมถึงเป็นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ให้แก่ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานและประชาชน ที่ต้องการใช้ข้อมูล ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
858 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องที่ได้รับแจ้ง หมายถึง เรื่องที่ประชาชนหรือผู้รับบริการแจ้งเรื่องราวต่างๆ มายังกรุงเทพมหานครเพื่อขอรับบริการ ความช่วยเหลือแก้ไขหรือบรรเทาเหตุ การตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทำผิดกฎหมายที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 ประเภท ดังนี้ 1. อาคาร 2. บาทวิถี 3. ถนน 4. สะพาน 5. เขื่อน คูคลอง 6. ท่อระบายน้ำ 7. ที่พักผู้โดยสาร 8. ไฟฟ้า 9. ประปา 10. โทรศัพท์ 11. น้ำท่วม 12. ขยะและสิ่งปฏิกูล 13. ต้นไม้ สวนสาธารณะ 14. สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 15. กระทำผิดในที่สาธารณะ 16. ปัญหาจราจร 17. การบริหารงานบุคคล 18. ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 19. การคุ้มครองผู้บริโภค 20. ยาเสพติด 21. เหตุเดือดร้อนรำคาญ 22. เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 23. เรื่องฉุกเฉิน การดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับแจ้งที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้แจ้งเรื่องทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้เพื่อให้ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้แจ้งเรื่องได้ ด้านปริมาณ มีการตอบสนองในการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้ง ด้านคุณภาพ การแก้ไขบัญหาและการรายงานผลในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ ของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
859 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล - - - 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
860 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
861 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2562 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2559-61 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน จำนวน 2 โครงการ 1.โครงการฯ ของปี 2560 - 2562 จำนวน 1 โครงการ 2.โครงการใหม่ ของปี 2563 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
862 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่ สลป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
863 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขต คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
864 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (มิติที่4)ตัวชี้วัด4.1กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล เป็นไปตามที่สยป.กำหนด เป็นไปตามที่สยป.กำหนด เป็นไปตามที่สยป.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
865 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (งานประจำ)กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตห้วยขวาง สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตามสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ และอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตามสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
866 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตพระโขนง ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระโขนง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
867 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางกะปิ ทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลของเขตบางกะปิ 1 ฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
868 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
869 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ต้องการให้หน่วยงานมีระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี สะดวกและง่ายต่อการค้นหา และสะดวกต่อการให้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการ ณ สำนักงานเขต 1.เพื่อให้หน่วยงานมีระบบฐานข้อมูลที่ดี ค้นหาง่าย 2.เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอข้อมูลจากทางราชการ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารตั้งปี พ.ศ.2538-2562 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
870 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล ปัจจุบันการให้บริการภาครัฐมุ่งเน้นให้บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการรวบรวมข้อมูลต่างๆในระบบสารสนเทศต้องมีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ดำงนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาฐานข้อมุลให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.รวบรวมฐานข้อมูลตามภารกิจของหน่วงานให้ถูกต้อง ครบถ้วน 2.พัฒนาฐานข้อมุลที่กำหนด พัฒนาฐานข้อมูลจำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
871 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตลาดกระบัง รอเพิ่มเติมข้อมูล สยป. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านดิจิทัลของ กทม. มีการจัดเก็บฐานอย่างเป็นระบบ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
872 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 011 สำรอง 011 สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
873 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 012 สำรอง สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
874 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 013 สำรอง สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
875 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
876 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรี (มิติที่ 4.1) ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน สำนักงานเขตธนบุรี จึงได้กำหรดกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีขึ้น เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขต ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต และเพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขตให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้สามารถนำข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต 3. เพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล พัฒนาระบบฐานข้อมูลและบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลนั้นอย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล คิดเป็น ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
877 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมศูนย์บริการราชการฉับไว ใสสะอาด (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
878 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ปัจจุบันการเก็บรวบรวมข้อมูล ในรูปแบบต่าง ๆ และในสื่อต่าง ๆ การรวบรวมกลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการบังคับว่าข้อมูลเหล่านั้นจะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือจะแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูลก็ตาม ดังน้ั้นเพื่อให้การเก็บข้อมูลประสบความสำเร็จ การจัดเก็บฐานข้อมูล Database ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัมนาการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน จะต้องถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลร่วมกัน การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานตามภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเป็นการจัดการฐานข้อมูล Database ให้เป็นระบบ 2. สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมเร็ว ทันสมัย 3. สามารถแบ่งปันการใช้งานข้อมูลได้ 4. สามารถพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานและภาพรวมของกทม. เพื่อให้การพัฒนาฐานข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัมนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
879 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระดับความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ กรุงเทพมหานครดำเนินการเป็นหน่วยงานปกครองรูปแบบพิเศษและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงจึงมีประชากรเป็นจำนวนมาก ทั้งประการหลักและประชากรแฝง ทำให้โอกาศที่จะเกิดปัญหาต่างๆตามมาอย่างมากมาย หน่วยงานของกรุงเทพมหานครเองจึงมีการกำหนดแนวทางให้ทำหน้าที่ดูแลและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น จากเรื่องต่างๆเพื่อบรรเทาและลดโอกาศที่จะเกิดปัญหาในอนาคต 1.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 2.เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการแก่ประชาชนในการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ แก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนทุกเรื่องที่เขตบางกอกใหญ่ได้รับแจ้ง ให้ทันตามที่กำหนด และมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
880 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการการให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการ การบริการที่ดีมีคุณภาพ เป็นภารกิจที่หน่วยงานภาครัฐต้องดำเนินการ โดยเฉพาะสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด จึงต้องจัดให้มีการบริการประชาชนที่ดีและมีคุณภาพ ฝ่ายทะเบียนได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการให้บริการ โดยมีแนวคิดที่จะพัฒนางานบรืการของหน่วยงานภาครัฐสู่ความเป็นเลิศด้านการให้บริการ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ค่านิยมให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนมีจิตใจที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดี จึงได้จัดทำโครงการ "การให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการ" เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการเข้ารับบริการที่ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 1. เพื่อเพิ่มช่องทางและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดต่อราชการ 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีจิตสำนึกที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดี 3. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. ให้บริการประชาชนนอกเวลาราชการ ด้านทะเบียนราษฎร ทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนทั่วไป ในช่วงระยะเวลา 3 ช่วง ตั้งแต่วันจันทร์ - วันศุกร์ เว้นวันหยุดราชการและวันหยดนักขัตฤกษ์ ดังนี้ - ตั้งแต่เวลา 07.45 น. (ก่อนเวลา 08.00 น.) - ตั้งแต่เวลา 12.00 - 13.00 น. - ตั้งแต่เวลา 16.00 - 17.00 น. โดยปิดรับคิวให้บริการเวลา 16.45 น. และให้บริการจนเสร็จกระบวนงาน 2. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
881 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ กรุงเทพมหานครมีการให้บริการประชาชนเป็นหลัก การดำเนินการต่างๆจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะเป็นการอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อความพึงพอใจของประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์สูงสุด 1. เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อตอบสนองความต้องการและอำนวยความสะดวกของปนะชาชน ดำเนินการประเมินความพึงพอใจประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ใน ระดับ 4 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
882 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
883 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตบางกอกน้อย ด้วยกรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่จะมีความจำเป็นในการนำข้อมูลมาใช้ในการปฏิบัติงาน จึงได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ มาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อให้มีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครในระบบสารสนเทศ ๑. มีฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
884 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการคืนชีวิตแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนวัดจำปา ชุมชนวัดจำปาเป็นชุมชนเก่าแก่ที่สุด 1 ใน 8 ของกรุงเทพมหานคร พื้นที่ล้อมรอบด้วยคลองสายหลัก 2 สาย คือคลองบางระมาดและคลองบ้านไทร และมีคลองลัดวัดจำปาเชื่อมคลองทั้งสองสาย เข้าด้วยกันทำให้พื้นที่ของชุมชนมีลักษณะเป็นเกาะ ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย เนื่องจากบริเวณนี้ แต่เดิมเป็นแหล่งการค้าชุมชนและท่าเรือเก่า ประกอบกับเป็นย่านการเกษตร ซึ่งเต็มไปด้วยสวนผลไม้ พืชผักพื้นบ้าน พืชสวนครัว และต้นไม้สีเขียว ทำให้มีความร่มรื่น บรรยากาศของบ้านสวนริมคลองที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถบอกเล่ามรดกทางวัฒนธรรมที่มีประวัติยาวนานกว่า 500 ปี แต่ความเจริญ ในยุคโลกาภิวัฒน์ส่งผลให้การท่องเที่ยวทางธรรมชาติลดน้อยลง สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงได้บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วน สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) โดยนำเอาปัจจัยพื้นฐานของชุมชนมาพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว และเป็นส่วนสำคัญในการอนุรักษ์ เรียนรู้ ถ่ายทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ ส่งเสริมภูมิปัญญา วิถีชีวิตดั้งเดิมของท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว ต่อยอดให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการสร้างเสริมศักยภาพของชุมชนให้มีความพร้อมและมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยวของเมืองในอนาคต เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 1. เพื่อให้ชุมชนตระหนักและมีส่วนร่วมในการอนุรักษณ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และวิถีชีวิตของชุมชนอย่างยั่งยืน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนให้ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาชุมชนที่ปราศจากการทำลายสิ่งแวดล้อม และนำมาซึ่งความสำเร็จของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3. เพื่อส่งเสริมและเชื่อมโยงการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งต่อประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยว ชุมชนมีการบริหารจัดการครบตามองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1. ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม คือ การปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. องค์กรชุมชน คือ การมีส่วนร่วมการดำเนินการ และอนุรักษ์อย่างยั่งยืน 3. การจัดการ คือ จัดทำเส้นทางการท่องเที่ยวตลอดแนว 4. การเรียนรู้ คือ วิถีชาวสวน การเกษตรกรรม การเพาะพันธุ์จิ้งหรีด เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
885 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการตลิ่งชัน ห่วงใย ใส่ใจวัยสูงอายุ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วยปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านการเงิน และปัญหาด้านจิตใจ มักจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ เราจึงควรตระหนักให้ความสำคัญในการเข้าไปดูแลช่วยเหลือ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถดูแลตนเอง หรือใช้ชีวิตอย่างคนปกติทั่วไปได้ สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงนำปัญหาดังกล่าวมาจัดทำโครงการเพื่อดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับความดูแลช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ตามความต้องการ 2.1 เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ตามความเหมาะสม 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพกาย และสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 2.4 เพื่อให้เกิดการบริการสาธารณะภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โปร่งใส บนความมีส่วนร่วมของประชาชน และความร่วมมือระหว่างรัฐ และเอกชน (Smart Governance) 2.5 เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชนทั้ง 43 ชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันได้รับความช่วยเหลือตามความเหมาะสม ได้รับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์โดยมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
886 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตตลิ่งชัน เพื่อให้หน่วยงานมีการจัดทำฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ ฐานข้อมูลของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
887 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 พัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตหนองแขมมีข้อมูลเป็นจำนวนมากที่อยู่กระจัดกระจายตามฝ่ายต่าง ๆ การรวบรวมพัฒนาเป็นฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่สำนักงานเขตหนองแขมตระหนักและให้ความสำคัญ จึงจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลขึ้น 1. รวบรวมข้อมูลพัฒนาให้เป็นฐานข้อมูลเพื่อง่ายต่อการใช้งาน จำนวนข้อมูลอย่างน้อย 6 ประเภทมีการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
888 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ หน่วยงานมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนที่ได้รับแจ้งจากประชาชนหรือผู้รับบริการที่ปรากฎอยู่ในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และสามารถตอบผู้ร้องได้ภายในกำหนด เพื่อดำเนินการแก้ไขเรื่องที่ประชาชนหรือผู้รับบริการแแจ้งผ่านมายังกรุงเทพมหานครเพื่อขอรับบริการ ความช่วยเหลือแก้ไขหรือบรรเทาเหตุ การตรวจสอบข้อเท็จจริงอันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทำผิดกฎหมายที่ปรากฎอยู่ในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร จัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ร้อยละ 90 ขึ้นไป 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
889 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตบางขุนเทียน การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 2. นำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลตามภารกิจหลักมาจัดลำดับ คัดเลือกพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูล 3. เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 มีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 รายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 แหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบจัดเก็บข้อมูล 3.4 ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 ปฏิทินการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด 4. พัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 5. นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูล ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 พัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
890 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำระบบฐานข้อมูล ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีกำรรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่ำงๆ ในสื่อต่ำงๆ ฐำนข้อมูล (Database) หมำยถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่ำข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลำยๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ควำมส�ำเร็จของกำรพัฒนำฐำนข้อมูล หมำยถึง กำรจัดกำรฐำนข้อมูล (Database) โดยกำรน�ำเข้ำข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีกำรแบ่งปันกำรใช้งำนข้อมูล ตำมแผนกำรพัฒนำฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และเกิดประโยชน์ต่อกำรพัฒนำกำรปฏิบัติงำนตำมภำรกิจหลักของหน่วยงำน และภำพรวมของกรุงเทพมหำน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงำนทบทวนสถำนะข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล หรือฐำนข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่น�ำไปประกอบกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยของผู้บริหำรกรุงเทพมหำนคร โดยพิจำรณำ จำกนโยบำย แผนพัฒนำกรุงเทพมหำนคร มำตรฐำนบริกำรสำธำรณะของกรุงเทพมหำนคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงำนน�ำข้อมูลตำมขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจ�ำเป็นตำมภำรกิจหลักมำจัดล�ำดับควำมส�ำคัญ และพิจำรณำคัดเลือกภำรกิจหลัก ที่จะด�ำเนินกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล จ�ำนวน 1 ฐำนข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่ำนกำรพิจำรณำจำกส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงำนต้องจัดท�ำแผนพัฒนำ ฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และส่งให้ส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลภำยในเดือนมกรำคม 2563 โดยมีรำยละเอียด อย่ำงน้อย ดังนี้ 3.1 จัดท�ำรำยละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องกำรจัดเก็บ 3.2 ก�ำหนดแหล่งข้อมูลในกำรจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบกำรจัดเก็บข้อมูล 3.4 ก�ำหนดผู้รับผิดชอบในกำรจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงำน 3.5 ก�ำหนดเครื่องมือในกำรจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดท�ำปฏิทินกำรด�ำเนินงำนเพื่อให้เป็นไปตำมระยะเวลำที่ก�ำหนขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานด�ำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานน�ำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มน�ำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือน มิถุนายน 2563 ซึ่งการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละความส�ำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทิน ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด และต้องด�ำเนินการตามล�ำดับขั้นตอนโดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
891 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตดอนเมือง ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าบุคลากรในหน่วยงานมีการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆเพิ่มมากขึ้น อาจเป็นผลเนื่องมาจากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพ เช่น บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ซึ่งการที่จะมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืนและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น ต้องเริ่มตั้งแต่การส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพ โดยให้บุคลากรสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพ และการมีสุขภาพดียังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย สำนักงานเขตดอนเมือง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ดังนั้น เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อ การเกิดโรค ตื่นตัวในการทำงานและมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรสำนักงานเขตดอนเมือง 1.เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีสุขภาพกายแข็งแรง โดยการออกกำลังกายอย่าสม่ำเสมอ 2.เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรใส่ใจภาวะสุขภาพของตนเองมากขึ้น มีความรู้ด้านโภชนาการและการออกกำลังกายเพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ 3.เพื่อให้บุคลากรมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) พัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติมากขึ้น ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานเขตดอนเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
892 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมสำรวจและลงฐานข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานได้ถูกกำหนดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานให้สำนักงานเขตได้ ทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล คัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูล เพื่อกำหนดเป็นตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ของสำนักงานเขตจตุจักรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. เพื่อทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 2. เพื่อคัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. 3. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล 4. เพื่อดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล 5. เพื่อนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูล 1. ทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลได้ร้อยละ 10 2. คัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. ได้ร้อยละ 10 3. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลได้ร้อยละ 20 4. ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลได้ร้อยละ 20 5. นำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้ร้อยร้อยละ 40 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
893 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
894 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ สำนักงานเขตลาดพร้าว พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติราชการ มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่องานบริการที่มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในการให้บริการ ไม่มีขั้นตอนปฏิบัติงานเกินความจำเป็น มีการปรับปรุงภารกิจให้ทันต่อสถานการณ์ ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความ ต้องการ และมีการประเมินผลการให้บริการอย่างสม่ำเสมอ 1. เพื่อให้การดำเนินงานจัดการข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์สำนักงานเขตลาดพร้าว มีขั้นตอน/กระบวนการ และแนวทางในการปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดการข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
895 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตลาดพร้าว มีภารกิจหลักในการให้บริการประชาชน อีกทั้งมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการส่งเสริมจากทุกภาคส่วนในการบริหารงานของสำนักงานเขต จึงได้จัดกิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว เพื่อสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ จากประชาชนผู้รับบริการ และนำข้อมูลที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมมาปรับปรุงการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนต่อไป 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว 2. เพื่อสอบถามความต้องการ ปัญหา ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ 3. นำข้อมูลจากการสอบถามมาปรับปรุงการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับ 5 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
896 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตลาดพร้าว ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีวิวัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สำนักงานเขตลาดพร้าว จำเป็นต้องจัดหาระบบ พัฒนา และปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและรองรับการดำเนินงานการจัดทำดัชนีเศรษฐกิจการค้า โดยเฉพาะการเผยแพร่ข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เป็นไปตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ข้อ 6 นโยบายการพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในข้อ ค. พัฒนาระบบราชการ ข้อย่อย 6.4.1 ปรับปรุงแบบการทำงาน อำนวยความสะดวก ลดขั้นตอนและกระบวนการทำงาน ขยายการให้บริการประชาชน และ ข้อย่อย 6.5.4 เสริมสร้างความเป็นเลิศในการปฏิบัติราชการ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 2.มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย และเป็นปัจจุบันตลอดเวลา 3.สามารถลดขั้นตอนการให้บริการข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการทั้งภาครัฐและเอกชน 4.มีโปรแกรมตรวจสอบ ประมวลผล และรายงานที่ทันสมัย ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
897 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการบึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาถนนเสรีไทย ปัจจุบันพื้นที่สำนักงานเขตบึงกุ่ม มีการพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการเจริญเติบโตของเมือง รวมถึงการขยายตัวของชุมชน มีประชาชนสร้างบ้านเรือนพักอาศัยเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนเป็นชุมชนเมือง พื้นที่ทางการเกษตรเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัย หมู่บ้านจัดสรร อาคารชุด สถานประกอบการ ทำให้เกิดปัญหาการตั้งวางของหาบเร่แผงลอย และการจอดรถบนทางเท้า รวมทั้งผู้ประกอบการค้าบางราย ได้นำเศษอาหารทิ้งลงท่อระบายน้ำ การตั้งป้ายโฆษณากีดขวางทางเดินบนทางเท้า ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม สภาพผิวจราจรชำรุดเสียหายไม่สวยงาม อีกทั้งก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนในการสัญจรผ่านไปมา สำนักงานเขตบึงกุ่ม ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวคิดพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนเสรีไทยช่วงแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ซึ่งสามารถเชื่อมสถานที่สำคัญ สวนนวมินทร์ภิรมย์ สวนเสรีไทย พิพิธภัณฑ์เสรีไทย วัดพิชัย และมัสยิดอัสสลามคลองกุ่ม รวมถึงแหล่งศูนย์รวมร้านอาหารในหมู่บ้านสหกรณ์ เป็นต้น โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและรับทราบรูปแบบแนวทาง เช่น การทาสีอาคาร การติดตั้งป้ายสถานที่สำคัญ บริเวณถนนเสรีไทย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน สำนักงานเขตบึงกุ่ม จึงจัดทำโครงการ “บึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาเสรีไทย” เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป ประชุมหารือร่วมกันเสนอแนวคิดการพัฒนาถนนเสรีไทย 2.1 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของถนนเสรีไทยในความรับผิดชอบของเขตบึงกุ่ม เริ่มจากแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ให้มีความสะอาดสวยงาม 2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงถนนเสรีไทย ให้มีความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า เป็นระเบียบเรียบร้อยเกิดความสวยงาม สร้างความประทับใจแก่ผู้ใช้บริการ 2.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และเกิดรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันในการดูแลรักษาถนนเสรีไทย 3.1 มีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่โดยมีสมาชิกเครือข่ายทุกภาคส่วน ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน และจิตอาสาเฉพาะกิจงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ไม่น้อยกว่า 100 คน 3.2 มีการประชุมสมาชิกเครือข่ายเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาและติดตามผลการดำเนินการไม้น้อยกว่า 2 ครั้ง/ปี 3.3 มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแผนที่กำหนดไว้แล้วเสร็จร้อยละ 100 3.4 มีช่องทางการสื่อสารทางสังคมออนไลน์ (เว็บไซต์/ Facebook) 3.4.1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด พร้อมภาพถ่ายก่อน-หลัง การดำเนินกิจกรรม ครบถ้วน ร้อยละ 100 3.4.2 มีสมาชิกเครือข่าย/ประชาชนแสดงความคิดเห็น/โพสต์/รีวิว/Checkin ไม่น้อยกว่า 500 ราย/ปี 3.5 มีพื้นที่สีเขียวที่เป็นอัตลักษณ์ของเขตบึงกุ่ม จำนวน 1 จุด มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร 3.6 ประชาชนมีความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
898 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการคลองสวย น้ำใส ชาวบึงกุ่มร่วมใจพัฒนา ปัจจุบันพื้นที่สำนักงานเขตบึงกุ่ม มีการพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการเจริญเติบโตของเมือง รวมถึงการขยายตัวของชุมชน มีประชาชนสร้างบ้านเรือนพักอาศัยเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนเป็นชุมชนเมือง พื้นที่ทางการเกษตรเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัย หมู่บ้านจัดสรร อาคารชุด สถานประกอบการ ทำให้เกิดปัญหาการตั้งวางของหาบเร่แผงลอย และการจอดรถบนทางเท้า รวมทั้งผู้ประกอบการค้าบางราย ได้นำเศษอาหารทิ้งลงท่อระบายน้ำ การตั้งป้ายโฆษณากีดขวางทางเดินบนทางเท้า ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม สภาพผิวจราจรชำรุดเสียหายไม่สวยงาม อีกทั้งก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนในการสัญจรผ่านไปมา สำนักงานเขตบึงกุ่ม ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวคิดพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนเสรีไทยช่วงแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ซึ่งสามารถเชื่อมสถานที่สำคัญ สวนนวมินทร์ภิรมย์ สวนเสรีไทย พิพิธภัณฑ์เสรีไทย วัดพิชัย และมัสยิดอัสสลามคลองกุ่ม รวมถึงแหล่งศูนย์รวมร้านอาหารในหมู่บ้านสหกรณ์ เป็นต้น โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและรับทราบรูปแบบแนวทาง เช่น การทาสีอาคาร การติดตั้งป้ายสถานที่สำคัญ บริเวณถนนเสรีไทย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน สำนักงานเขตบึงกุ่ม จึงจัดทำโครงการ “บึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาเสรีไทย” เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป ประชุมหารือร่วมกันเสนอแนวคิดการพัฒนาถนนเสรีไทย 2.1 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของถนนเสรีไทยในความรับผิดชอบของเขตบึงกุ่ม เริ่มจากแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ให้มีความสะอาดสวยงาม 2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงถนนเสรีไทย ให้มีความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า เป็นระเบียบเรียบร้อยเกิดความสวยงาม สร้างความประทับใจแก่ผู้ใช้บริการ 2.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และเกิดรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันในการดูแลรักษาถนนเสรีไทย 3.1 มีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่โดยมีสมาชิกเครือข่ายทุกภาคส่วน ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน และจิตอาสาเฉพาะกิจงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ไม่น้อยกว่า 100 คน 3.2 มีการประชุมสมาชิกเครือข่ายเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาและติดตามผลการดำเนินการไม้น้อยกว่า 2 ครั้ง/ปี 3.3 มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแผนที่กำหนดไว้แล้วเสร็จร้อยละ 100 3.4 มีช่องทางการสื่อสารทางสังคมออนไลน์ (เว็บไซต์/ Facebook) 3.4.1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด พร้อมภาพถ่ายก่อน-หลัง การดำเนินกิจกรรม ครบถ้วน ร้อยละ 100 3.4.2 มีสมาชิกเครือข่าย/ประชาชนแสดงความคิดเห็น/โพสต์/รีวิว/Checkin ไม่น้อยกว่า 500 ราย/ปี 3.5 มีพื้นที่สีเขียวที่เป็นอัตลักษณ์ของเขตบึงกุ่ม จำนวน 1 จุด มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร 3.6 ประชาชนมีความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
899 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่สำนักงาน กก. และสตน. กำหนด ตามที่สำนักงาน ก.ก. และสตน. กำหนด ตามที่สำนักงาน ก.ก. และสตน.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
900 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางซื่อ ตามที่ สยป. กำหนด (ปรากฏตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ตามที่ สยป. กำหนด (ปรากฏตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางซื่อ 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
901 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตราชเทวี รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
902 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตประเวศ พิจารณาจากกระบวนการในการดำเนินงาน ทั้งการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำ รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน โดยมีวิธีการดำเนินการทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการ ตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญ และพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 โดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 จัดทำรายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 กำหนดแหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 3.4 กำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน 3.5 กำหนดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ซึ่งการดำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด และต้องดำเนินการตามลำดับขั้นตอน โดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง - จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน - 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
903 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
904 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตจอมทอง --------------------/------------------ ----------------------/----------------- --------------------/---------------- 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
905 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
906 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เพื่อให้การจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ปรากฎในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามกระบวนการที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการดำเนินการแก้ไข และรายงานผลอย่างมีคุณภาพตามอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อให้เรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแจ้ง ได้ดำเนินการแก้ไข และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการ/พิจารณาเข้าสู่ระบบฯ 2.เพื่อให้การแก้ไขปัญหาและรายงานผลในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ประสบความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน สามารถแก้ไขและบรรเทาความเดือดร้อนให้ประชาชน และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร ความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
907 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสวนหลวง ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ให้หน่วยงานจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อจัดทำรายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 2.เพื่อกำหนดแหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.เพื่อออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 4.เพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน 5.เพื่อกำหนดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 6.เพื่อจัดทำปฏิทินการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด เพื่อให้หน่วยงานมีการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาข้อมูลเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
908 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้เสร็จภายในกำหนด สำนักงานเขตวัฒนามีนโยบายดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนในพื้นที่เขต 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานแก้ไขเรื่องร้องเรียน ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายในกำหนดครบทุกเรื่อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
909 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลชองสำนักงานเขตวัฒนา สำนักงานเขตมีฐานข้อมูลด้านกายภาพ เศรฐกิจ สังคม ไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การนำข้อมูลมาพัฒนางานด้านต่างๆ ไม่สอดคล้องตามความต้องการของประชาชน เพื่อให้ฐานข้อมูลของสำนักงานเขตวัฒนาเป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลเขตวัฒนาครบถ้วนถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
910 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการประชาร่วมใจ คืนน้ำใส ให้คลองสวย สำนักงานเขตวัฒนาได้วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ - มีวัชพืชและผักตบชวาขึ้นกีดขวางทางน้ำไหลในคูคลอง ลำราง และโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ต้องดำเนินการจัดเก็บบ่อยครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่อย่างจำกัด และมีภารกิจที่ต้องรับผิดชอบในด้านอื่นๆ - ประชาชนทิ้งขยะลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ - มีการปล่อยน้ำเสียที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ จากอาคารสาธารณะ อาคารพักอาศัยรวม สถานประกอบการ และร้านอาหาร - สภาพพื้นที่เขตวัฒนาเป็นแอ่งกระทะ ระดับพื้นที่เขตวัฒนาต่ำกว่าระดับพื้นที่เขตข้างเคียง และเป็นพื้นที่ปิดล้อม การระบายน้ำต้องใช้วิธีการสูบน้ำออกลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะนอกพื้นที่เขตเพียงอย่างเดียว หากมีฝนตกในปริมาณมากกว่า 60 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงจะไม่สามารถระบายน้ำฝนได้ทัน ต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำ บริเวณจุดอ่อนน้ำท่วม บริเวณซอยสุขุมวิท 39 เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่ - เพื่อดูแลรักษาสภาพคูน้ำซอยสวัสดีให้อยู่ในสภาพเดิม สามารถระบายน้ำได้ดี - เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคูน้ำซอยสวัสดี และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - เพื่อป้องกันการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคูน้ำซอยสวัสดี - เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชนผู้สัญจร - จัดเก็บขยะ วัชพืช ขุดลอก และดูแลรักษาสภาพคูน้ำซอยสวัสดี จากสุขุมวิท 31 ถึงคลองแสนแสบ ระยะทาง 1,535 เมตร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เมษายน 2563 - ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคูน้ำซอยสวัสดี และเพิ่มพื้นที่สีเขียว (จุด Landmark) จำนวน 1 จุด โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ - จัดเจ้าหน้าที่ดูแลไม่ให้มีการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคูน้ำซอยสวัสดี ทุกเดือน - ติดตั้งโคมไฟโซล่าเซลล์เพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนในบริเวณคูน้ำซอยสวัสดี จำนวน 6 จุด โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
911 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้กำหนดให้การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งกำหนดให้สำนักงานเขต 50 เขต จัดทำระบบฐานข้อมูล โดยจัดการฐานข้อมูล นำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร และเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ให้คณะผู้บริหารกรุงเทพมหานครประกอบการจัดทำยโยบายในการพัฒนากรุงเทพมหานครก้าวไปสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย เพื่อจัดทำฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัยตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จัดทำฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
912 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามที่ สลป. กำหนด ตามที่ สลป. กำหนด ตามที่ สลป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
913 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตหลักสี่ -ทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน -เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลของเขตหลักสี่ 1 ฐานข้อมูล -การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
914 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตสายไหม เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
915 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
916 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสายไหม การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลในสำนักงานเขตและจัดระบบให้มีความสัมพันธ์กันเป็นฐานข้อมูล (Database) 2. เพื่อปรับปรุงและนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
917 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปี 2563 (โครงการสายไหม สายน้ำใจ สู่สายน้ำ) การพัฒนาคลองและชุมชนริมคลองสองให้เกิดความยั่งยืนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากชุมชน และเปิดพื้นที่ริมคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อให้ผู้คนภายนอกสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากคลองได้เช่นเดียวกับชุมชนริมคลอง โดยเริ่มจากสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนริมคลองสอง แล้วประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสม ซึ่งได้ข้อสรุปของโครงการว่าการดำเนินงานเกิดจากประชาชนชาวสายไหมที่ร่วมมือกันเป็นเครือข่ายคนรักษ์คลองสอง ร่วมเรียนรู้อดีตความเป็นมาของคลองสองและวิถีชีวิตชุมชนที่พึ่งพาคลอง เพื่อฟื้นฟูให้คลองสองกลับมาเป็นพื้นที่ที่เชื่อมโยงผู้คนเช่นในอดีต โดยร่วมมือกันพัฒนาและรักษาคลองให้สะอาด จัดระเบียบภูมิทัศน์ให้สวยงาม จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนริมคลองให้ดีขึ้น โดยน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนให้ครอบคลุมการพัฒนาในทุกมิติ เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนริมคลองตั้งแต่เริ่มต้นระเบิดปัญหาและความต้องการจากคนภายในชุมชน (ระเบิดจากข้างใน) ร่วมคิด ร่วมวางแผนการดำเนินงาน และร่วมเป็นพลังจิตอาสาซึ่งจะเป็นกำลังหลักในการดูแลรักษาสภาพคลองให้สะอาด ปลอดขยะและผักตบชวา บำบัดฟื้นฟูคุณภาพน้ำในคลอง รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างรายได้พึ่งพาตนเอง อาศัยอยู่กับคลองโดยไม่เบียดเบียนธรรมชาติ และส่งเสริมการอนุรักษ์คลองอย่างยั่งยืน 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำริมคลองสองให้คลองสามารถระบายน้ำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 2. เพื่อปรับภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวทางเดินริมคลองสองและจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะ 3. เพื่อแก้ไขและจัดการปัญหาการทิ้งขยะและน้ำทิ้งจากชุมชนริมคลอง และพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนริมคลองในด้านต่างๆ 4. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคลองสองให้เกิดความยั่งยืน 1. จัดตั้งเครือข่าย “คนสายไหม เชื่อมใจ รักษ์คลองสอง” ประกอบด้วยภาคส่วนต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาคลองสอง โดยจัดประชุมผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมติดตามผลไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี 2. ริมคลองสองไม่มีสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำแนวเขื่อนเพิ่มเติมและผู้บุกรุกรายเดิมมีการดำเนินการทางกฎหมาย 3. ดำเนินการปรับภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวทางเดินริมคลองสองความยาว 700 เมตร และจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะ 4. ดำเนินการจัดการปัญหาขยะและน้ำทิ้งจากชุมชนริมคลองโดยจัดกิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน 5. ดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนริมคลอง โดยจัดกิจกรรม “วิถีชุมชนคนริมคลอง” 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
918 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด “Saimai Happy Road Happy Life”(รักษารอบ) ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561) สำนักงานเขตสายไหมได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับถนนจำนวน 120 เรื่อง (ผิวจราจรชำรุด จำนวน 65 ราย/ฝุ่นละออง จำนวน 11 ราย/ดินตกหล่น จำนวน 44 ราย) ซึ่งนอกจากจะเกิดความเสียหายแก่เส้นทางสัญจรแล้ว ยังพบว่ามีปริมาณฝุ่นควันและเสียงดังรบกวนประชาชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตอีกด้วย ดังนั้นสำนักงานเขตสายไหม จึงได้จัดทำโครงการ Saimai Happy Road Happy Life เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 1.เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างในพื้นที่เขตสายไหม 2.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้แก่ การสัญจรไม่สะดวกจากถนนชำรุด และความเจ็บป่วยจากฝุ่นละออง 3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชน และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 1.ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ควบคุมปริมาณฝุ่นละอองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในพื้นที่เขตสายไหม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.) 3.เกิดเครือข่ายระหว่างภาคประชาชน หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ เพื่อร่วมกันสอดส่องดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
919 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลในสำนักงานเขตและจัดระบบให้มีความสัมพันธ์กันเป็นฐานข้อมูล (Database) 2. เพื่อปรับปรุงและนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลสำนักงานเขตคันยายาว 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
920 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ด้วยการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศง 2560 มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน กำหนดให้หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตคันนายาวจังได้จัดทำกิจกรรมการดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ขึ้น เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ การดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ตามเกณฑ์ที่กองกลางกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
921 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 แผนการจัดทำฐานข้อมูลภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในเขตคันนายาว เพื่อให้สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้ามหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 1 เพื่อแจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีป้าย ได้ตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2. เพื่อดำเนินการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ในรายที่ยังไม่ยื่นแบบแสดงรายการในปีที่ผ่านมา แจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีป้าย ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ร้อยละ 100 ของประมาณการที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
922 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ตัวชี้วัด 3.1 กิจกรรมระดับความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ - เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนหรือตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
923 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ตัวชี้วัด 4.1 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดทำแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงการหรือเป้าหมายการพัฒนา การแก้ไขปัญหาในพื้นเขตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทุกฝ่ายต้องมีการบูรณาการข้อมูลที่มีอยู่ร่วมกันเอาไว้อยู่ในฐานข้อมูลเดียวกัน เพื่อที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ดังนั้นจึงมีการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อที่จะได้เอาไว้รวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่ายที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่ายที่จำเป็นต่อการวางแผนหรือการวางนโยบายไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน 2. สำนักงานเขตวังทองหลางมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบาย ทุกฝ่ายนำข้อมูลที่จำเป็นต่อการวางแผนเข้าสู่ฐานข้อมูลได้ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
924 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตคลองสามวา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กกกกก กกกก 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
925 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางนา กิจกรรมนี้จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นหรือสำคัญของสำนักงานเขต เพื่อพัฒนาเป็นฐานข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น 1. พัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่ สยป. กำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 1. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 2. มีฐานข้อมูลของสำนักงานเขตอย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 3. มีการนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลดังกล่าว 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
926 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันของสำนักงานเขตมีจำนวนมาก แต่ยังไม่มีการเก็บรวมรวมไว้อย่างเป็นระบบทำให้การใช้งานข้อมูลไม่ได้รับความสะดวก เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยงานที่เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ไว้สำหรับการใช้งานที่สะดวก รวดเร็ว มีฐานข้อมูลที่เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ไว้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
927 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กำรพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลที่เป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
928 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อให้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ มีการวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางบอน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
929 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงาน ก.ก. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2564 กำหนดตัวชี้วัด 5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 1. เพื่อรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2563 และดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) 2. เพื่อพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 1. รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2. พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
930 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 1.1 โครงการสร้างสังคมพหุวัฒนธรรมร่วมกับเมืองพี่เมืองน้อง (ส่วนส่งเสริมฯ) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร ผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในรูปแบบกิจกรรมกลุ่ม หรือรูปแบบเสมือนจริงผ่านการดำเนินการออนไลน์ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับเมืองในต่างประเทศ เกิดการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับเมืองในต่างประเทศ สำนักงานการต่างประเทศ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ดำเนินการต้อนรับคณะเยาวชนและเจ้าหน้าที่จากเมืองพี่เมืองน้องของกรุงเทพมหานครตามโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนแบบทวิภาคีหรือพหุภาคี ในลักษณะต่างตอบแทนเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถึงการจัดเตรียมความพร้อมให้แก่เยาวชนกรุงเทพมหานครในการเป็นผู้แทนเยาวชนกรุงเทพมหานครทั้งในฐานะเจ้าบ้านที่ดีและเพื่อนเยาวชนคอยอำนวยความสะดวกให้แก่เยาวชนต่างประเทศ โดยมีคณะเยาวชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่และจากเมืองต่างๆ เช่น กรุงอูลานบาตอร์ จังหวัดฟูกูโอกะ กรุงโซล เมืองต้าเหลียน นครฉงชิ่ง และนครปูซาน เป็นต้น 333,700.00 324,400.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
931 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 5.1 โครงการเข้าร่วมการประชุม/กิจกรรมที่จัดโดยเมืองหรือองค์การระหว่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน (ส่วนแผนงานฯ) - 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมนโยบาย ดำเนินกิจกรรมโครงการการพัฒนาตามกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียนของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานครกับเมืองในประเทศอาเซียน ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศไทยและในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ กิจกรรรมและโครงการของอาเซียนให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชนชาวกรุงเทพมหานครเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีทั้งในระดับเมือง หน่วยงาน และประชาชน 1. เข้าร่วมการประชุมความร่วมมือในระดับผู้นำเมืองและระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 2. จัดและ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนของประเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเมืองและการส่งเสริมศักยภาพของกรุงเทพมหานครสู่การเป็นเมืองมหานครแห่งเอเชียและศูนย์กลางภูมิภาคอาเซียน 3. จัดและ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการตามกรอบประชาคมอาเซียนแก่บุคลากรกรุงเทพมหานครและประชาชนทั่วไป 1,000,000.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
932 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 3.2 โครงการส่งเสริมความร่วมมือจากแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดกับเมืองพี่เมืองน้อง (ส่วนส่งเสริมฯ) สำนักงานการต่างประเทศได้จัดการสัมมนาผู้ปฏิบัติงานด้านเมืองพี่เมืองน้องในการวางแผนการดำเนินกิจกรรมร่วมกัน (Sister City Senior Officials Seminar on International Cooperation) ระหว่างวันที่ 12 - 16 มีนาคม 2๕๖๑ ซึ่งถือเป็นก้าวแรกของความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานครกับเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรซึ่งมีหน่วยงานระดับสำนักของกรุงเทพมหานครและมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชเข้าร่วมการสัมมนาฯ ทำให้ได้รับทราบข้อมูลการพัฒนาเมือง และได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมข้อเสนอแนะร่วมกับสำนักงานการต่างประเทศในการวางกรอบแนวคิดเพื่อร่วมดำเนินกิจกรรมในสาขาต่างๆ โดยนำความรู้ ประสบการณ์ เทคโนโลยี และแนวทางการดำเนินงานจากโครงการหรือแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices) จากเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมพร้อมร่วมเสนอแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมร่วมกับสำนักงานต่างประเทศให้เกิดขึ้น โดยแบ่งกลุ่มการสัมมนาฯ ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต 2) กลุ่มวัฒนธรรม นันทนาการและการท่องเที่ยว 3) กลุ่มการศึกษาและการพัฒนาเยาวชน และ 4) กลุ่มส่งเสริมการค้าและเศรษฐกิจเมือง สำนักงานการต่างประเทศได้รายงานสรุปผลการจัดการสัมมนาฯ ตามหนังสือ ที่ กท 0410/869 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2561 และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้โปรดเห็นชอบให้สำนักงานการต่างประเทศดำเนินงานด้านการต่างประเทศตามที่ได้มีการหารือร่วมกับเมืองพี่เมืองน้อง ซึ่งในระยะแรก (Phase I) หรือ ๑ - ๓ ปีแรก จะดำเนินการพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานหลักด้านการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานครในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรุงเทพมหานครกับโครงการหรือแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) จากเมืองพี่เมืองน้องและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ตามที่เมืองพี่เมืองน้องกำหนด และตามหนังสือสำนักงานการต่างประเทศ ด่วนมาก ที่ กท 0410/2062 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 ปลัดกรุงเทพมหานครได้เห็นชอบให้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมร่วมกันกับเมืองพี่เมืองน้อง และจากนั้น สำนักงานการต่างประเทศจะจัดให้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อต่อยอดความตกลงเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรและดำเนินการความร่วมมือระหว่างกันในอนาคต ดังนั้น เพื่อเป็นการต่อยอดการดำเนินงานระยะแรก (Phase I) และทำให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่พัฒนาไปอย่างก้าวไกล มีความสามารถในการแข่งขันในทุกด้าน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 3 ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ประกอบกับเป็นการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 และเป็นการดำเนินการตามความตกลง/บันทึกความเข้าใจที่ได้ลงนามร่วมกับเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตร รวมถึงความสัมพันธ์และความร่วมมือที่จัดทำขึ้นโดยสภากรุงเทพมหานครในฐานะสภาบ้านพี่เมืองน้อง จึงเห็นควรดำเนินการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือจากแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดกับเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรตามที่ได้มีการลงนามในความตกลงหรือบันทึกความเข้าใจในด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ การท่องเที่ยว เป็นต้น โดยสำนักงานการต่างประเทศเป็นผู้ประสานงานและสร้างโอกาสในการเรียนรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้วิทยาการใหม่ ๆ สร้างเสริมความรู้และประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ กรุงเทพมหานครจะได้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมจากความตกลงเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรที่ได้ลงนามกันไว้ รวมทั้งเมืองที่มีความสัมพันธ์หรือความร่วมมืออันดีและสภาบ้านพี่เมืองของสภากรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถวางแผนปรับปรุงและแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเขตเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างและกระชับความสัมพันธ์อันดีกับเมืองพี่เมืองน้องและเมืองฉันมิตรของกรุงเทพมหานครด้วย นำคณะผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครจากหน่วยงานที่กำหนดตามกรอบที่หน่วยงานผู้จัดกำหนดหรือตามนโยบายผู้บริหารเดินทางเยือนเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรของกรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับแนวคิด นโยบาย และการนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขและตอบสนองปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม โดยหัวข้อในการเรียนรู้จะเป็นไป ตามความเห็นของคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมร่วมกันกับเมืองพี่เมืองน้อง ตามที่ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจในแต่ละประเด็นความร่วมมือกับแต่ละเมือง โดยใน Phase I ระยะที่ 1 จะดำเนินการต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ช่วงระหว่างเดือน ต.ค. 2563 - ก.ย. 2564) โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 5 คน ระยะเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยเน้นด้านความปลอดภัย การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงการให้บริการของรัฐ การจราจร และการวางผังเมือง เป็นต้น กลุ่มที่ 2 การบริหารจัดการเมือง โดยเน้นการเรียนรู้ในด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการน้ำ การบริหารทรัพยากรบุคคลและการเงินการคลัง การบริหารองค์กรและจัดระบบราชการ เป็นต้น กลุ่มที่ 3 เรียนรู้ในด้านการศึกษาและเศรษฐกิจ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาระบบการศึกษา และเศรษฐกิจเมือง เป็นต้น 1,053,200.00 8,000.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
933 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 4.1 โครงการเข้าร่วมการประชุม/กิจกรรมที่จัดขึ้นโดยเมืองหรือองค์การระหว่างประเทศในระดับเมืองที่กรุงเทพมหานครเป็นสมาชิก (ส่วนแผนงานฯ) กรุงเทพมหานครในฐานะเมืองหลวงของประเทศและศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเมืองและการปกครอง ทำให้กรุงเทพมหานครมีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องมาโดยตลอด และความเจริญก้าวหน้านี้ทำให้กรุงเทพมหานครต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ ที่เมืองใหญ่ต้องประสบ อาทิ ปัญหาด้านการจัดการเมือง สิ่งแวดล้อม ระบบสาธารณูปโภค ที่อยู่อาศัย การใช้ที่ดิน สาธารณสุข และปัญหาสังคมต่างๆ ดังนั้น กรุงเทพมหานครในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่และประชาชนโดยตรงจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจและดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธีและทันท่วงที การแสวงหาความร่วมมือกับเมืองต่างๆ ผ่านองค์การระหว่างประเทศในระดับเมือง เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมบทบาทและภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครในเวทีนานาชาติพร้อมทั้งเป็นการเสริมสร้างศักยภาพในการจัดการ และพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยอาศัยเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเมืองสมาชิกเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์รวมถึงการแลกเปลี่ยนความร่วมมือในด้านต่างๆ อันจะนำไปสู่ประโยชน์และการพัฒนาเมือง อย่างยั่งยืนและเพื่อบรรลุเป้าหมายของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการแลกเปลี่ยนความร่วมมือกับเมืองต่าง ๆ ผ่านทางองค์การระหว่างประเทศในระดับเมืองที่กรุงเทพมหานครเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการและที่เป็นสมาชิกเครือข่ายอย่างไม่เป็นทางการ อาทิ 1) Asian-Pacific City Summit หรือ APCS 2) C40 Cities Climate Leadership 3) CityNet 4) The Japan Council of Local Authorities for International Relations หรือ CLAIR 5) Metropolis 6) International Council for Local Environment Initiatives หรือ ICLEI 7) Asia-Europe Meeting for Governors and Mayors หรือ ASEM MGM 8) Asian Mayors Forum หรือ AMF 9) World e-Government Organization หรือ WeGO และ 10) Mayors for Peace นอกจากนี้ กรุงเทพมหานครยังได้ให้ความร่วมมือและเข้าร่วมกิจกรรมในกรอบความร่วมมือผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศในระดับเมืองอื่นๆ อีกด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นไปอย่างบูรณาการและทัดเทียมกับนานาประเทศ การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศในระดับเมืองดังที่กล่าวมาจะช่วยให้กรุงเทพมหานครสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ และข้อมูลที่ได้รับมาปรับใช้ในการดำเนินงานและพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากรได้เป็นอย่างดี 1. เพิ่มบทบาทของกรุงเทพมหานครด้านการต่างประเทศทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคีในการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความร่วมมือระหว่างเมืองผ่านการเป็นสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศในระดับเมืองและเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเมืองต่าง ๆ 2. ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพมหานครกับเมืองต่าง ๆ ผ่านองค์การระหว่างประเทศที่กรุงเทพมหานครเป็นสมาชิก 3. เพื่อเป็นเวทีสำหรับแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเมืองในการบริหารจัดการเมืองและแก้ไขปัญหาเมืองด้านต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนและการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2565๗ และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) ผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครร่วมประชุม เข้าร่วมหรือจัดกิจกรรมที่จัดโดยเมืองหรือองค์การระหว่างประเทศในระดับเมืองเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และความร่วมมือในสาขาต่าง ๆ 2,500,000.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
934 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 5.2 โครงการส่งเสริมศักยภาพของเมืองในเวทีระดับโลก (ส่วนแผนงานฯ) กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเมืองและการปกครองของประเทศไทย ทำให้กรุงเทพมหานครมีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องมาโดยตลอด และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะในด้านการติดต่อสื่อสารและการคมนาคมในปัจจุบันได้นำไปสู่การรวมกลุ่มหรือเครือข่ายความร่วมมือด้านต่าง ๆ ทั้งในระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับเมือง เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพทางการแข่งขันและเจริญก้าวหน้าของสมาชิกเครือข่ายความร่วมมือดังกล่าว อาทิ การพัฒนาตามกรอบประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) การดำเนินความร่วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals) ขององค์การสหประชาชาติ และการพัฒนาเพื่อการเป็นเมืองที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนสำหรับทุกคนตามกรอบวาระการพัฒนาเมืองใหม่ (New Urban Agenda) ขององค์การ UN-Habitat เป็นต้น ในการนี้ทำให้กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเมืองสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จำเป็นต้องมีการเร่งพัฒนาบทบาทและส่งเสริมสมรรถภาพทางการแข่งขันของเมืองเพื่อก้าวทันเมืองชั้นนำต่างๆ ในเวทีระดับโลก รวมถึง การพัฒนาศักยภาพด้านต่าง ๆ อันจะนำไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ น่าเที่ยวและน่าลงทุนอย่างยั่งยืน ที่สอดคล้อง กับเป้าหมายการพัฒนาตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) รวมถึงการดำเนินการตามแนวนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 1. ส่งเสริมศักยภาพและบทบาทของกรุงเทพมหานครให้เป็นที่ยอมรับและทัดเทียมกับเมืองชั้นนำในระดับโลก 2. เพิ่มพูนสมรรถภาพทางการแข่งขันของกรุงเทพมหานครในด้านการลงทุน การท่องเที่ยวและการเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคและการเป็นเมืองมหานครแห่งเอเชีย 3. เพื่อพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ น่าเที่ยวและน่าลงทุนอย่างยั่งยืนสำหรับทุกคนตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals-SDGs) วาระการพัฒนาเมืองใหม่ (New Urban Agenda-NUA) การพัฒนาตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) รวมถึงการดำเนินการตามแนวนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 1. ผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าร่วมการประชุม/กิจกรรมที่จัดโดยองค์การระหว่างประเทศและเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่มีความสำคัญในระดับสากล เช่น การประชุมขององค์การสหประชาชาติ การประชุมนายกเทศมนตรีโลก และกิจกรรมที่จัดโดยเมืองมหานครระดับโลก เป็นต้น 2. ผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าร่วมและ/หรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ศักยภาพของเมืองในต่างประเทศชั้นนำที่เป็นเวทีสำคัญในระดับสากลในสาขาการพัฒนาเมืองด้านต่าง ๆ เช่น การจัดการเมือง การค้า การลงทุน เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว เป็นต้น รวมถึงการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชนแขนงต่าง ๆ ของต่างประเทศ อาทิ สื่อโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร เป็นต้น 2,500,000.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
935 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 3.1 โครงการแลกเปลี่ยนการเดินทางเยือนระหว่างผู้บริหารเมืองพี่เมืองน้อง (ส่วนส่งเสริมฯ) ปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมถือเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะไร้พรมแดนและพึ่งพาอาศัยกันมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าประเด็นปัญหาระดับโลกเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับประเด็นปัญหาของท้องถิ่น สำนักงานการต่างประเทศจึงเห็นว่า การส่งเสริมความเข้าใจอันดีกับมหานครหรือเมืองในต่างประเทศจะนำไปสู่ความร่วมมือระดับท้องถิ่นในด้านต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันเพื่อแก้ไขปัญหาในที่เกี่ยวข้องอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาเมืองอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครได้สถาปนาความสัมพันธ์ในลักษณะของเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตร ตลอดจนดำเนินกิจกรรมกับเมืองต่างประเทศในหลากหลายภูมิภาคของโลก ซึ่งก่อให้เกิดความร่วมมือทวิภาคี (Bilateral Cooperation) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและพัฒนาความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันอย่างแน่นแฟ้นอันจะนำมาซึ่งการแลกเปลี่ยนระหว่างเมืองเพื่อประโยชน์ของประชาชนและความเจริญก้าวหน้าในการพัฒนาร่วมกันทั้งสองฝ่าย เพื่อเป็นการต่อยอดการดำเนินการหลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารใหม่ สำนักงานการต่างประเทศจึงจัดทำโครงการแลกเปลี่ยนการเดินทางเยือนระหว่างผู้บริหารเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรและเมืองต่างประเทศเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากรุงเทพมหานคร ตลอดจนส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์กับเมืองต่างๆ ดังกล่าว อาทิเช่น การเดินทางเยือนเพื่อหารือความร่วมมือด้านต่าง ๆ ในอนาคต การเข้าร่วมกิจกรรมที่เมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรและเมืองต่างประเทศเป็นเจ้าภาพ การให้การต้อนรับการเยือนของเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรและเมืองต่างประเทศ การขยายความสัมพันธ์หรือดำเนินความร่วมมือระดับเมืองในด้านต่างๆ ทั้งนี้ ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ลงนามในความตกลงเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรกับเมืองต่าง ๆ จำนวน 35 เมืองใน ๑๙ ประเทศ ตลอดจนดำเนินกิจกรรมร่วมกับเมืองต่างประเทศต่างๆ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต จึงถือเป็นโอกาสที่ดีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกันในระดับผู้บริหารเมืองเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งสองฝ่ายอันเป็นหนึ่งในเจตนารมณ์ของการลงนามความตกลงเมืองพี่เมืองน้องและความตกลงฉันมิตรอีกด้วย กรุงเทพมหานครจะได้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมจากความตกลงเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรที่ได้ลงนามกันไว้ รวมทั้งเมืองที่มีความสัมพันธ์หรือความร่วมมืออันดี เพื่อให้สามารถวางแผนปรับปรุงและแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเขตเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างและกระชับความสัมพันธ์อันดีกับเมืองพี่เมืองน้องและเมืองฉันมิตรของกรุงเทพมหานครด้วย 1. นำผู้บริหารและข้าราชการกรุงเทพมหานครเดินทางเยือนเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรของกรุงเทพมหานครและเมืองต่าง ๆ รวมถึงดำเนินการให้การต้อนรับการเยือนของเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรและเมืองต่างๆ และการเข้าร่วมกิจกรรม/การแลกเปลี่ยนตามคำเชิญของเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรตามกรอบความร่วมมือเมืองพี่เมืองน้องและเมืองต่างประเทศต่างๆ 2. เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความร่วมมือและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเมืองพี่เมืองน้อง 3. ดำเนินการสร้างสัมพันธภาพ และขยายขอบเขตการสร้างหรือการสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องกับมหานครต่าง ๆ ทั่วโลก โดยยึดหลักแห่งความยุติธรรม ความเสมอภาค และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกรุงเทพมหานคร 4,850,000.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-10-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
936 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 6.1 การแปลและตรวจร่างเอกสารภาษาอังกฤษ สำนักงานการต่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินการด้านล่าม การแปล การร่างหนังสือ จดหมาย สุนทรพจน์ ข้อตกลงและบทความต่าง ๆ เป็นภาษาไทยและอังกฤษ ที่ผ่านมา กลุ่มงานพิธีการได้รับการประสานขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเพื่อแปลหนังสือเชิญ บัตรเชิญ หนังสือประสานงาน คำกล่าว สุนทรพจน์ แผ่นพับ เอกสารประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน เอกสารโครงการความร่วมมือกับต่างประเทศ ข่าว ป้าย ประกาศนียบัตร เป็นต้น เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึงตรวจสอบความถูกต้องการแปลเอกสารราชการสองภาษา หนังสือรับรองเงินเดือนภาษาอังกฤษของผู้บริหาร หนังสือราชการและเอกสารภาษาอังกฤษที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และเป็นรูปแบบหนังสือราชการภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง เพื่อให้การติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานในต่างประเทศเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามแบบแผนทั้งความหมาย รูปแบบ และภาษาที่ใช้ แปลและตรวจร่างเอกสารภาษาอังกฤษของหน่วยงานกรุงเทพมหานครและผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวนไม่ต่ำกว่า 100 หน้า 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
937 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 8.1 โครงการการรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย ซึ่งมีสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งหมด 78 ประเทศ ทั้งนี้ ตามธรรมเนียมปฏิบัติที่ผ่านมา เอกอัครราชทูตต่างประเทศที่เข้ารับตำแหน่งใหม่จะแจ้งความประสงค์ขอเข้าเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในโอกาสเข้ารับตำแหน่งใหม่เพื่อกระชับความสัมพันธ์และแสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศ นอกจากนี้ กรุงเทพมหานครยังได้สถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่เมือง/เมืองฉันมิตรกับ 36 เมืองทั่วโลก ทำให้มีการไปมาหาสู่กันระหว่างผู้บริหารระดับสูงของเมืองอย่างต่อเนื่อง สำนักงานการต่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินการรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าพบผู้บริหารกรุงเทพมหานครและสรุปการหารือพร้อมให้คำแนะนำในการดำเนินการความร่วมมือในอนาคต โดยดำเนินการให้ถูกต้องตามแบบแผนพิธีการทูต ซึ่งรวมถึงการเป็นล่ามแปลภาษาให้กับผู้บริหารขณะเยี่ยมคารวะ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ได้ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานคร หรือผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวน 27 คณะ ประกอบด้วย เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย ผู้ว่าการ/ผู้ว่าราชการเมือง นายกเทศมนตรี ประธานสภาเมือง และผู้แทนเมือง รายละเอียดตามข้อมูลการเข้าเยี่ยมคารวะ ปีงบประมาณ 2562 – 2563 ที่แนบ กรุงเทพมหานครจะได้ประโยชน์จากการเจริญความสัมพันธ์กับสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศและเมืองพี่เมืองน้อง/เมืองฉันมิตรของกรุงเทพมหานคร อันจะนำไปสู่ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาเมืองและแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเขตเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นอีกด้วย ให้การรับรองเอกอัครราชทูตและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศที่เข้าพบเพื่อเยี่ยมคารวะผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดกรุงเทพมหานคร และ ผู้บริหารกรุงเทพมหานครตามหลักพิธีการทูต 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
938 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 5.1) ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และ หมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับ จัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำหมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้างงบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุน จากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 1.หน่วยงานสามารถเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ รวมถึงบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้เป็นปัจจุบันเสมอ 2.สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครสามารถตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยงานในภาพรวม ร้อยละ 100 ณ สิ้นเดือนกันยายน พ.ศ.2564 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
939 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 4.1) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ ๆ ในการจัดการองค์กร การดำเนินงาน และการให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏบัติต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข และ/หรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ เพื่อพัฒนาและเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดาเนินงาน และ การให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พัฒนาและเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อย่างน้อย 1 โครงการ 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
940 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล (สพธ.) ตามแนวทางการประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจัดทำฐานข้อมูล โดยสำนักอนามัยมีภารกิจในด้าน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน ดังนี้ 1. ภารกิจด้านสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค 2. ภารกิจด้านรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ภารกิจด้านสาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ 4. ภารกิจด้านป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด 5. ภารกิจด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 47 ตัวชี้วัด เพื่อให้หน่วยงานได้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งมาจากข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย โดยผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อเป็นประดยชน์ต่อการบริหารงานองค์กรและสอดคล้องตามภารกิจของหน่วยงาน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
941 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงของศูนย์ข้อมูลและเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความจำเป็นในการดำเนินการเพิ่มการรักษาความปลอดภัย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดล้องกับลำดับความสำคัญของการดำเนินงานในหน่วยงานได้อย่างเหมาะสม โดยการกำหนดมาตรการความปลอดภัยในระดับสูงเพื่อปกป้องโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระดับองค์กรทั้งในส่วนของระบบป้องกันและตรวจสอบเพื่อลดความ เสี่ยงจากภัยคุกคาม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีการเข้ารหัสที่ทันสมัย เพื่อถ่ายโอนข้อมูลระหว่างศูนย์ข้อมูล สร้างความมั่นใจในการรับส่งข้อมูลอย่างปลอดภัย เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศและยกระดับการให้บริการของกรุงเทพมหานครตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นให้หน่วยงานมีการใช้งานเทคโนโลยีในการบริหารราชการและการบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.มีระบบป้องกันและตรวจสอบภัยคุกคามและช่องโหว่ของระบบสารสนเทศ 2.มีระบบการเข้ารหัสข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครกับหน่วยงาน รวมถึงสามารถป้องกันการทําธุรกรรมในระดับแอปพลิเคชัน 54,150,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 50.00
942 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต ปัจจุบันเครือข่ายสื่อสารรับส่งข้อมูลภายในสำนักงานเขต ที่เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) ไปยังอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ของฝ่ายต่าง ๆ รวมถึงจุดให้บริการประชาชน โดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางที่เป็นสายนำสัญญาณแบบเกลียวคู่ (UTP) ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้งานมามากกว่า 10 ปี มีสภาพชำรุดและเสื่อมสภาพ อีกทั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง(Access Switch) มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เริ่มมีสภาพเก่า มีการชำรุดเสียหายบ่อยขึ้นและล้าหลังในความสามารถทางด้านเทคโนโลยี จากเหตุผลดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในการใช้ปฏิบัติงานและการบริการประชาชน เช่น การปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มจุดเชื่อมต่อเครือข่ายทำได้ลำบาก อุปกรณ์กระจายสัญญาณมีสภาพเก่าและล้าสมัย ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่มีเสถียรภาพ ส่งผลกระทบต่อการทำงานในวงกว้างของกรุงเทพมหานครที่ต้องการใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานด้านความเร็ว มีเสถียรภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขตเพื่อรองรับการใช้งานอย่างบูรณาการ โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุนและผลประโยชน์ของประชาชนผู้มารับบริการและความคล่องตัวรวดเร็วของบุคลากรกรุงเทพมหานครในการปฏิบัติงานและให้บริการแก่ประชาชน พื่อปรับเปลี่ยนเครือข่ายสื่อสารข้อมูลโดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางแบบไร้สายแทนที่ระบบสื่อสารแบบสายนำสัญญาณแบบเดิม และปรับเปลี่ยนอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ให้รองรับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพเหมาะสมกับ การให้บริการประชาชนในปัจจุบัน จัดหาอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารแบบไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่การปฏิบัติงานของแต่ละฝ่าย และจุดให้บริการประชาชน ทั้ง 50 สำนักงานเขต (เอกสารแนบแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารไร้สาย) 52,672,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-01-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
943 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ขับเคลื่อนการดำเนินการด้านยุทธศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้สำเร็จลุล่วงเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ให้เป็นรูปธรรม ประกอบกับมีการกำหนดวิสัยทัศน์ให้เป็น “องค์กรชาญฉลาด (Smart Department) ภายในปี พ.ศ. 2565 เพื่อรองรับมหานครอัจฉริยะ” โดยกำหนดให้ปี พ.ศ. 2564 นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนได้อย่างครอบคลุม และในปี พ.ศ. 2565 จะได้รับการยอมรับในฐานะองค์กรชาญฉลาดต้นแบบของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลจัดทำระบบมาเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานต่าง ๆ ภายใน เช่น ระบบหนังสือเวียนสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล (D.O.D BMA) ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Leave) ตารางการใช้ห้องประชุม และระบบสารบรรณ เป็นต้น แต่มีลักษณะเป็นระบบเฉพาะกิจแยกส่วน โดยไม่ได้มีการบูรณาการและปรับเปลี่ยนขั้นตอนการปฏิบัติให้มีการบริหารงานงานที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ดังนั้นจึงพิจารณาที่จะรวบรวมระบบที่ใช้งานอยู่ที่หลากหลายมาทำการปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น เพิ่มเติมระบบที่มีความจำเป็นนำมาจัดทำเป็นระบบสารสนเทศกลาง เพื่อเข้าสู่การเป็นองค์กรชาญฉลาด (Smart Department) โดยจัดทำ “ โครงการนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อมุ่งสู่การเป็น Smart Department” เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวต่อไป 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2021-01-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
944 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 การตรวจสอบและคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์ สำนักงานเขตป้อมปราบฯ มีโรงพยาบาลหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อาทิ รพ.กลาง รพ.หัวเฉียว รพ.ยศเส จึงมีการออกสูติบัตรให้กับเด็กที่เกิดโดยสำนักงานเขตป้อมปราบฯเป็นจำนวนมาก ทำให้มีประชาชนมาติดต่อขอคัดและรับรองสูติบัตร กรณีสูติบัตรสูญหายหรือชำรุดอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการค้นหาสูติบัตรแบบเดิมที่ยังไม่มีการเก็บข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบค้นหาในห้องเก็บเอกสาร ทำให้ประชาชนต้องรอคอยเป็นเวลานานหรือบางครั้งต้องนัดหมายประชาชนมาในวันอื่่น ๆ ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชน ในการขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสูติบัตรที่่มีข้อมูลครบถ้วน (ยกเว้นสูติบัตรที่่ไม่ปรากฎชื่อผู้เกิด และ/หรือรายการในสูติบัตรที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง) โดยผ่านทาง Application Line ภายใต้ชื่อ "ป้อมปราบบริการสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์" -เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรอง สูติบัตรแบบเดิมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชาชนผู้รับบริการ โดยการลดระยะเวลาการรอคอยของประชาชน -เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชานผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบฯและกรุงเทพมหานคร เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลารอคอยของประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมที่ต้องค้นหาด้วยระบบมือ 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
945 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 การบันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล (ทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล) เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2506 - 2546 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2506-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นฝ่ายทะเบียนได้มีการ ตั้งแต่ปี 2506-2546 จำนวน18,256 ราย ฉะนั้นฝ่ายทะเบียนจึงแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2514-2522 จำนวน 5,976 ราย ช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2506-2513 จำนวน 6,497 ราย 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อสามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที 3. เพื่ออำนวยความสะดวก และความรวดเร็วให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 4. เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเก็บช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2506-2513 จำนวน 6,497ราย 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
946 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 กิจกรรมการส่งเสริมการทำบัตรประจำตัวประชาชนให้แก่เด็กและเยาวชนที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ - ตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2554 มีผลบังคัับใช้เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2554 กำหนดให้ผู้มีสัญชาติไทยที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ และมีชื่อในทะบเียนบ้านต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน ดังนั้น เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นผู้ที่ยังไม่เคยขอมีบัตรประจำตัวประชาชนมาก่อน และจะต้องขอมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก ได้ทราบและสามารถทำบัตรประจำตัวประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็ว ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการทำบัตรประจำตัวประชาชนให้แก่เด็กและเยาวชนที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ 1.เพื่อกระตุ้นเตือนให้เด็กและเยาวชนที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ ได้ยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรกภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด 2.เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรกได้โดยสสะดวกและรวดเร็ว 3.เพื่อเะป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนด้านการทะเบียนในเชิงรุก 4.ประชาชนได้รับบริการที่ดี มีความพึงพอใจสูงสุด ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และกรุงเทพมหานคร -เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ สามารถทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรกได้โดยสะดวกและรวดเร็ว และมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
947 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความสำเร็จของระบบบริหารราชการ ในการทำงานจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศให้สามารถนำเสนอได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัย เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการบริหาร การวางแผนการพัฒนา และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ จึงจัดทำโครงการการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ขึ้น เพื่อพัฒนาและจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลของฐานข้อมูลของหน่วยงาน ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ) 1 เพื่อพัฒนาและจัดการฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครในรูปแบบที่กรุงเทพมหานครกำหนด จำนวน 9 ขั้น ข้อมูลให้ทันสมัย ทุกเดือน และทุกไตรมาส ผ่านระบบรายงานที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2 เพื่อรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้เป็นไปตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) 1 สามารถรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ 2 สามารถพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
948 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผล การดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ มุ่งเน้นการป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน ในปีงบประมาณ ๒๕๖4 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ ได้จัดทำโครงการ “กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย ซึ่งจะส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น 1. สถานประกอบการได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ก่อเหตุรำคาญหรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน สิ่งแวดล้อมและชุมชนที่อยู่โดยรอบสถานประกอบการ 2. สถานประกอบการตระหนักและปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 1. มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขต 2. สร้างความตระหนักในการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 165,075.00 165,075.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
949 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งต่อผู้สูบและบุคคลรอบข้าง ที่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่างๆ ที่สร้างความสูญเสียทั้งด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ จากรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 พบว่าทั่วประเทศมีประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ ๑0.๗ ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประมาณ 1.2 ล้านคน ผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญกับบุคคลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และก่อให้เกิดโรคร้ายกับผู้ที่ได้รับควันบุหรี่นั้นด้วย พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 กำหนดให้มีการจำกัดวิธีการจำหน่าย กำหนดอายุผู้ซื้อ กำหนดสถานที่ห้ามจำหน่ายยาสูบ ห้ามโฆษณา และกำหนดให้มีเขตปลอดบุหรี่ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ ประกอบกับแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติที่กำหนดเป้าหมาย กิจกรรม การดำเนินงานและตัวชี้วัดไว้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามกฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามกฎหมายให้กับผู้จำหน่ายยาสูบ ประชาชนในพื้นที่ และจัดสภาพแวดล้อม ปลอดบุหรี่ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งจะช่วยลดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กและเยาวชน และลดผลกระทบจากการสูบบุหรี่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ จึงจัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ เพื่อดำเนินงานควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ สร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ซึ่งจะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมที่ปลอดภัยจากควันบุหรี่ ต่อไป เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานตามแนวทางกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่กลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย 1. ผู้ประกอบการจำหน่ายยาสูบและผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่เขต 2. เด็กและเยาวชนในสถานศึกษา 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 55.00
950 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดำเนินงาน และการให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ ปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
951 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางรัก ข้อมูล หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียม ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การสำรวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ ชุดข้อมูล หมายความว่า การนำข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูล บัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) พัฒนาและการจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล พัฒนาและการจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
952 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำลำคลอง ที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานคร ได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการ ให้น้ำผ่านการบำบัด มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ 9.1 สำนักงานเขตมีข้อมูลสำหรับใช้ในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ และประสานความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียอย่างใกล้ชิด 9.2 ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด และรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้ำ 9.3 กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการที่ถูกต้องและครบถ้วน สำหรับใช้ในการวางแผนจัดการคุณภาพน้ำและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
953 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ระเบียบกรุงเทพมหนครว่าด้วยสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 กำหนดให้สภาเยาวชนกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ในการเสนอแผนงานประจำปีเสนอต่อกรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครต้องให้การส่งเสริมสนับนนุน และจัดกิจกรรมเพื่อเยาวชน สำนักงานเขตโดยฝ่ายพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการส่งเสิรมและพัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุก ๆ ด้าน ได้ให้ความสำคัญกับการรวมกลุ่มของผู้นำเยาวชน เป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิด และสะท้อนปัญหาของเยาวชนให้กับสังคมและกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเขตหนองจอก 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้สภาเด็กและเยาวชนเขตหนองจอก รวมไปถึงการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อส่งเสริมให้เก็กและเยาวชนมีพื้นที่ในการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และเป็นแกนนำในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ภายใตัหลักการ "เด็กคิด เด็กทำ เด็กนำ ผู้ใหญ่หนุน" 149,800.00 97,577.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
954 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน การที่กรุงเทพมหานครได้ดำเนินงานพัฒนาชุมชน เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ของชุมชนโดยส่วนรวมให้ดีขึ้น โดยการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่และท้องถิ่นของตนเอง แต่ว่าในการดำเนินงานการให้ประชาชนทุกๆคนเข้ามาร่วมดำเนินการแสดงความคิดเห็น ย่อมเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยากและไม่สะดวก ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการคัดเลือกสรรหาตัวแทนของประชาชนทั้งหมดหรือของกลุ่ม เพื่อมาเป็นแกนนำผู้ประสานงาน ติดตามงาน ระดมความคิดเห็นของชาวชุมชนและดำเนินการอื่นใดในนามของประชาชนในชุมชน ซึ่งผู้ที่จะมาเป็นตัวแทนของประชาชนที่ว่านี้ในรูปแบบของการดำเนินงานพัฒนาชุมชนของกรุงเทพมหานครก็คือ “คณะกรรมการชุมชน” และกรุงเทพมหานครได้ออกระเบียบว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน กำหนดให้มีค่าสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน เบิกจ่ายได้ตามจำนวนบ้านในชุมชน ดังนี้ - ชุมชนที่มีบ้านเรือนในชุมชนไม่เกิน 200 หลังคาเรือน จำนวน 74 ชุมชน เบิกจ่ายได้ชุมชนละ ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อเดือน - ชุมชนที่มีบ้านเรือนตั้งแต่ 201 – 500 หลังคาเรือน จำนวน 21 ชุมชน เบิกจ่ายได้ชุมชนละ ไม่เกิน 7,500 บาท ต่อเดือน - ชุมชนที่มีบ้านเรือนตั้งแต่ 501 หลังคาเรือน จำนวน 3 ชุมชน เบิกจ่ายได้ชุมชนละไม่เกิน 10,000 บาท ต่อเดือน 9.1 มีงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนของตน 9.2 สามารถสนับสนุนการพัฒนาชุมชนทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม สังคม อนามัยและจิตใจ ดำเนินการเบิกจ่ายค่าสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมเป็นรายเดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 6,690,000.00 3,848,925.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
955 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครเขตหนองจอก เป็นแหล่งรวบรวมคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่แสดงให้เห็นถึงประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นมาและวิถีชีวิตของแต่ละชุมชน สร้างจิตสำนึกให้เกิดการรักและหวงแหนท้องถิ่นที่ตนอาศัย และชุมชนสามารถถ่ายทอดเรื่องราวในอดีตจากรุ่นสู่รุ่นได้ เพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นสืบไป สำนักงานเขตหนองจอกได้พิจารณาแล้วเห็นว่า พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นนั้นมีคุณค่าและควรได้รับการส่งเสริมให้สาธารณชนได้รับทราบถึงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นจึงได้จัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเขตหนองจอกขึ้น ซึ่งเนื้อหาที่ได้จัดแสดงไว้ครอบคลุมองค์ความรู้หลัก 4 ประการ คือประวัติศาสตร์ที่สำคัญในท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาและวิถีชุมชนท้องถิ่น ของดีและแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างความรู้สึกจิตสำนึกรักในบ้านเกิดกระตุ้นให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าและมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตน ตลอดจนสามารถนำไปเผยแพร่ และสามารถนำไปประพฤติปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 9.1 มีการพัฒนาสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดแสดงเรื่องราวต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 9.2 เด็กและเยาวชนให้ความสนใจ เข้าใจ และผูกพันกับวัฒนธรรมและภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตน 9.3 พิพิธภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวในเขตหนองจอกจะได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้น 1. กิจกรรมที่ 1 ให้บริการ แนะนำ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์ฯ แก่ เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว และสถาบันการเรียนรู้ต่างๆ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564 ณ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 2.กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมพิเศษของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือน ธันวาคม 2563 – เมษายน 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนำเด็กและเยาวชน หรือประชาชนในพื้นที่ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต เรื่องราวในท้องถิ่น แบบไป-กลับ 1 วัน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 748,600.00 659,924.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
956 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน กรุงเทพมหานครมีนโยบายส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไปเพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตละเรียนรู้วิทยาการด้านต่างๆที่ทันสมัยขยายการบริการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆได้แก่ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ห้องสมุดเคลื่อนที่ บ้านหนังสือ เพื่อสนับสนุนโครงการรณรงค์ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการอ่าน (Bangkok Read For Life) ด้วยเห็นว่าวัฒนธรรมการอ่านเป็นสิ่งสำคัญจำเป็นต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวัง ที่จะสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่ยั่งยืนให้กับคนกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครได้รับการคัดเลือก จากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็นเมืองหนังสือโลก ในปี 2556 (World Book Capital 2013) สำนักงานเขตหนองจอก เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอ่านและการศึกษาค้นคว้า จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่าน การศึกษาค้นคว้า ความบันเทิง และความจรรโลงใจ เพื่อนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างพัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม ปลูกฝังให้เด็ก เยาวชนและประชาชน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนนำประสบการณ์และความรู้ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป 9.1 เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น 9.2 เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น 9.3 ลดปัญหาสังคม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก เยาวชน และประชาชนให้ดียิ่งขึ้น 9.4 เด็ก เยาวชน และประชาชนตระหนังถึงคุณค่า และเข้าใช้บริการของบ้านหนังสือเพิ่มมากขึ้น 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ณ บ้านหนังสือเขตหนองจอก 5 แห่ง ได้แก่ บ้านหนังสือ นูรุสสลาม บ้านหนังสือเคหะหนองจอก บ้านหนังสืออิบรอฮีม บ้านหนังสือชุมชนแผ่นดินทองบ้านกระทุ่มราย บ้านหนังสือมูลนิธิตระกูลกอดีรี และชุมชนบริเวณรอบๆ บ้านหนังสือ 2.กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็ก เยาวชน และประชาชน ที่มาใช้บริการบ้านหนังสือ 5 แห่ง และชุมชนบริเวณบ้านจำนวน 1,500 คน 200,000.00 110,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 40.00
957 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในเรื่องต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมรวมทั้งวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยมต่างๆ ทำให้คนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และห่างเหินวัฒนธรรมประเพณีไทยที่ถือปฏิบัติกันมายาวนาน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทยห่างหายไปจากความทรงจำของชาวไทย สำนักงานเขตหนองจอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ และวิถีชีวิตของความเป็นชาติไทย รวมถึงความเป็นอยู่ของคนไทยที่ยึดเหนี่ยวให้คนในสังคมมีความกตัญญู โอบอ้อมอารีต่อกัน ยึดถือประเพณีไทยในการดำรงความเป็นอยู่ จึงได้กำหนดการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ให้คงอยู่สืบไป 9.1 อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของไทยให้เยาวชนรุ่นหลังได้สืบสานต่อไป 9.2 ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีและช่วยกันอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 9.3 ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของไทยเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 9.4 ประชาชนได้ตระหนักถึงวันสำคัญของชาติ และร่วมกันแสดงออกถึงความจงรัก ภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ 3.2 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ประจำปีพุทธศักราช 2564 3.3 กิจกรรมประเพณีแห่เทียนพรรษา ประจำปี 2564 3.4 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำปีพุทธศักราช 2564 3.5 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประจำปีพุทธศักราช 2564 500,000.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
958 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงานเขตหนองจอกเป็นหน่วยงานหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่ได้รับมอบหมายให้ดำเน่ินการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริกรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเกษตรมีการใช้ชีวิตแบบพอเพียงจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมการทำการเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อให้ฟู้สนใจทั่วไป นักเรียน นักศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเกษตรทฤษฎีใหม่ตลอดจนใช้เป็นสถานที่เรียนรู้ด้านการเกษตรเพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการต่อยอดแก่เกษตรกรได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าให้มากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อเป็นการสนองแนวพระราชดำริโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ นำเกษตรกรเข้าสู่วิถีชีวิตพอเพียง ซึ่งจะทำให้มีความยั่งยืนอย่างแท้จริง 2.3 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่เขตหนองจอก ได้ฝึกอบรมด้านการเกษตรเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริมให้แก่ครอบครัว 2.4 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะอาชีพด้านการเกษตร ให้แก่เกษตร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 2.5 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริฯ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการเกษตร ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรให้แก่เกษตรกร ยุวเกษตร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจทั่วไป 3.2 จัดฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพเพื่อพัฒนาเกษตรกร อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ด้านเกษตรต่างๆ ให้กับเกษตรกร นักเรียน ประชาชน และผู้ที่สนใจทั่วไป จำนวน 5 หลักสูตร 46 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 1,380 คน โดยจัดอบรมแบบไป-กลับ ณ ศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ฯ เขตหนองจอก และศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวง 8 ศูนย์ หลักสูตรที่ 1 การปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ จำนวน 15 รุ่นๆละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 2 การเพาะเพื่อการค้า จำนวน 15 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 3 การแปรรูปผลผลิตการเกษตร จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 4 การขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อการค้า จำนวน 8 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 5 การแปรรูปผลผลิตการเกษตร จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน 358,000.00 100,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 40.00
959 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร กรุงเทพมหานครได้ตะหนึกถึงความสำคัญของการพัฒนาการเกษตร การมีชีวิตพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อสนับสนุนการดำเนิ่นกิจกรรมของเกษตรกร ให้เป็นสถานที่ดำเนินกิจกรรมการเกษตรของเกษตรกร หน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจนใช้เป็นสถานที่เรียนรู้ด้านการเกษตรสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อจะนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อใช้เป็นสถานที่พบปะเกษตรกร บริการความรู้ อบรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเกษตรและอาชีพที่เกี่ยวเนื่องอาชีพการเกษตรของหน่วยงานของภาครัฐ และเอกชน 2.2 เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานด้านการเกษตรในลักษณะบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐภาคเอกชน ประชาชนและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นให้เกษตรกรมีส่วนร่วมคิด วิเคราะห์ กำหนดทิศทางและวางแผนได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงทั้ง 8 แขวง (หนองจอก,คลองสิบ,คลองสิบสอง,กระทุ่มราย,โคกแฝด,คู้ฝั่งเหนือ, ลำต้อยติ่ง และลำผักชี) 920,640.00 702,240.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
960 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา สุขภาพอนามัยเป็นสิ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งหากมีสุขภาพอนามัยที่ดี สมบูรณ์ แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว จะทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น และเป็นทรัพยากรหลักในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกช่วงวัยได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ จึงเป็นกิจกรรมพื้นฐานเบื้องต้นที่ทำให้ประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทำให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุกทุกประเภท ตลอดจนเป็นการฝึกฝนพัฒนาตนเองจากกีฬาขั้นพื้นฐานก้าวสู่ความเป็นเลิศทางการกีฬาได้อีกด้วย กรุงเทพมหานครได้ใช้ยุทธศาสตร์ด้านกีฬาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยกำหนดให้แต่ละแหล่งชุมชนมีพื้นที่เพื่อใช้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และประกอบกิจกรรมของประชาชนตามโอกาสต่างๆ โดยส่งเสริมให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมและส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านกีฬาและนันทนาการที่เหมาะสมให้แก่ประชาชน ดังนั้นสำนักงานเขตหนองจอกซึ่งเป็นส่วนราชการหนึ่งของกรุงเทพมหานครจึงเล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน จึงได้มีการจัดตั้งลานกีฬาตามพื้นที่ชุมชนและตามสถานศึกษาต่างๆ ให้ครอบคลุมสำหรับให้ประชาชนได้มีสถานที่การออกกำลังกาย เล่นกีฬา และจัดกิจกรรมต่างๆ โดยมีอาสาสมัครลานกีฬาเป็นผู้ดูแลร่วมกับคณะกรรมการบริหารลานกีฬา และมีสโมสรกีฬาหนองจอกร่วมกันขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านกีฬาของเขตหนองจอก ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬา รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก ซึ่งกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่จัดขึ้นนั้น ล้วนเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และนันทนาการ รวมถึงจัดหาวัสดุอุปกรณ์กีฬาให้เพียงพอ และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสุขภาวะที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจของประชาชนอย่างแท้จริง ๙.1 คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยส่วนรวมดีขึ้น มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรง จากการใช้บริการของลานกีฬาในการออกกำลังกาย เล่นกีฬา นันทนาการ และกิจกรรมตามโอกาสต่างๆ ๙.2 กิจกรรมด้านการกีฬาของสำนักงานเขตหนองจอกได้รับการพัฒนามากยิ่งขึ้น จากขับเคลื่อนของทุกภาคส่วน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทำให้เกิดความรักความสามัคคีของประชาชนในพื้นที่และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ๙.3 เด็กและเยาวชนได้รับการฝึกฝนทักษะด้านกีฬา มีวัสดุอุปกรณ์กีฬาเพียงพอสำหรับฝึกซ้อมกีฬาพื้นฐานเพิ่มพูนความรู้ความสามารถด้านกีฬาและต่อยอดพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางการกีฬา ตลอดจนสร้างชื่อเสียงให้กับตนเอง ครอบครัว สำนักงานเขต และกรุงเทพมหานครต่อไป สนับสนุนเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก จำนวน 17 คน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน 2564 โดยปฏิบัติงานทุกวัน (ไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์), สนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬาหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก 2,579,500.00 2,578,802.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
961 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตหนองจอก มีภารกิจหน้าที่ในการจัดสวัสดิภาพในการพิทักษ์ ปกป้องคุ้ม่ครอง กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ และการดำเนินงานในเชิงพัฒนา กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องจัดสวัสดิการให้เหมาะสม การให้ขวัญ กำลังใจและสนับสนุนเครือข่ายองค์กรผู้สูงอายุในพื้นที่เขต การจัดทำคลังสมองคลังปัญญา และการรวบรวมภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดเป็นผลงานสร้างสรรค์ของกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมเผยแพร่ให้สาธารณะชนทราบนั้นเป็นกิกรรมหนึ่งที่ภาครัญควรให้ความสนใจ 2.1 เพื่อเป็นการรวบรวมคลังสมองและภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตหนองจอก 2.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดให้กับบุคคลทั่วไป จัดบอร์ดเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุปีที่ผ่านมา และเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้กับประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน 10,000.00 5,500.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 45.00
962 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส สืบเนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ปัญหาการกระทำการรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุผู้พิการ ฯลฯ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสระดับเขต เพื่อเป็นศูนย์อำนวยการในระดับพื้นที่ 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคม และการจัดสวัสดิการสังคมกรุงเทพมหานคร 2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมสำนักงานเขตหนองจอก 2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน 2.4 ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานเพื่อจัดบริการด้านสวัสดิภาพและสวัสดิการแก่เด็กสตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่เขต 2.5 สร้างเครือข่ายการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครในระดับเขตรวมทั้ง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.6 จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ในการดำเนินงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสของกรุงเทพมหานคร 3.1 จ้างอาสาสมัครปฏิบัติงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ระดับเขต จำนวน 4 อัตรา ได้แก่ 3.1.1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 คน 3.1.2 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี จำนวน 1 คน 3.1.3 อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 คน 3.1.4 อาสาสมัครคนพิการประจำสำนักงานเขต จำนวน 1 คน 3.2 ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิและได้รับบริการสวัสดิการสังคมอย่างครอบคลุมทั่วถึงและเป็นธรรม 3.3เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ เป็นการกระตุ้นจิตสำนึกสาธารณะ ในการมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม อันจะนำไปสู่ครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็งและเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป 514,600.00 469,285.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
963 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ปัญหาการกระทำการรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุผู้พิการ ฯลฯ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสระดับเขต เพื่อเป็นศูนย์อำนวยการในระดับพื้นที่ 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมกรุงเทพมหานคร 2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมสำนักงานเขตหนองจอก 2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ 2.4 ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานเพื่อจัดบริการด้านสวัสดิภาพและสวัสดิการแก่เด็กสตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่เขต 2.5 สร้างเครือข่ายการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานครในระดับเขตรวมทั้ง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนและรวบรวมข้อมูล เอกสารสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส 3.1 จ้างอาสาสมัครปฏิบัติงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ระดับเขต จำนวน 4 อัตรา ได้แก่ 3.1.1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 คน 3.1.2 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี จำนวน 1 คน 3.1.3 อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 คน 3.1.4 อาสาสมัครคนพิการประจำสำนักงานเขต จำนวน 1 คน 3.2 ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิและได้รับบริการสวัสดิการสังคมอย่างครอบคลุมทั่วถึงและเป็นธรรม 3.3เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ เป็นการกระตุ้นจิตสำนึกสาธารณะ ในการมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม อันจะนำไปสู่ครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็งและเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป 585,200.00 561,067.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
964 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการรู้ใช้ รู็เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัวขึ้นเพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ประชาชนเพื่อส่งเสริมวินัยด้านการออมเงินอย่างต่อเนื่อง แนะนำประชาชนให้รู้จักการบริหารจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว ส่งเสริมวินัยการออม 1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มประชาชนผู้มีรายได้น้อยจนถึงระดับปานกลาง สามารถได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ปละช่องทางเข้าสู่ระบบการออมเงินทุกประเภทได้อย่างสะดวก 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีวินัยทางการการเงิน โดยมีการเก็บออมเงินของครอบครัวเพิ่มขึ้น เป็นการช่วยสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของครอบครัว 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถบริหารเงินออม มีการจัดสรรเงินออมและใช้เงินออมเป็นทุนในช่องทางต่าง ๆ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนและเผยแพร่ภารกิจของศูนย์ส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัวและแก้ไขปัญญหาหนี้สินอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการให้บริการประชาชนในพื้นที่เขตหนองจอก ไม่น้อยกว่า 8 ครั้ง 20,000.00 4,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 45.00
965 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรี (องค์ประกอบที่ 5.2) ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน สำนักงานเขตธนบุรี จึงได้กำหรดกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีขึ้น เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขต ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต และเพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขตให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้สามารถนำข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต 3. เพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความส้าคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
966 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ตามกฎหมายในการป้องกันและบรรเทาอันตรายหรือความเสียหาย อันเนื่องจากสาธารณภัย รวมถึงการอพยพประชาชนและส่วนราชการจากภัยดังกล่าว ซึ่งกรุงเทพมหานครได้จัดให้มีอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เพื่อช่วยเหลือกรุงเทพมหานครในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้กำหนดระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2554 ขึ้น เพื่อให้อำนาจกรุงเทพมหานครในการจ่ายเงินเพื่อเป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการดำเนินกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ค่าตอบแทนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เฉพาะผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขต และ 2) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน สำหรับศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขต 1 เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อให้ภารกิจของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย 3 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน ในการปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน 1 อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน ที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน ได้รับค่าตอบแทนในการปฏิบัติหน้าที่ เป็นค่าอาหารและค่าเดินทางในอัตราที่ระเบียบกำหนด 2 ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน มีงบประมาณเพื่อใช้ประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตคลองสาน 352,000.00 352,000.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
967 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการประชุมครู -สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดให้มีการประชุมข้าราชการครูเขตคลองสาน เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ข้าราชการครูมีขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานทางการศึกษา ตลอดทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้เข้าประชุมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ได้ซักถามจนเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในการที่นำปฏิบัติในระหว่างข้าราชการครูในสังกัดที่เข้าประชุมร่วมกัน 1 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ทางด้านการศึกษาที่ตนมีส่วนรับผิดชอบ 2 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้รับแนวความคิด ทฤษฎี แนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ทางด้านการศึกษาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน 3 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู้บริหารโรงเรียนและครูสายงานการสอน ได้เข้าใจซึ่งกันและกัน 3.1 ด้านปริมาณ ผู้เข้าประชุมเป็นข้าราชการครูกรุงเทพมหานครและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 213 คน 3.2 ด้านคุณภาพ เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าประชุมได้รับความเข้าใจ ตลอดทั้งแนวคิดแนวปฏิบัติทางการศึกษาและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในโรงเรียน 6,400.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
968 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด -นายหมู่ลูกเสือและหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด เป็นผู้บังคับบัญชาที่ใกล้ชิดลูกเสือและยุวกาชาดมากที่สุด มีบทบาทในการควบคุม กำกับ ดูแล ผู้บังคับบัญชา ฝึกอบรม และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด 1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจนสามารถเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดีได้ 2.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ปฏิบัติหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ และบทบาทของตนเองในฐานะ ของผู้นำ เป็นการพัฒนากิจการลูกเสือ และยุวกาชาดของกรุงเทพมหานคร 3.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถปฏิบัติหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 93,000.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
969 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขต -ศูนย์วิชาการเขตคลองสาน จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน ให้มีมาตรฐานทัดเทียมกัน 1 เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน 2 เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดให้มีมาตรฐานระดับเดียวกัน 1 ด้านปริมาณจัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 28,600.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
970 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -สำนักงานเขตคลองสาน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของคณะกรรมการสถานศึกษา ในการมีบทบาทมีส่วนร่วมต่อการจัดการศึกษาด้วยรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเสนอแนวทางการกำหนดนโยบาย การส่งเสริมและสนับสนุน การบริหารจัดการด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทัวไปของสถานศึกษา จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น 1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการสถานศึกษา ฯ ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็นระหว่างกัน 2 เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3 เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ เพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3.1 ด้านปริมาณ 3.1.1 โรงเรียนมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จำนวน 4 ครั้ง 3.1.2 สำนักงานเขตคลองสานมีการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จำนวน 1 ครั้ง 3.1.2 คณะกรรมการสถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 3.2 ด้านคุณภาพ 3.2.1 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าใจบริบทหน้าที่ของตนเองในการดำเนินงานในโรงเรียน 3.2.2 เกิดเครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างโรงเรียนและสำนักงานเขตคลองสาน 3.2.3 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้สนับสนุนการดำเนินกิจการโรงเรียนร่วมให้คำปรึกษาแนะนำ ช่วยเหลือพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 3.2.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็นระหว่างกัน ทำให้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษาและโรงเรียนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานให้เจริญก้าวหน้าต่อไป 62,700.00 72,000.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
971 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการสัมมนาประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -ฝ่ายการศึกษาในฐานะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน ซึ่งต้องนำแผนมาสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการเรียนรู้อย่างหลากหลายทางวัฒนธรรม จึงได้จัดดำเนินการโครงการสัมมนาประธานคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานครในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน 1.เพื่อให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องได้รับความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนภายใต้ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีโดยได้พบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประสบการณ์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการบริหารงานของคณะกรรมการ 3.เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพทางด้านการบริหารงานของกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 1 ด้านปริมาณ ประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานทั้ง 8 โรงเรียนตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมสัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร 2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานทุกโรงเรียนได้รับการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง 16,800.00 10,200.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
972 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ - เพื่อตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้ผุ้เรียนมีคุณลักษณะของผู้เรียนในศวรรษที่ 21 ซึ่่งการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนได้นำนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ มาสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ เพือ่ให้นักเรียนได้รู้จักการคิดวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์อันจะนำมาซึ่งคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรณที่ 21 ซึ่งจะทำให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสถานการณ์ได้อยู่างรู้เท่าทันและเป็นคนที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป เพื่อเสริมสร้างความพร้อมในรายวิชาหลักที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3.1 ด้านปริมาณ 3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 4 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3.1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 5 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3.2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนในสังกัดเขตคลองสาน มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 102,800.00 102,800.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
973 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายตามโครงการเรียนฟรี เรียนดี อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า สิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนรัฐบาลเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียนจำนวนหนึ่ง และจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานครสมทบอีกส่วนหนึ่ง เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักการที่กฎหมายกำหนด 1.เพื่อให้โรงเรียนได้รับงบประมาณที่เพียงพอต่อการให้บริการทางการศึกษา แก่นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและเหมาะสมกับความต้องการของผู้ปกครอง 2.เพื่อให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมีมาตรฐานทัดเทียมกันโดยไม่มีข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณที่ต้องระดมทรัพยากรจากภายนอกเข้ามาสนับสนุน 3. เพื่อเป็นตัวอย่างของประเทศในการจัดการศึกษาของท้องถิ่น ที่ต้องจัดสรรงบประมาณ สมทบกับที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอ 1.ด้านปริมาณ จัดสรรงบประมาณรายหัวนักเรียนเพิ่มให้กับโรงเรียนที่ได้รับอยู่เดิมอีกหัวละ 600.- บาท จำนวนนักเรียน 3,920 คน 2.ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา 2,352,000.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
974 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้ปลอดภัย กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของประชาชนในการสัญจรทั้งทางบกและทางน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ซึ่งสถิติพบว่าในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำตายเป็นอันดับหนึ่งจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่างๆ จึงมีนโยบายให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาต้องว่ายน้ำเป็นด้วยเหตุนี้สำนักการศึกษาจึงจัดทำโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัยเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครว่ายน้ำเป็น สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 1.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 2.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง สมบูรณ์ 3.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานสนใจการเล่นกีฬา ห่างไกลยาเสพติด 4.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ในปีการศึกษา 2564 ทุกคนได้เรียนว่ายน้ำและมีทักษะการเอาชีวิตรอด จำนวน 346 คน ด้านปริมาณ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 346 คน ด้านคุณภาพ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 224,900.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
975 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -สำนักงานเขตคลองสานตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผลผลิตทางด้านการจัดการศึกษาสามารถนำความรู้ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากร ดังนั้น เพื่อเป็นการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2562 ให้สูงขึ้น สำนักงานเขตคลองสานจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเสริมสร้างความพร้อมในรายวิชาหลักที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 1 ด้านปริมาณ 1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 4 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 5 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนในสังกัดเขตคลองสาน มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 168,000.00 29,820.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
976 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร -จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ตรัสว่า "สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับนักกีฬานั้น คือ การเอาชนะใจตนเองและชนะใจของคู่แข่งขันและชนะใจของผู้ที่มาชมการแข่งขันด้วย" กรุงเทพมหานครได้สนองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ด้วยการส่งเสริมการเล่นกีฬาของนักเรียนในสังกัด โดยฝึกฝนเยาวชนให้รู้จักเล่นกีฬา มีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬา มีความซื่อสัตย์ อดทนตรงต่อเวลา เห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย และห่างไกลยาเสพติด 1 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา มีความสามัคคีในหมู่คณะ และมีระเบียบวินัย 2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่มั่วสุมในอบายมุข 3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 3.1 ด้านปริมาณจัดส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวนทั้งสิ้นปรัะมาณ 3,861 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 3,861 คน 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง มีพัฒนาการที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตลอดจนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 77,900.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
977 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีปฏิญาณตน และสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร -การพัฒนากิจกรรมยุวกาชาด นำไปสู่การพัฒนานักเรียน มีประโยชน์ในการสร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่่วนร่วม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดสมาชิกยุวกาชาดร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย 1 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาด รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาดรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนายุวกาชาดไทย 3 ส่งเสริมและเน้นความสำคัญของกิจกรรมยุวกาชาดให้เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 47,300.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
978 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีทบทวนคำปฏิญาณ และสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร -การพัฒนากิจการลูกเสือ นำไปสู่การพัฒนานักเรียนมีประโยชน์ในการสร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดลูกเสือ เนตรนารี ร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 1 เพื่อให้ลูกเสือ เนตรนารี รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย และแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ 2 เพื่อรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 1 กรกฎาคม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจการลูกเสือ เนตรนารีของกรุงเทพมหานคร ออกสู่สายตาประชาชนอย่างกว้าง 3 เพื่อส่งเสริมและเน้นความสำคัญของกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีให้เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างระเบียบวินัยและการส่งเสริมการทำความดี ปฏิบัติกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกันทั้งในบริเวณโรงเรียน ชุมชน และสถานที่สาธารณะใกล้เคียง 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ลูกเสือและเนตรนารี จำนวน 29 คน ผู้บังคับบัญชา จำนวน 1 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีทักษะในการบริหารกิจการลูกเสือของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและใช้กิจกรรมลูกเสือในการปฏิรูปการเรียนรู้ 50,700.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
979 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต กรุงเทพมหานคร มีนโยบายในการสร้างชื่อเสียงด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ให้มีคุณภาพมาตรฐานวิชาการอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและเทียบเท่าระดับสากล มุ่งหวังพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพในประชาคมโลกในปัจจุบัน จึงได้มอบนโยบายให้สำนักการศึกษา จัดทำโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมั่นใจ ได้ตามมาตรฐาน โดยจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมทางวิชาการที่สนุนสนาน PLEARN (Play+Learn) การมีส่วนร่วม (Co-Operation) มีความร่วมมือ (Collabaration) ปรับตัวและแก้ปัญหาได้ (Critical thinking) นักเรียนจะสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข มั่นใจ นำความรู้ความสามารถไปใช้พัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แสดงหาความรู้ มีเป้าหมายการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มีเป้าหมายในการประกอบอาชีพ สอดคล้องและรองรับในการพัฒนานักเรียนไทยให้ก้าวสู่ยุค THAILAND 4.0 2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 2.2 เพื่อสร้างความมั่นใจและสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียน 1 ด้านปริมาณ นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ตั้งแต่ชั้นปฐมวัยขึ้นไปยกเว้นห้องเรียนสองภาษา 2 ด้านคุณภาพ 2.1 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ชั้นปฐมวัยขึ้นไปสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ ถูกต้องตามมาตรฐานสากล 2.2 นักเรียนมีผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสูงขึ้น 3,408,000.00 1,388,600.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
980 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาจีน -กรุงเทพมหานคร ได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่นักเรียนในสังกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้ภาษาจีน เพื่อก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน สามารถนำความรู้มาพัฒนาตนเองและประเทศ 1.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานสามารถใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม 2.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 3.1 ด้านปริมาณ โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 8 โรงเรียน - โรงเรียนที่เปิดสอนระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนต้น เริ่มสอนจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - โรงเรียนที่เปิดสอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น – มัธยมศึกษาตอนปลาย เริ่มสอนจากชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานที่เข้าร่วมโครงการสามารถสื่อสารด้วยภาษาจีนกลางได้อย่างเหมาะสม และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 1,824,000.00 700,200.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
981 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายโรงเรียน -สำนักงานเขตคลองสานเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน ได้ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนเร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ทุกโรงเรียนมีระดับคุณภาพมาตรฐานที่สูงยิ่งขึ้นด้วยกระบวนการของระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา จนสามารถทำให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครทุกโรงเรียน รับการประกันคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองคุณภาพมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 1 เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ด้วยระบบเครือข่ายโรงเรียนที่ยั่งยืน 2 เพื่อให้เครือข่ายโรงเรียนมีเวทีแสดงผลงานเชิงวิชาการที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 เพื่อคัดเลือกและประเมิน “ครูดีเด่น” 3.1 ด้านปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 217 คน 3.2 ด้านคุณภาพ เครือข่ายโรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ เครือข่ายโรงเรียนมีผลงานที่มีคุณภาพนำเสนอต่อสาธารณชน ครูดีเด่นมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 90,000.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
982 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาญี่ปุ่น - กรุงเทพมหานคร ได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่นักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน จึงมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนในสังกัดได้เรียนรู้ภาษาญ๊่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศอีกหนึ่งภาษา 1 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ตามระดับชั้นเรียน 2 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ได้ตระหนักและเตรียมความพร้อม เพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน 1 ด้านปริมาณ นักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม จำนวน 3 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 120 คน 2 ด้านคุณภาพ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ตามระดับชั้น 288,000.00 165,000.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
983 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลดลง โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารในปี พ.ศ. 2555-2561 มีแนวโน้มลดลง กล่าวคือ พบการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ ร้อยละ 24.7 26.3 21.2 28.2 24.3 23.4 และ 23.1 ตามลำดับ การปนเปื้อนด้านเคมี พบร้อยละ 0.7 0.7 0.3 0.3 0.32 0.31 และ 0.31 ตามลำดับ โดยพบว่าสาเหตุหลักคือการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์สอดคล้องกับอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มลดลงเช่นกัน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มลดลง แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย มีความยั่งยืน สำนักงานเขตบางกอกน้อย จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕64 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร กำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินการด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 1.ประชาชนได้บริโภคอาหารสะอาดและปลอดภัย 2.สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 3.ผู้ประกอบการอาหารทุกกลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในการปรุงจำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัย 1.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องหลักการสุขาภิบาลที่ถูกต้อง 2.ตรวจสุขลักษณะทางกายภาพ และตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครอบคลุมสถานประกอบการที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ร้อยละ 100 103,000.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
984 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย กรุงเทพมหานคร เป็นมหานครแห่งศูนย์กลางของความเจริญและการพัฒนาในหลายๆด้าน มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีโรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจำนวนมาก ก่อเกิดปัญหาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน การเพิ่มขึ้นของโรคระบาด ปัญหาด้านการสาธารณสุข ทางสังคม ด้านการจราจร และ ปัญหาด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและการดำเนินชีวิต การปนเปื้อนของเชื้อโรคในอาหาร การร้องเรียนและเหตุเดือดร้อนรำคาญต่างๆ หรือเหตุอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสื่อมหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตและมีสุขภาพอนามัยที่ดี จำเป็นต้องเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุข ออกปฏิบัติงานในด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น การตรวจสอบควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การป้องกันปัญหาด้านสุขาภิบาลอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การตรวจสอบติดตามการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 การแก้ไขและตรวจสอบปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญ การตรวจสอบและควบคุมสถานที่จำหน่ายและสะสมอาหารป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคหรือสารเคมีในอาหาร การเฝ้าระวังและตอบโต้เหตุฉุกเฉิน รวมทั้งการปฏิบัติงานในภาวะหรือสถานการณ์ฉุกเฉินเร่งด่วน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 1. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและด้านสุขลักษณะ ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ด้านอาหารปลอดภัยของสถานประกอบกิจการ 2. เพื่อส่งเสริมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของอาคารและสถานที่ทำงานให้มีสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี 3. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีและสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตภาษีเจริญ ในการปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยให้ทันต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีความพร้อมต่อการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัญหาด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 4. ป้องกันและคุ้มครองสุขอนามัยที่ดีของประชาชนในเขตภาษีเจริญ ให้ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพจากควันบุหรี่ และเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 - กิจกรรมที่ 1 การบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ออกปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของวันราชการปกติในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาลในสถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ แหล่งชุมนุมชน สถานพยาบาล สถานศึกษา วัดและศาสนสถาน ป้ายรถโดยสารประจำทาง และสถานีรถไฟฟ้า เพื่อดำเนินการตรวจสอบและประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 จำนวน 35 - กิจกรรมที่ 2 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ออกปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน เร่งด่วน หรือกรณีจำเป็นนอกเวลาราชการของวันราชการปกติในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน การตรวจสอบแก้ไขเหตุเดือดร้อนรำคาญ การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ด้านอาหารปลอดภัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ ตรวจการปนเปื้อนของเชื้อโรคในอาหาร การรณรงค์เผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกันและควบคุมปัญหาสาธารณสุข หรือปัญหาทางด้านสาธารณสุขอื่นๆตามสถานการณ์ จำนวน 48 วัน 165,100.00 36,000.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
985 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตหนองแขม สำนักงานเขตหนองแขมมีข้อมูลเป็นจำนวนมากที่อยู่กระจัดกระจายตามฝ่ายต่าง ๆ การรวบรวมพัฒนาเป็นฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่สำนักงานเขตหนองแขมตระหนักและให้ความสำคัญ จึงจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลขึ้น 1. รวบรวมข้อมูลพัฒนาให้เป็นฐานข้อมูลเพื่อง่ายต่อการใช้งาน พัฒนาฐานข้อมูลใหม่ หรือปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้มีขอบเขตการใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางขึ้นจำนวน 1 เรื่องมาพัฒนาเป็นฐานข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
986 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) เนื่องจากสภาวการณ์ปัจจุบันอุบัติภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมักจะมีความรุนแรง และสร้างความสูญเสียต่อชีวิตร่างกายและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเมือง ความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและมีการแข่งขันในทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง ผู้ประกอบการต่าง ๆพยายามลดต้นทุนการผลิตทำให้ละเลยต่อมาตรการในการป้องกันภัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น นอกจากนี้หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการรับความสนับสนุนจากหน่วยงานบรรเทาสาธารณภัย หน่วยงานการกุศลภาคเอกชน และการระมัดระวังป้องกันภัยของประชาชน ซึ่ง รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญได้มอบหมายภารกิจให้หน่วยงานปกครองทั้งในระดับภูมิภาคและท้องถิ่นจัดการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับการป้องกันบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ แก่สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ให้มีวิสัยทัศน์กว้างไกลได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ ตลอดจนมีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแสดงความคิดเห็น จึงจัดให้มีการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนหลักสูตรหลักขึ้น อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนซึ่งผ่านการอบรมแล้วสามาถปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนหน่วยงานและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ 41,500.00 41,500.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
987 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการสำนักงานเขตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ สำนักงานเขตสาทรได้ตระหนักถึงความสำคัญของฐานข้อมูลที่สำนักงานเขตสาทรจัดทำขึ้น ดังนั้นทางสำนักงานเขตสาทรมีโครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เพื่อเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการ และประชาชนผู้มาติดต่อราชการ พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อไปใช้สนับสนุนในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
988 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตสาทร ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 1.สำนักงานเขตสาทรมีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ทุกระดับ ซึ่งส่งเสริมให้ดำเนินงานด้านควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย สามารถนำความรู้ ทักษะ เกี่ยวกับโรคติดต่อที่นำโดยยุงลายสามารถปฏิบัติตนและจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ 3.ชุมชนในพื้นที่เขตสาทร เป็นพื้นที่ปลอดยุงลาย หรือมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค 4.การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 5.มีนวัตกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานในชุมชน 1.ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชนที่จดทะเบียนจำนวน 26 ชุมชน 2.ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 26 ชุมชน ให้มีค่า HI อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 183,200.00 20,625.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 35.00
989 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา สำนักงานเขตสาทร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดบริการด้านนันทนาการ กิจกรรมกีฬาส่งเสริมสุขภาพ เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุก ๆ ด้าน รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมสโมสรกีฬา ให้มีการพัฒนาอยู่เสมอ ดังนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารจัดการด้านกีฬาและนันทนาการให้พัฒนาขึ้น จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬาขึ้นอย่างต่อเนื่อง เชิงปริมาณ - เด็ก เยาวชน ประชาชน เจ้าหน้าที่เขตสาทร และหน่วยงานภายนอก เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา เชิงคุณภาพ - เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้รับการพัฒนาด้านกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพได้ฝึกทักษะการเล่นกีฬา ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย 1,083,700.00 329,963.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 65.00
990 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการประชุมครู - ด้วยกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร ให้มีคุณภาพทางการศึกษา เกิดผลดีและมีประสิทธิภาพ จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดประชุมสัมมนาข้าราชการครู ในแต่ละสำนักงานเขตเป็นประจำทุกปี สำนักงานเขตสาทรมีโรงเรียนอยู่ในความรับผิดชอบ จำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดดอน และโรงเรียนวัดยานนาวา ในการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาให้เกิดผลดี และมีคุณภาพ การจัดประชุมครู เพื่อที่จะส่งเสริมสมรรถภาพของบุคลากรให้เกิดการพัฒนาทางการศึกษา เช่น การรับทราบนโยบายและทิศทางการศึกษาที่ถูกต้อง และเปิดโอกาสให้ข้าราชการครูได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นสร้างความสัมพันธ์อันดี และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำความรู้ไปพัฒนาด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และมีแนวทางชัดเจนในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3,000.00 1,250.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
991 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด - นายหมู่ลูกเสือสามัญ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด เป็นผู้บังคับบัญชาที่ใกล้ชิดกับลูกเสือ และยุวกาชาดมากที่สุด มีบทบาทในการควบคุม กำกับ ดูแล บังคับบัญชา ฝึกอบรมและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้การควบคุมของผู้กำกับ รองผู้กำกับลูกเสือ และผู้นำกลุ่ม หรือรองผู้นำกลุ่ม ลูกเสือ – ยุวกาชาด ที่ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรม จะมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ในการที่จะเป็นผู้นำกลุ่มลูกเสือหรือยุวกาชาดที่ดี ทำหน้าที่ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาในกิจกรรมของลูกเสือ – ยุวกาชาด เป็นการเสริมสร้างให้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม ตามระบอบประชาธิปไตยอย่างมีประสิทธิภาพ 9.1 ลูกเสือและยุวกาชาดที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความสามารถเรื่องลูกเสือและยุวกาชาด 9.2 ลูกเสือสามัญ และยุวกาชาดที่ได้รับการอบรม มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่เป็นนายหมู่ลูกเสือ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด 46,500.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 65.00
992 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขต -การจัดการศึกษาในปัจจุบัน รัฐบาลได้ให้ความสนใจในด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และผู้ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการผลักดันให้การปฏิรูปการศึกษาประสบความสำเร็จมากที่สุด คือ ครู กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ก่อให้เกิดข้อมูลข่าวสารความรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย ทำให้ครูต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเรียนการสอนให้เข้ากับยุคสมัยเพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ ทันต่อความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นกับการเรียน การสอนปัจจุบัน จึงเป็นการเรียนร่วมกันระหว่างครู นักเรียน และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และทุกฝ่ายต้องร่วมกันหาแนวทางแก้ไขกรณีที่เกิดปัญหาในการแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอนที่ครูสามารถดำเนินการในระหว่าง การเรียนการสอน โดยไม่ต้องเสียเวลาการปฏิบัติงาน และเกิดผลดีต่อการเรียนการสอนในห้องเรียน จึงเป็นกระบวนการหนึ่งที่ครูต้องนำไปใช้เป็นเครื่องมือการประเมินการทำงานของตนเอง และเป็นการค้นหา แนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะที่ปฏิบัติการสอน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 9.1 ครูได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์แนวทางปฏิบัติที่มีคุณค่าต่อการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 9.2 ครูทุกกลุ่มสาระสามารถนำวิธีการมาใช้ ครูได้รับความรู้และแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี 21,400.00 21,400.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
993 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ถึงแม้สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ในกรุงเทพมหานคร มีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตสาทร จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้ง เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึง การจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการด้านอาหารทุกกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เขตสาทร เพื่อก่อประโยชน์ ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองจากการบริโภคอาหารปลอดภัย 1. สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตสาทร ได้รับการตรวจเฝ้าระวังด้านคุณภาพอาหารทั้งด้านเคมีและจุลินทรีย์ ครบทุกแห่ง 2. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข ได้รับการส่งเสริม พัฒนา ยกระดับไปสู่เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ครบทุกแห่ง 3. ผู้บริโภคได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ในการเลือกซื้อกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ 4. เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว 1.ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 2.ร้อยละ 78 ของตัวอย่างอาหารได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค 3.ร้อยละ 95 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ 4.ร้อยละ 100 ของผู้บริโภคได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ในการเลือกซื้อกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ 74,000.00 69,825.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
994 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการประชุมสัมมนาประธานกรรมการ เครือข่ายผู้ปกครองเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางแห่งการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษาของประเทศ ดังนั้นแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานครเน้นการจัดการศึกษาให้มีการพัฒนาในทิศทางดังกล่าว ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 - 2563 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มหานครสำหรับทุกคน ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.3 การศึกษาสำหรับทุกคน สำนักงานเขตสาทร ในฐานะเป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งรับผิดชอบโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาดังกล่าว จึงได้นำแผนมาสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม เพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้เป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้อย่างหลากหลายวัฒนธรรม อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานครในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน 9.1 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน 9.2 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ และความคิดเห็น เสนอแนะประสบการณ์ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการบริหารงาน 9.3 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาเกิดสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างกัน 9.4 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีการบริหารงานอย่างมีศักยภาพและประสิทธิภาพ ในการพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4,200.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 55.00
995 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ - ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องเร่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปันความรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถคัดกรองข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินข้อมูลได้อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีจริยธรรมทางเทคโนโลยีได้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนจึงต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากในชั้นเรียนและจากการศึกษาด้วยตนเองได้ ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเขตสาทร จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้เองจากการเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้รับ และได้จาการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะทางการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 9.1 ครูได้แนวทางในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนนำนวัตกรรมหรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ 9.2 นักเรียนสามารถสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเองได้ 9.3 โรงเรียนมีผลงานของนักเรียนที่เกิดจากการนำนวัตกรรมหรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 26,200.00 26,200.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
996 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมล้างทำความสะอาด/ลอกท่อระบายน้ำบูรณะซ่อมแซมฝาบ่อพักตะแกรงรับน้ำและคันหิน -สำนักงานเขตสาทรมีพื้นที่ในการดูแล 9.3260 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มในอดีตประชาชนใช้น้ำจากคู คลอง เพื่อการดำรงชีวิตประจำวันต่อมาความเจริญทางเศรษฐกิจเติบโตมีการปลูกสร้างอาคารเพิ่มขึ้นตามลำดับทำให้เป็นชุมชนอาศัยอยุ่หนาแน่น ทำให้สภาพคู คลอง ที่เป็นทางระบายน้ำถูก ปิดกั้นขวางทางระบายน้ำ ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่ -ลดจุดน้ำท่วมขังให้หมดไป -เพื่อจัดการระบายน้ำให้เร็วที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
997 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมการติดตั้งซ่อมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด ความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด หมายถึง ความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง หรือที่ได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการฯ ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด -เพื่อลดพื้นที่เสี่ยงภัยจากการเกิดอาชญากรรม -เพิ่มพื้นที่แสงสว่าง 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
998 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ปรับปรุงซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 14 กรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางความเจริญที่สำคัญในด้านต่างๆ ทำให้มีประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมีทังประชาการที่มีภูมิลำเนาในพื้นที่ และยังมีประชากรแฝงที่เดินทางเข้ามาในกรุงเทพมหานครในช่วงเวลาทำงาน กรุงเทพมหานครในฐานะที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหน่วยงานหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือให้บริการและแก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ประชาชนทั้งปัญหาด้านการจราจร และขนส่ง ปัญหาด้านสาธารณูปโภค ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ปัญหาทุกอย่างจะแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการที่ดี เพื่อที่จะสามารถตอบสนองตามความต้องการและสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนได้ สำนักงานเขตสาทร เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีความใกล้ชิดกบประชาชนและรองรับปัญหาในทุกๆ ด้าน มีหน้าที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพื้นที่และปฏิบัติภารกิจตามนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดูแลรักษาลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ให้มีสภาพที่พร้อมและสะดวกในการใช้งาน จึงได้มีโครงการซ่อมแซมบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย และสิ่งสาธารณประโยชน์เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน 9.1 สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว 9.2 สร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชน 19,502,000.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 37.00
999 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการสอนภาษาจีน - ตามที่กรุงเทพมหานคร โดยคณะผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่นักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครต้องเรียนรู้ภาษาจีน เพื่อก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน สามารถนำความรู้มาพัฒนาตนเองและประเทศ ประกอบกับกรุงเทพมหานครเป็นเมืองศูนย์กลางของธุรกิจการค้า และภาษาจีนเป็นภาษาหนึ่งที่ใช้ในการติดต่อค้าขาย กรุงเทพมหานครโดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้เรียนรู้ภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง อีกหนึ่งภาษา นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ ซึ่งสำนักงานเขตสาทรได้ดำเนินการจ้างครูสอนภาษาจีน เพื่อสอนนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตสาทร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน 9.1 นักเรียนสามารถสื่อสารด้วยภาษาจีนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 9.2 นักเรียนสามารถนำความรู้ภาษาจีนไปใช้ในชีวิตประจำวันและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 9.3 นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 300,000.00 178,200.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1000 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการเรียนฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร - พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้กำหนด ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นค่าใช้จ่าย รายหัวนักเรียนจำนวนหนึ่ง และได้จัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานครสมทบอีกส่วนหนึ่ง เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักการที่กฎหมายกำหนด กล่าวคือ จัดอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ โรงเรียนจะต้องนำงบประมาณที่ได้รับไปบริหารจัดการทุกๆ ด้าน ทั้งค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ค่าสาธารณูปโภค และในด้านการจัดการเรียนการสอน แต่สภาพปัจจุบันงบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการดำเนินการพัฒนาด้านการศึกษา โดยที่ความคาดหวังของผู้ปกครองในการรับบริการของโรงเรียน ตลอดจน การพัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนให้ได้มาตรฐาน ดังนั้น เพื่อให้งบประมาณที่จัดสรรให้โรงเรียนเพียงพอต่อการดำเนินการ จึงสมควรจัดสรรค่าใช้จ่ายรายหัวเด็กเพิ่มให้กับโรงเรียนที่ได้รับอยู่เดิม 9.1 โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 9.2 ลดภาระค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการเรียนการสอนของผู้ปกครอง 522,600.00 318,350.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1001 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย -กรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของประชาชนในการสัญจรทั้งทางบกและทางน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ซึ่งสถิติพบว่าในแต่ละปีจะมีเด็กจมน้ำตายเป็นอันดับหนึ่งจากอุบัติเหตุการบาดเจ็บต่าง ๆ จึงมีนโยบายให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาต้องว่ายน้ำเป็น ด้วยเหตุนี้ สำนักงานเขตสาทรจึงได้จัดทำโครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้ปลอดภัย โดยจัดให้มีการสอนว่ายน้ำให้นักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครของสำนักงานเขตสาทร 9.1 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตสาทรมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานทักษะการเอาชีวิตรอดสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ลดการสูญเสียชีวิตและอุบัติเหตุทางน้ำได้ 9.2 เป็นการส่งเสริมการออกกำลังกาย ทำให้สุขภาพแข็งแรง 9.3 นักเรียนเล่นกีฬาห่างไกลยาเสพติด 72,200.00 57,200.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1002 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 พบว่า ผลคะแนนมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกวิชา ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งดำเนินการช่วยเหลือและพัฒนาให้โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามสภาพปัญหาของสถานศึกษาและผู้เรียน สำนักงานเขตสาทร เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผลผลิตทางด้านการจัดการศึกษาสามารถนำความรู้ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ดังนั้น เพื่อเป็นการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ให้สูงขึ้น สำนักงานเขตสาทร จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ขึ้น สำนักงานเขตสาทรประสบความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาหลัก โดยมีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา 2562 อย่างชัดเจน 16,800.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 35.00
1003 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรมราโชวาทและพระราชทานคำขวัญเกี่ยวกับการกีฬา “ชาติไทยเป็นชาตินักรบมาแต่โบราณกาลได้ชื่อว่าเป็นผู้กล้าหาญยืนหยัดต่อสู้อุปสรรคทุกอย่างโดยไม่ยอมถอยทั้งมีความเมตตากรุณาเห็นอกเห็นใจผู้แพ้มีจิตใจเป็นนักกีฬาโดยแท้จริงเราทั้งหลายเป็นผู้สืบสายมาแต่บรรพบุรุษจึงสมควรพยายามฝึกฝนตนเองให้มีความเข้มแข็งถึงพร้อมด้วยความเป็นนักกีฬาให้สมกับที่มีเลือดเป็นนักรบและสามารถรักษาความเป็นไทของประเทศชาติ” “สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับนักกีฬานั้นคือการเอาชนะใจตนเองและชนะใจของคู่แข่งขันและเช่นเดียวกันชนะใจของผู้ที่มาชมการแข่งขันด้วย” กรุงเทพมหานครได้สนองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยการส่งเสริมการเล่นกีฬาของนักเรียนในสังกัดโดยฝึกฝนให้เยาวชนรู้จักการเล่นกีฬามีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬามีความซื่อสัตย์อดทนตรงต่อเวลาเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายและห่างไกลยาเสพติดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิต-ประจำวันอย่างสม่ำเสมอ 9.1 ทำให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์มีระเบียบวินัย 9.2 ทำให้นักเรียนมีความสามัคคีในหมู่คณะมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 9.3 นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด 9.4 นักเรียนมีทักษะในการเล่นกีฬาที่ถูกวิธีและมีน้ำใจนักกีฬา 9.5 นักเรียนมีโอกาสเล่นกีฬาอย่างทั่วถึง 33,100.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 60.00
1004 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร - กรุงเทพมหานคร มีนโยบายชัดเจนที่จะจัดการศึกษาให้เป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ชุมชน และความต้องการของเยาวชนเอง โดยจัดให้มีวิสัยทัศน์การศึกษาเป็นเป้าหมาย และแนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งระบุตัวชี้วัดและการประเมินมาตรฐานไว้ รวมทั้งใช้เกณฑ์ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของชาติ โดยกลุ่มงานพัฒนาผู้นำลูกเสือและยุวกาชาด นำกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาดขึ้นเป็นแกนนำในการพัฒนานักเรียนและให้ลูกเสือ ยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร เป็นผู้นำในการปฏิรูปการเรียนรู้เพราะกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 รวมทั้งเป็นกิจกรรมที่สามารถผลิต ให้เยาวชนเป็นพลเมืองดีของชาติ มีระเบียบวินัย มีการเสียสละเพื่อส่วนรวม ซึ่งตัวชี้วัดต่าง ๆ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ดังนั้น เพื่อพัฒนากิจการยุวกาชาด นำไปสู่การพัฒนานักเรียน มีประโยชน์ในการสร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดสมาชิกยุวกาชาดร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย รวมทั้งมีกิจกรรมอื่นๆประกอบการสวนสนาม นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ บริเวณโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง เช่น การรักษาความสะอาด การปลูกต้นไม้ การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การรักษาสิ่งแวดล้อมพร้อมกันทุกโรงเรียน 9.1 สมาชิกยุวกาชาด และผู้บังคับบัญชา มีจิตสำนึกในความรัก เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 9.2 สมาชิกยุวกาชาด และผู้บังคับบัญชา ได้รับความรู้ ทักษะ มีประสบการณ์ และเจตคติที่ดีต่อกิจการยุวกาชาด 9.3 สมาชิกยุวกาชาด และผู้บังคับบัญชา มีระเบียบวินัย ความพร้อมเพรียง ความสามัคคี 9.4 สมาชิกยุวกาชาด และผู้บังคับบัญชา เกิดความภาคภูมิใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการทบทวนคำปฏิญาณ สวนสนาม และบำเพ็ญประโยชน์ 9.5 ผู้บริหารงานยุวกาชาด ทุกระดับเห็นความสำคัญ และสนับสนุนกิจกรรมยุวกาชาดในโรงเรียนอย่างจริงจัง 9.6 ผู้บริหารงานยุวกาชาด ทุกระดับสามารถใช้แนวทางในการจัดกิจกรรมยุวกาชาด เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ ตามวิสัยทัศน์การศึกษาของสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 47,300.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 20.00
1005 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร มีนโยบายชัดเจนที่จะจัดการศึกษาให้เป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ชุมชนและ ความต้องการของเยาวชนเอง โดยจัดให้มีวิสัยทัศน์การศึกษาเป็นเป้าหมายและแนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งระบุตัวชี้วัด และการประเมินมาตรฐานไว้ รวมทั้งใช้เกณฑ์ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของชาติ โดยกลุ่มงานพัฒนาผู้นำลูกเสือและยุวกาชาด นำกิจกรรมลูกเสือ และยุวกาชาด ขึ้นเป็นแกนนำในการพัฒนานักเรียน และให้ลูกเสือ ยุวกาชาด กรุงเทพมหานคร เป็นผู้นำในการปฏิรูปการเรียนรู้ เพราะกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมสำคัญในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รวมทั้งเป็นกิจกรรมที่สามารถผลิตเยาวชนเป็น พลเมืองดีของชาติ มีระเบียบวินัย มีการเสียสละเพื่อส่วนรวม ซึ่งตัวชี้วัดต่างๆสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ กิจกรรม ดังนั้น เพื่อพัฒนากิจการลูกเสือ นำไปสู่การพัฒนานักเรียน มีประโยชน์ในการสร้างวินัย และ การบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดลูกเสือ ร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณตนและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งมีกิจกรรมอื่นๆ ประกอบการเดินสวนสนาม นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ บริเวณโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง เช่น การทำความดี การรักษาความสะอาด การปลูกต้นไม้ การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมกันทุกโรงเรียน 9.1 ลูกเสือ และผู้บังคับบัญชา มีจิตสำนึกรัก และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 9.2 ลูกเสือ และผู้บังคับบัญชา ได้รับความรู้ ทักษะ มีประสบการณ์และเจตคติที่ดีต่อกิจการลูกเสือ สามารถสร้างระเบียบวินัย ความพร้อมเพรียง และความสามัคคี 9.3 ลูกเสือ และผู้บังคับบัญชา เกิดความภาคภูมิใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการทบทวนคำปฏิญาณ สวนสนาม และการบำเพ็ญประโยชน์ 9.4 ผู้บริหารงานลูกเสือ ทุกระดับเห็นความสำคัญและสนับสนุนกิจกรรมลูกเสือ ในโรงเรียนอย่างจริงจัง สามารถใช้แนวทางในการจัดกิจกรรมลูกเสือเป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ 50,700.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 50.00
1006 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต -กรุงเทพมหานครมีนบายในการสร้างชื่อเสียงด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพมาตรฐานวิชาการอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและเทียบเท่าระดับสากล มุ่งหวังพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและมีทักษะ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพในประชาคมโลกในปัจจุบัน จึงได้มอบนโยบายให้สำนักการศึกษา จัดทำโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมั่นใจ ได้ตามมาตรฐาน โดยจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบทักษะสัมพันธ์ (ENGLISH INTEGRATED SKILLS) บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่น เช่น สุขศึกษา ศิลปศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ จัดหลักสูตรเนื้อหาสาระสู่กระบวนการฝึกทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน นักเรียน ได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมทางวิชาการที่สนุกสนาน PLEARN (Play+Learn) การมีส่วนร่วม (Co-Operation) มีความร่วมมือ (Collaboration) ปรับตัวและแก้ปัญหาได้ (Critical thinking) นักเรียนจะสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข มั่นใจ นำความรู้ความสามารถไปใช้พัฒนาตนเองได้ดีขึ้น แสวงหาความรู้ มีเป้าหมายการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มีเป้าหมายในการประกอบอาชีพ สอดคล้องและรองรับในการพัฒนานักเรียนไทยให้ก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 9.1 นักเรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษ ฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมีความสุขและมั่นใจ 9.2 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษสูงขึ้น 9.3 นักเรียน โรงเรียนมีความพร้อมเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา 816,000.00 374,400.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
1007 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ปัจจุบันกรุงเทพมหานคร มีการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีการนำ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ รวมทั้งการนำเข้าสารเคมีและวัตถุอันตรายชนิดใหม่ๆ มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต นอกจากนั้นยังมีการอพยพของประชากรเข้ามาหางานทำในเมืองใหญ่ ชุมชนเมืองมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว พื้นที่ส่วนใหญ่แออัดไปด้วยสิ่งปลูกสร้างต่างๆมากมาย เช่น ถนน บ้านเรือน อาคารสำนักงาน โรงงานอุตสาหกรรม ทำให้สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติถูกดัดแปลง แก้ไข และถูกทำลาย เพื่อการดำรงชีพของชุมชนเมือง จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะดิน น้ำ ป่าไม้ และอากาศ ถูกทำลายและเสื่อมโทรมเป็นอย่างมาก สภาพนิเวศน์ ทางธรรมชาติเสียสมดุล ทำให้โอกาสเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและบ่อยครั้งมากขึ้น เช่น การเกิดน้ำท่วมฉับพลัน ภัยแล้ง ขณะเดียวกันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการเพิ่มผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ทำให้สาธารณภัยที่เกิดมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงและสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เช่น แก๊สระเบิด เพลิงไหม้อาคารสูง อุบัติเหตุจากการจราจรและการคมนาคมขนส่ง สารเคมีรั่วไหล ฯลฯ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดังกล่าวยังเป็นผลให้สังคมที่ปรับตัวไม่ทันมีปัญหาเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาฉกชิงวิ่งราว ลักเล็กขโมยน้อย ปัญหาเพลิงไหม้ในชุมชนแออัด 1.เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสาทร 2.สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตสาทร มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ 352,000.00 607,300.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1008 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 โครงการการให้บริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตบางคอแหลม ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชน เจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ ซึ่งในบางครั้งประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียไม่ทราบข้อมูลว่าเปลี่ยนไว้ที่ไหน เมื่อไหร่ ทำให้เกิดความยุ่งยาก ล่าช้า และใช้เวลาในการสอบถามและค้นหาข้อมูลจากผู้ร้อง ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตบางคอแหลม จึงได้จัดทำโครงการการให้บริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งประชาชนที่เปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุลไว้ที่สำนักทะเบียนอื่น พร้อมทั้งดำเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็นข้อเสนอแนะ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล ซึ่งถือเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุดต่อไป 2.1 เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล และได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2.2 เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียน ชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.3 ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายของประชาชน 3.1 เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 3.2 เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียน ชื่อบุคคลให้ได้รับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1009 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้ในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานครส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในด้านการจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชน ผู้ประสบปัญหา จึงได้จัดทำโครงการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมขึ้น เพื่อประสานการทำงานให้อยู่ในรูปแบบการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชนอย่างแท้จริง ประชาชนผู้ใช้บริการในพื้นที่เขตประเวศ ด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงสวัสดิการของรัฐ และการสังคมสงเคราะห์ เกิดความพึงพอใจในการให้บริการของเขตประเวศ 1. จ้างอาสาสมัครปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม ประจำสำนักงานเขจประเวศ จำนวน 4 อัตรา ดังนี้ 1.1 อาสาสมัครวุฒิปริญญาตรี จำนวน 2 คน (วุฒิปริญญาตรี) จำนวน 2 อัตรา 1.2 อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ (วุฒิไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 อัตรา 2. กลุ่มเป้าหมายทุกระดับได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ ได้รับสวัสดิการและการสางเสริมพัฒนาอย่างครอบคลุมทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือในกรณีจำเป็นได้รวดเร็ว 3. เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการสังคม การให้บริการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส ของทุกภาคส่วนของพื้นที่เขตประเวศ 585,140.00 372,035.00 สำนักงานเขตประเวศ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1010 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตประเวศตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ ข้างต้น โดยเฉพาะการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถที่นับวันจะถูกลบเลือนหายไปในที่สุด จึงได้จัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์สืบทอดผลงานและเป็นที่รวบรวมผลงานต่างๆ ของผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ให้แก่เยาวชนรุ่นหลังได้เรียนรู้และคงอยู่ตลอดไป 1. เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา และสืบทอดผลงานที่สร้างสรรค์ให้คงอยู่ตลอดไป 2. ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้รับการคัดเลือกการแสดงผลงานในพื้นที่ ดำเนินงาน 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 รับสมัครและคัดเลือกผลงานของผู้สูงอายุและรวบรวมสู่ธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภูมิลำเนาอาศัยในกรุงเทพมหานคร ที่มีความรู้ความสามารถตามประเภทสาขาเกษตรกรรม คหกรรม ศิลปกรรม สาธารณสุข ภาษา วรรณกรรม และอื่นๆ กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์ ประกอบด้วย ประชาชนทั่วไป และผู้สูงอายุ จำนวนทั้งสิ้น 100 คน 10,000.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 80.00
1011 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนในการที่จะพัฒนาชุมชนของตนให้มีความเจริญก้าวหน้า สมาชิกชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จึงได้สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน โดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน ตามระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 โดยกำหนดอัตราการเบิกจ่ายตามจำนวนบ้านที่มีทะเบียนบ้านของแต่ละชุมชน ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร และเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาชุมชน สำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน เพื่อให้เป็นแนวทางในการกำหนดกิจกรรมของชุมชน การดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนและการเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 9.1 คณะกรรมการชุมชนสามารถดำเนินงานการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 9.2 เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนในการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ 9.3 ชุมชนในพื้นที่เขตจอมทองมีการดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเป็นประจำทุกเดือน สนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กับชุมชนในพื้นที่เขตจอมทอง จำนวน 48 ชุมชน ตามอัตราที่กำหนดไว้ในระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 ดังนี้ 1) ชุมชนที่มีจำนวนบ้านไม่เกิน 200 หลัง เบิกจ่ายได้ไม่เกินชุมชนละ 5,000 บาท จำนวน 34 ชุมชน 2) ชุมชนที่มีจำนวนบ้านตั้งแต่ 201 - 500 หลัง เบิกจ่ายได้ไม่เกินชุมชนละ 7,500 บาท จำนวน 13 ชุมชน 3) ชุมชนที่มีจำนวนบ้านตั้งแต่ 501 หลังขึ้นไป เบิกจ่ายได้ไม่เกินชุมชนละ 10,000 บาท จำนวน 3 ชุมชน 3,570,000.00 1,832,109.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2021-01-01 00:00:00 2021-12-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1012 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน กำหนดให้มีสภาเด็ก และเยาวชนเขต ตามความในมาตรา 24 และให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามความในมาตรา 27, 28 และ 29 เพื่อมุ่งเน้นให้สภาเด็กและเยาวชนเป็นกลไกในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม ตลอดจนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตจอมทองได้ดำเนินการจัดตั้งสภาเด็กและเยวาชนเขตจอมทอง พร้อมประชุมคัดเลือกคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตจอมทอง เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 เพื่อให้สภาเด็กและเยาวชนเขตเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เผยแพร่ด้านวิชาการ การศึกษา สุขภาพ กีฬา อาชีพ และวัฒนธรรม รวมทั้งเพื่อประสานงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในด้านต่างๆ ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นสำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเป็นส่วนช่วยในการส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสภาเด็กและเยาวชนเขตจอมทองให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 9.1 เด็กและเยาวชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมและมีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม 9.2 เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถพัฒนาระบบความคิด และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตน เพื่อเตรียมความพร้อมในการเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า ส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. จัดจ้างอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน ปฏิบัติงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 2. จัดกิจกรรมพิเศษ โดยกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย เด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในพื้นที่เขตจอมทอง 149,800.00 89,719.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1013 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณสำนักงานเขตสวนหลวง เพื่อให้การบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลและหน่วยรับงบประมาณสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามเป้าหมาย เพื่อให้ส่วนราชการในสำนักงานเขตสวนหลวงดำเนินการได้ตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด เพื่อเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด ในการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1014 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร สำนักงานเขตสวนหลวงโดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เป็นหน่วยงานกลางในการสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมเกษตรให้กับเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕64 สำนักงานเขตได้กำหนดแผนดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๑ กิจกรรม คือกิจกรรมศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นภารกิจที่กรุงเทพมหานครได้รับถ่ายโอนมาจากกรมส่งเสริมการเกษตร ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓ จำนวน ๕๐ ศูนย์ ในพื้นที่ ๒๖ เขตชั้นนอก ซึ่งสำนักงานเขตสวนหลวงเป็นหนึ่งในจำนวน ๕๐ ศูนย์ของกรุงเทพมหานคร และศูนย์ฯดังกล่าวเป็นศูนย์กลางให้เกษตรกรได้เข้ามามีส่วนร่วมคิด วิเคราะห์ วางแผน และบริหารจัดการแผนด้วยตนเอง และเป็นสถานที่ให้บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการให้ข้อมูลข่าวสารการเกษตรที่สำคัญแก่เกษตรกรในลักษณะบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการบริการ ณ จุดเดียว เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมตามภารกิจของสำนักงานเขตสวนหลวงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน เกิดประโยชน์สูงสุดกับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป จึงได้จัดทำโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักพัฒนาสังคมเพื่อใช้ในกิจกรรมของศูนย์ต่อไป 9.1 เกษตรกรมีองค์ความรู้เพิ่มขึ้น 9.2 เกษตรกรสามารถทำเกษตรแบบพอเพียง จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร เพื่อขับเคลื่อนการให้บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการให้ข้อมูลข่าวสารการเกษตรที่สำคัญแก่เกษตรกร 115,080.00 84,730.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1015 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา กรุงเทพมหานครได้เล็งเห็นความสำคัญของลานกีฬาต้านยาเสพติด จึงได้มีนโยบายจัดตั้งลานกีฬาขึ้นในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬาและ จัดกิจกรรมนันทนาการ เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตลอดจนปัญหาอื่นๆ โดยใช้กีฬาเป็นสื่อ นอกจากนี้กรุงเทพมหานครยังได้มีนโยบายให้สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต จัดตั้งสโมสรกีฬาขึ้นเขตละ ๑ สโมสร รวม 50 สโมสร เพื่อรองรับการจัดกิจกรรมของลานกีฬาในพื้นที่เขต รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุน ด้านการกีฬาให้กับสำนักงานเขตอีกด้วย ปัจจุบันสำนักงานเขตสวนหลวงมีลานกีฬาในพื้นที่เขต จำนวน 28 ลานกีฬา และเพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานของสโมสรกีฬาและลานกีฬาของสำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬาขึ้น 9.1 เด็ก เยาวชน และประชาชน มีการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้ สุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง และห่างไกลยาเสพติด 9.2 ประชาชนมีการรวมกลุ่มกัน เพื่อพัฒนาชุมชนของตนเองโดยใช้กีฬาเป็นสื่อ จ้างอาสาสมัครลานกีฬาเพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานของสโมสรกีฬาและลานกีฬาของสำนักงานเขต จำนวน 28 ลาน และจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาในพื้นที่เขตสวนหลวง 1,535,700.00 1,127,332.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
1016 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน การอ่าน เป็นพื้นฐานของการศึกษาที่เพิ่มพูนความรู้อันเป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ในยุคโลกาภิวัตน์ มีเอกสารสิ่งพิมพ์แหล่งเรียนรู้มากมายที่สามารถค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านจึงเป็นกิจกรรมที่ทำให้เด็กและเยาวชนที่เป็นนักอ่านจะใช้ภาษาได้ดี ทั้งด้านการพูด การเขียน และการเรียบเรียงความคิด ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2565) ได้กำหนดประเด็นยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี และมีเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรม มีเป้าประสงค์ให้คนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เป็นคนดี มีคุณภาพ มีศักยภาพ มีความสามารถ ในการแข่งขัน และมีคุณธรรมจริยธรรม มีการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตในแต่ละท้องถิ่นและให้มีการปลูกฝังค่านิยมรักการอ่านให้เกิดกับคนไทยจนกลายเป็นวัฒนธรรม สำนักงานเขตสวนหลวงตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการครอบครัวรักการอ่านขึ้น เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชน รู้จักแสวงหาข้อมูล รู้จักคิด รู้จักเลือกสรรสารสนเทศที่ดีมีประโยชน์เหมาะแก่การนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต พัฒนาตนเองให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างสรรค์ประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เป็นการดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ซึ่งจะมีผลนำไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป 9.1 เด็ก เยาวชนและประชาชนได้รับข่าวสารและความรู้ต่างๆ เพิ่มมากขึ้น 9.2 เด็ก เยาวชนและประชาชนมีนิสัยรักการอ่านเพิ่มมากขึ้น 9.3 มีการสร้างสรรค์ประสบการณ์เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย 9.4 เด็ก เยาวชนและประชาชนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากขึ้น 9.5 สร้างภาพพจน์ที่ดีในด้านการให้บริการสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือ ณ บ้านหนังสือในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 6 ครั้ง/แห่ง/ปี 240,000.00 123,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-06-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
1017 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน ในพื้นที่เขตสวนหลวงมีชุมชน 45 ชุมชน บางชุมชนอยู่ริมแม่น้ำ บางชุมชนอยู่ในตรอก ซอย ที่รถเก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าจัดเก็บขยะมูลฝอยได้ ทำให้มีขยะมูลฝอยตกค้างอยู่ในชุมชนเป็นจำนวนมาก สำนักงานเขตสวนหลวง โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ได้จัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชนเพื่อเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาขยะตกค้างในชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชน มีส่วนร่วมโครงการ ทำหน้าที่ชักลากขยะในชุมชนของตนออกมาวางไว้ ณ จุดพักขยะ ให้รถเก็บขนมูลฝอยจัดเก็บ ทำให้ชุมชนมีความรับผิดชอบในการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อมของชุมชนมากขึ้นทำให้การจัดเก็บมูลฝอยของสำนักงานเขตสวนหลวงมีประสิทธิภาพมากขึ้น 9.1 ประชาชนในชุมชนมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบในการรักษา - ความสะอาดเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนดีขึ้น 9.2 ลดปัญหาเรื่องขยะตกค้าง 9.3 ชุมชนมีความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น 9.4 ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนนำทิ้ง 9.5 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างหน่วยงานราชการกับประชาชนในชุมชน ชุมชนแออัดในพื้นที่เขตสวนหลวงที่รถเก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าจัดเก็บขยะมูลฝอยและได้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 ชุมชน ได้แก่ 1. ชุมชนอัลกุ๊บรอ 2. ชุมชนคลองจวน 3. ชุมชนอัลเอี๊ยะติซอม 4. ชุมชนพัฒนาริมคลองบ้านป่า 5. ชุมชนนาคภาษิต 6. ชุมชนคลองสะแก 7. ชุมชนธรรมานุรักษ์ 8. ชุมชนหัวหมากเกาะกลาง 9. ชุมชนริมคลองหัวหมากใหญ่ 10. ชุมชนหลังสถานีรถไฟหัวหมาก 440,300.00 438,500.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1018 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ คนพิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและ การช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน ด้านสังคมสงเคราะห์ การจัดสวัสดิการสังคม การพัฒนาชุมชนรวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน เพื่อรองรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น 9.1 เกิดเครือข่ายการประสานงานและความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทุกพื้นที่เขตของกรุงเทพมหานคร 9.2 ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุและปัญหาสังคมทุกประเภทและทุกระดับลดลง ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง และยั่งยืน 9.3 ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์กรุงเทพมหานครให้เป็นสังคมที่อบอุ่นและเอื้ออาทร จ้างอาสาสมัครฯ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน ด้านสังคมสงเคราะห์ การจัดสวัสดิการสังคม การพัฒนาชุมชนรวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน 585,200.00 569,878.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1019 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมฤดูร้อน สถานการณ์ด้านสังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้เด็กและเยาวชนไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ทำให้ประสบกับปัญหาต่าง ๆ หลายด้าน เช่น ปัญหาความยากจน ขาดการศึกษา มีการมั่วสุมแหล่งอบายมุข เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นเหตุให้เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะในชุมชนแออัดที่ประสบปัญหาเหล่านี้จะถูกปล่อยปละละเลย ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เฝ้าระวัง ไม่มีโอกาสได้รับการศึกษา ทำพฤติกรรมสิ่งที่ผิดกฎหมาย สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมฤดูร้อน เพื่อให้ประชาชนมีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักเสียสละ มีวินัยต่อตนเองและผู้อื่น เกิดทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างมีคุณภาพ เสริมสร้างการมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วม เพื่อการพัฒนาชุมชน ตลอดจนเป็นเกราะป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ๙.๑ ประชาชนได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักเสียสละ รักษา-ระเบียบวินัย มีความสามัคคี มีความสำนึกในหน้าที่ของตนเอง ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๙.๒ ประชาชนได้รับแนวคิด ความรู้ และประสบการณ์จากการอบรมไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ในด้านต่าง ๆ และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๙.๓ ประชาชนได้รับการส่งเสริมในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ๙.๔ ประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด จัดอบรมจริยธรรมและคุณธรรมให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง 730,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-01-01 00:00:00 2021-05-31 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1020 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน ตามหลักการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ทั้งนี้โดยมีความเชื่อมั่นในความสามารถ และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ที่มีความต้องการที่จะได้รับการพัฒนาทุกๆ ด้าน กิจกรรมการพัฒนาชุมชน จึงต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของประชาชนภายในชุมชนเป็นสำคัญ เพื่อที่จะได้เป็นพลังชุมชนในการสร้างสรรค์ให้ชุมชนได้รับการพัฒนา สมดังเจตนารมย์ และความต้องการของชุมชนต่อไป สำนักงานเขตสวนหลวง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม มีภาระหน้าที่โดยตรง ในการส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้ชุมชนได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม อนามัยและจิตใจ โดยมีแกนนำชุมชนที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการชุมชนเป็นตัวแทนในการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาชุมชนโดยมีชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ แบ่งเป็นชุมชนขนาดเล็ก 2๘ ชุมชน และชุมชนขนาดกลาง 1๗ ชุมชน รวม 45 ชุมชน ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการสามารถบริหารจัดการชุมชนได้อย่างคล่องตัว เกิดการพัฒนากลุ่มในลักษณะองค์กรชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อช่วยเอื้อต่อการพัฒนาชุมชนสังคมต่อไป จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนขึ้น ๑๐.๑ การดำเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชนของคณะกรรมการชุมชนมีความคล่องตัว สามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง ๑๐.๒ การพัฒนาชุมชนประสบผลสำเร็จตรงกับความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ๑๐.๓ พัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการชุมชน ให้สามารถดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริม การพัฒนาชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อประชาชนในชุมชน สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชนของคณะกรรมการชุมชนมีความคล่องตัว สามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง ของชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 45 ชุมชน 3,210,000.00 1,512,033.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1021 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะปัญหาการทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนัก ถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการ และการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ด้วยเหตุนี้กรุงเทพมหานครจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสระดับเขต ให้เป็นศูนย์อำนวยการในระดับพื้นที่ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินงานศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยสำนักงานการสงเคราะห์และสวัสดิภาพสังคม สำนักพัฒนาสังคมซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ จัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบภาวะยากลำบากดังกล่าว ได้มีแนวทางการปฏิบัติงาน มีรูปแบบการทำงานร่วมกับฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมในสำนักงานเขตและสำนักต่าง ๆ ผ่านทางศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในระดับเขต 9.1 เกิดเครือข่ายการประสานงาน และความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร 9.2 ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ และปัญหาสังคมทุกประเภทและทุกระดับลดลง ครอบครัวมีความเข้มแข็ง 9.3 ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์กรุงเทพมหานครให้เป็นสังคมที่อบอุ่นและเอื้ออาทร จ้างอาสาสมัครฯ ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสระดับเขต เขตสวนหลวง 514,600.00 489,933.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1022 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ ในภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันได้พุ่งตัวสูงขึ้นเรื่อย ๆ สินค้าอุปโภค และบริโภคแม้แต่ค่าบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างขึ้นราคา ทำให้ครอบครัวที่มีฐานะยากจนและปานกลางได้รับความเดือดร้อน เป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องหารายได้มาเพื่อให้พอเพียงต่อรายจ่ายในครัวเรือน การจัดกิจกรรมฝึกวิชาชีพให้แก่ประชาชนและกลุ่มสตรี จึงมีความสำคัญอันจะเป็นการช่วยลดปัญหาความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ให้แก่ครอบครัวและผลักดันเครือข่ายกลุ่มสตรีเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งตลาดภายใน และตลาดภายนอกประเทศ ดังนั้น เพื่อพัฒนาให้ชุมชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ฝ่ายพัฒนาชุมชน และสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฝึกวิชาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรี และประชาชนที่สนใจในเขตสวนหลวง 9.1 ประชาชนสามารถพัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าให้เป็นที่ยอมรับสู่ตลาดสากล ทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภค 9.2 ประชาชนได้รับความรู้ มีทักษะวิชาชีพต่าง ๆ ที่เข้ารับการฝึกอาชีพ สามารถนำไปประกอบอาชีพเพิ่มรายได้และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 9.3 ประชาชนมีอาชีพเสริม จัดกิจกรรมฝึกอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชนพื้นที่เขตสวนหลวง 98,200.00 62,200.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-12-01 00:00:00 2021-08-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
1023 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง ด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำริ ให้พสกนิกรชาวไทยยึดถือแนวทางการดำรงชีวิตตามหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง” โดยคำนึงถึงความพอดี และความพอประมาณอย่างมีเหตุผล เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยให้อยู่ดีมีสุข ซึ่งกรุงเทพมหานคร ได้น้อมนำแนวพระราชดำริดังกล่าวมากำหนดเป็นนโยบายด้านเศรษฐกิจ โดยมีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งโอกาส ทุกคนตั้งตัวและเติบโตได้ โดยกำหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัว และแก้ไขปัญหาหนี้สินขึ้น เพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษา แนะนำประชาชนให้รู้จักการวางแผนทางการเงิน การบริหารจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว ส่งเสริมวินัยในการออม แนะนำช่องทางการเพิ่มคุณค่าของการออม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง โดยประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวงให้ร่วมใจกันดำเนินปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และจัดทำบัญชีรายรับ –รายจ่ายของตนเองและครอบครัว เพื่อเป็นแนวทางในการดำรงชีวิต ๙.๑ ประชาชนในชุมชนร่วมกันเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และนำพระราชดำรัสมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติมาดำรงชีวิต โดยการจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายตนเอง และครอบครัวอย่างต่อเนื่อง ๙.๒ ประชาชนในชุมชน รู้จักใช้เงินอย่างมีคุณค่า รู้จักเก็บออม มีวินัยทางการเงินเมื่อถึง ยามจำเป็นต้องใช้เงิน จะได้พึ่งพาตนเองได้ และเป็นตัวอย่างการออมที่ดีแก่เยาวชนต่อไปในอนาคต จัดกิจกรรมให้ความรู้ประชาชนในชุมชน รู้จักใช้เงินอย่างมีคุณค่า รู้จักเก็บออม มีวินัยทางการเงินเมื่อถึงยามจำเป็นต้องใช้เงิน จะได้พึ่งพาตนเองได้ และเป็นตัวอย่างการออมที่ดีแก่เยาวชนต่อไปในอนาคต 20,000.00 14,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-04-01 00:00:00 2021-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1024 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร เนื่องด้วยพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินีนาถ ทรงมีรับสั่งเกี่ยวกับธนาคารสมอง โดยการนำผู้ที่เกษียณอายุราชการแล้วที่มีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้น การวิจัยหรือการพัฒนาด้านต่างๆ เป็นตัวกลางประสานเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ โดยนำความรู้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญสามารถถ่ายทอดภูมิความรู้จากผู้อาวุโสสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามเป็นประโยชน์แก่สังคม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้น้อมนำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มาจัดทำโครงการเกี่ยวกับธนาคารสมอง โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส การดำเนินการในเชิงพัฒนาเน้นกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องจัดสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ตลอดจนการสนับสนุน การให้ขวัญกำลังใจและสนับสนุนเครือข่ายองค์ผู้สูงอายุในพื้นที่เขต การจัดทำคลังสมอง คลังปัญญา และการรวบรวมภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอด เป็นผลงานสร้างสรรค์ของกลุ่มผู้สูงอายุพร้อมเผยแพร่ให้สาธารณชนทราบนั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ภาครัฐควรให้ความสนใจ สำนักงานเขตสวนหลวง เห็นความสำคัญถึงบทบาทของผู้สูงอายุ จึงจัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อประโยชน์แก่เยาวชนรุ่นหลังสืบต่อไป 9.1 ภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตสวนหลวงในสาขาต่างๆ ได้รับการเผยแพร่ต่อสาธารณชน อันจะเป็นขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุนำความรู้และประสบการณ์มามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม 9.2 องค์กรต่างๆ ในสังคมเห็นความสำคัญในการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุและบทบาท ผู้สูงอายุในการพัฒนาสังคม 9.3 ส่งเสริม และสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในสังคมร่วมกันส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์ปกป้องคุ้มครองผู้สูงอายุ คัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุ จำนวน 1 ภูมิปัญญา ในพื้นที่เขตสวนหลวง 10,000.00 10,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1025 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครโดยสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของผู้คนในแต่ละท้องถิ่น เผยแพร่แก่ประชาชน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นนโยบายของกรุงเทพมหานคร ในการที่จะพัฒนาให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี และมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม โดยปัจจุบันได้ดำเนินการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครแล้วทั้งสิ้น 26 แห่ง ใน 24 พื้นที่ เขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร บรรลุตามวัตถุประสงค์ในการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจึงได้มอบภารกิจพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครให้เขตพื้นที่รับผิดชอบบริหารจัดการต่อไป สำนักงานเขตสวนหลวง มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่วัดปากบ่อ ซอยอ่อนนุช 35 แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง เพื่อให้การดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ มีความพร้อมในการรองรับการเข้าเยี่ยมชมของประชาชนนักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ทั้งด้านกายภาพ และองค์ประกอบด้านความรู้ จึงได้จัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง ให้เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลและการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่เขตสวนหลวงต่อไป 9.1 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นมีความพร้อมในการรองรับการเข้าเยี่ยมชมของประชาชน นักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ทั้งด้านกายภาพ และองค์ประกอบด้านความรู้ เพื่อให้การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 9.2 เป็นแหล่งเรียนรู้ และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวและวัฒนธรรมท้องถิ่น 9.3 ประชาชนมีความเข้าใจ ใกล้ชิด ผูกพันกับวัฒนธรรมและภาคภูมิใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง ดำเนินการจ้างอาสาสมัครประจำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครเขตสวนหลวง และจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 286,600.00 48,019.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1026 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอยและสิ่งสาธารณประโยชน์เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาให้ถนน ตรอก ซอย ที่มีการก่อสร้างในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตสวนหลวง ในการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ถนน ตรอก ซอยและสิ่งสาธารณประโยชน์ได้รับการซ่อมแซมเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาให้ถนน ตรอก ซอย ที่มีการก่อสร้างในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตสวนหลวง ในการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2,000,000.00 1,948,512.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-07-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1027 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ปรับปรุงซอยรามคำแหง 3/1 ถนน ตรอก ซอย ที่มีการก่อสร้างหรือปรับปรุงในพื้นที่รับผิดชอบภายในปีงบประมาณ ปรับปรุงซอยรามคำแหง 3/1 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่เขต ปรับปรุงซอยรามคำแหง 3/1 ให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 6,893,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 50.00
1028 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการสถานประกอบการสีขาว ตามที่ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ สำนักงานเขตสวนหลวงจึงดำเนินการโครงการนี้โดยเริ่มจาก สถานประกอบการในพื้นที่สำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน 20 แห่ง 1. เพื่อให้สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายได้รับการตราวจปัสสาวะหาสารเสพติด 2. เพื่อป้องกันปัญหาพนักงานใช้สารเสพติดในขณะปฏิบัติงาน 1. สถานประกอบการในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 20 แห่ง ได้รับการตรวจหาสารเสพติด 2. จำนวนพนักงานของสถานประกอบการที่เข้าตรวจไม่พบสารเสพติด คิดเป็นร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1029 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมตรวจสอบสถานบริการและสถานบันเทิงในพื้นที่เขตสวนหลวง ตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้มีการกำหนดนโนยบายด้านความปลอดภัย โดยกำหนดภารกิจการสั่งปิดสถานบริการที่ฝ่าฝืนกฎหมายเพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าอยู่และปลอดภัย สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการ/กิจกรรมตรวจสอบสถานบริการและสถานบันเทิงในพื้นที่เขตสวนหลวงเพื่อความปลอดภัยและน่าอยู่ในพื้นที่เขตสวนหลวง 1. เพื่อให้พื้นที่เขตสวนหลวงมีความปลอดภัยในเรื่องการก่อสร้างอาคารให้เป็นไปตามแบบที่กฎหมายกำหนด 2.เพื่อให้ส่วนราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกวดขันและจัดระเบียนสถานบันเทิงในพื้นที่ 1.ดำเนินการตรวจสถานบริการในพื้นที่เขตสวนหลวงให้สถานบริการมีมาตรฐานตามอาคารเสี่ยงภัยตามที่กฎหมายกำหนด 2. มีแผนการตรวจ 1 แผน 3. ดำเนินการตรวจสอบตามแผนที่กำหนดคิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1030 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครในปี 2563 (5 มกราคม – 20 มิถุนายน 2563) พบว่าผู้ป่วยสะสมจำนวน 1,515 ราย อัตราป่วย 26.74 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต โดยจำนวนผู้ป่วยที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 5 - 14 ปี รองลงมา ได้แก่กลุ่มอายุ 15 - 34 ปี และ 0 - 4 ปี ตามลำดับ ซึ่งโรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในลำดับต้นๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วย เสียชีวิต สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมซึ่งโรคไข้เลือดออกมีปัจจัยสนับสนุนมาจากความหนาแน่น แออัด วิถีชีวิต และการเคลื่อนย้ายของประชากร ทำให้ไม่สามารถจัดการกับภาชนะแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ตามเป้าหมาย การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน โดยให้ความสำคัญกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดจำนวนยุงลายพาหะนำโรค ซึ่งเป็นมาตรการสำคัญในการป้องกันควบคุมโรค ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่จึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ได้มีการรับรองมติ“สานพลังปราบยุงลาย โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน” เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาเรื่องไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน เริ่มจากในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน ทำทุกคน ทำทุกที่ จำเป็นต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากหลายภาคส่วนทั้งเครือข่ายความร่วมมือต่างๆ องค์กรชุมชน สังคม ครอบครัวและบุคคล โดยนำแนวทางจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน (Integrated Vector Management) มาบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ รวมถึงการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ผู้บริหารองค์กร และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและประสานความร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตสวนหลวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 9.1 สำนักงานเขตสวนหลวงมีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ทุกระดับ ซึ่งส่งเสริมให้ดำเนินงานด้านควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 9.2 ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย สามารถนำความรู้ ทักษะ เกี่ยวกับโรคติดต่อที่นำโดยยุงลายสามารถปฏิบัติตนและจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ 9.3 ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง เป็นพื้นที่ปลอดยุงลาย หรือมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค 9.4 การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 9.5 มีนวัตกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานในชุมชน 1 ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชนที่จดทะเบียนจำนวน 45 ชุมชน 2 ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 45 ชุมชน ให้มีค่า HI อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 317,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1031 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งต่อผู้สูบและบุคคลรอบข้าง ที่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่างๆ ที่สร้างความสูญเสียทั้งด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ จากรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 พบว่า ทั่วประเทศมีประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ ๑0.๗ ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครประมาณ 1.2 ล้านคน ผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญกับบุคคลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และก่อให้เกิดโรคร้ายกับผู้ที่ได้รับควันบุหรี่ด้วย พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 กำหนดให้มีการจำกัดวิธีการจำหน่าย กำหนดอายุผู้ซื้อ กำหนดสถานที่ห้ามจำหน่ายยาสูบ ห้ามโฆษณา และกำหนดให้มีเขตปลอดบุหรี่ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ ประกอบกับแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติที่กำหนดเป้าหมาย กิจกรรม การดำเนินงานและตัวชี้วัดไว้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามกฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติเพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามกฎหมายให้กับผู้จำหน่ายยาสูบ ประชาชนในพื้นที่ และจัดสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งจะช่วยลดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กและเยาวชน และลดผลกระทบจากการสูบบุหรี่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้ สำนักงานเขตสวนหลวงตระหนักถึงการป้องกันและส่งเสริมให้ประชาชนปลอดภัยจากควันบุหรี่ รวมทั้งคุ้มครองสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ปราศจากควันบุหรี่ จึงจัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ขยายผลการดำเนินงานให้มีความครอบคลุม สร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง ซึ่งจะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมที่ปลอดภัยจากควันบุหรี่ ต่อไป 1 ประชาชน ผู้ประกอบการและเจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่เขตสวนหลวงมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามแนวทางเขตปลอดบุหรี่ 2 เด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ได้รับความรู้เพื่อป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ 1 ประชาชน ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่เขตสวนหลวง ได้รับความรู้ในการดำเนินงานกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ จำนวน 100 คน 2 เด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ได้รับความรู้เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ จำนวน 100 คน 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1032 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ด้วยกรุงเทพมหานครได้ออกระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยได้กำหนดอัตราค่าตอบแทนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนสำหรับผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตและศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนกรุงเทพมหานคร และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการ ดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และเกิดประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวงขึ้น 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อุบัติภัยและภัยทางสังคม 2.2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2.3 เพื่อสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการด้านความปลอดภัย สนับสนุนค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวงที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์วิทยุอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง วันละ 2 พลัด ๆ ละ 2 คน โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 352,000.00 292,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1033 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้กำหนดให้การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 องค์ประกอบที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐเพื่อไปสู่ระบบราชการ 4.0 (Innovation Base) ซึ่งกำหนดให้สำนักงานเขต ดำเนินการผลิตนวัตกรรมของหน่วยงานและสามารถนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ เพื่อมุ่งสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อดำเนินการผลิตนวัตกรรมของหน่วยงานและสามารถนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ ตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลิตนวัตกรรม จำนวน 1 ชิ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1034 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
0.0.0 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ การเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การจัดกระบวนการเรียนรู้ จึงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ จึงถือเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสนับสนุนให้บรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าว เพราะสื่อการเรียนรู้ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียนให้มีความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว การสนับสนุนให้ครูได้ผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร และได้มาตรฐานจึงมีความจำเป็น และเพื่อให้ครูมีสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพสำหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน อีกทั้งเป็นแนวทางให้การผลิตสื่อฯ ของครูในโรงเรียนเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม สำนักงานเขตสะพานสูงตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการนี้ขึ้น 1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถ นำนวัตกรรม หรือ สื่อ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ 2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเองได้ 1 ด้านปริมาณ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสะพานสูงทุกโรงเรียนมีการผลิตสื่อการเรียนรู้ประเภทต่างๆ ตามขนาดของโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 3 ผลงาน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 2 ผลงาน และโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาด 1 ผลงาน เช่น สื่อการเรียนรู้ประเภทสิ่งพิมพ์ ประเภทหลายมิติ วิดิทัศน์เพื่อการศึกษา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ฯลฯ 2 ด้านคุณภาพ นักเรียนสามารถนำความรู้และทักษะในการสร้างผลงานการเรียนรู้และทักษะในการใช้นวัตกรรม/สื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างมีคุณภาพ 78,600.00 131,000.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1035 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) ในปัจจุบันสาธารณภัยและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น มีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น การเกิด สาธารณภัยแต่ละครั้งมักสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อชีวิตและทรัพย์สินของทางราชการและประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงของชาติเป็นอย่างมาก ประกอบกับพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ได้เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม โดยกำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดรวมถึงผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจัดให้มีอาสาสมัครในพื้นที่ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลือทางราชการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จะเห็นว่าที่ผ่านมาอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน เป็นผู้มีบทบาทอย่างสำคัญที่เข้ามามีส่วนช่วยเหลือในการระงับยับยั้งมิให้สาธารณภัยที่เกิดขึ้น สร้างความเสียหายรุนแรง โดยเข้ามามีส่วนช่วยเหลือทางราชการตั้งแต่ก่อนที่สาธารณภัยจะเกิดขึ้นไปจนกระทั่งถึงขั้นบูรณะฟื้นฟูหลังจากสาธารณภัยได้ผ่านพ้นไปแล้ว สำนักงานเขตวังทองหลางได้ดำเนินการจัดฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนมาแล้วจำนวน 13 รุ่น และเพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้แก่สมาชิก อปพร. จึงกำหนดให้มีการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนหลักสูตรทบทวนขึ้น 1 เพื่อพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกรูปแบบ 2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่สมาชิก อปพร. และเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายที่ปฏิบัติงานร่วมกัน 1 พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของศูนย์ อปพร. เขตวังทองหลาง 2 ดำเนินการฝึกอบรมให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) จำนวน 50 คน 41,500.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 37.00
1036 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในปัจจุบันมีการเกิดสาธารณภัย ทั้งที่เป็นภัยธรรมชาติหรือภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์โดยตรง สร้างความสูญเสียทางร่างกายและทรัพย์สินในแต่ละครั้งเป็นจำนวนมาก ซึ่งสาธารณภัยที่เกิดขึ้นจำเป็นต้องได้รับการบรรเทาและการป้องกันได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ แต่กำลังเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐมีไม่เพียงพอ จึงจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในการเข้าระงับสาธารณภัยต่างๆ ซึ่งการปฏิบัติงานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนที่ผ่านมามิได้มีค่าตอบแทนใดๆ สำนักงานเขตวังทองหลาง ได้เล็งเห็นความสำคัญของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2554 จึงได้จัดทำโครงการสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตวังทองหลางขึ้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนอาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเฉพาะผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์วิทยุอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตวังทองหลาง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตวังทองหลาง 1 เพื่อสนับสนุนค่าตอบแทนสำหรับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตวังทองหลางผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์วิทยุสื่อสารของศูนย์ อปพร.เขตวังทองหลาง 2 เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจการของ อปพร.ของศูนย์ อปพร.เขตวังทองหลาง เช่น เป็นค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานป้องกันสาธารณภัย เป็นค่าน้ำมันรถที่ใช้ออกปฏิบัติหน้าที่เฉพาะรถยนต์ของ ทางราชการ และค่าอาหาร เครื่องดื่ม สำหรับการจัดประชุมสมาชิกประจำเดือน เป็นต้น 3 เพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนที่เป็นพนักงานวิทยุประจำศูนย์วิทยุสื่อสารของศูนย์ อปพร. เขตวังทองหลาง 1 จัดให้มีพนักงานวิทยุประจำศูนย์วิทยุ จำนวน 2 ผลัด ผลัดละไม่เกิน 2 คน ระหว่างเวลา 16.00 - 24.00 น. และช่วงเวลา 24.00 - 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้น 2 จัดให้มีค่าตอบแทนอาสาสมัครผู้ปฏิบัติงานในศูนย์ อปพร.เขตวังทองหลาง และวัสดุอุปกรณ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 352,000.00 297,000.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1037 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชน และเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังคงเป็นพื้นที่การค้าและแพร่ระบาด มีการลักลอบนำเข้ายาเสพติด เป็นพื้นที่พักรอเพื่อกระจายยาเสพติดไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ค้า ในพื้นที่ และเป็นทางลำเลียงผ่านไปยังจังหวัดอื่นๆ และกลุ่มผู้ค้าใช้บ้านเช่า ทาวน์เฮาส์ หรืออาคารชุดสำหรับการกระจายยาเสพติดในพื้นที่ จากข้อมูลมิติในเชิงพื้นที่ดังกล่าว จึงมีความจำเป็นที่ประชาชนในชุมชน ต้องช่วยกันดูแล สอดส่องและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในชุมชนเพิ่มมากขึ้น กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามนโยบายรัฐบาล ซึ่งมุ่งเน้นการลดผลกระทบต่อสังคม ชุมชนโดยใช้กลไก “ประชารัฐ” ประกอบกับนโยบายด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของกรุงเทพมหานครที่ถือว่าปัญหายาเสพติดเป็นมาตรการสำคัญ และเป็นนโยบายหลักด้านมหานครแห่งความปลอดภัย ซึ่งหน่วยงานต้องดำเนินการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมการจัดตั้งและพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) กำหนดให้มีอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด จำนวนไม่ต่ำกว่า 65,728 คน เพื่อให้เกิดความสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกรุงเทพฯ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดที่ผ่านการอบรมจำนวน 12,527 คน และจะดำเนินการอบรมเพิ่มเติมอีกในปี 2564 จำนวน 2,066 คน รวมทั้งสิ้น 14,593 คน เพื่อเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติงานเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด การค้นหาติดตามดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดที่ผ่านมา เพื่อเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครและในพื้นที่เขตวังทองหลาง ซึ่งสำนักงานเขตวังทองหลาง ถือเป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และปัจจุบันมีอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน จำนวน 149 คน จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาการดำเนินงานให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดขึ้น 1 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในพื้นที่เขตวังทองหลาง กลุ่มเป้าหมาย จำนวนอาสาฯ รายเดิม 149 คน และจำนวนอาสาฯรายใหม่ เพิ่มชุมชนละ 1 คน จำนวน 19 ชุมชน จำนวน 168 คน 45,200.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 65.00
1038 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบ 4) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาจากภารกิจ อำนาจหน้าที่ สภาพปัญหาในการปฏิบัติงาน ความต้องการของผู้รับบริการ หรือประเด็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อผู้รับบริการ ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข/พัฒนาการให้บริการ หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ โดยนำแนวคิด/เทคนิคทางการบริหารสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เช่น ระบบการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยระบบ Lean เทคนิคการรื้อปรับระบบงาน (Reengineering) การออกแบบกระบวนการใหม่ (Process Redesign) ฯลฯ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการทำงาน หรือการนำองค์ความรู้ แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จากการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน หรือการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ต่างๆ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของลักษณะการบริการที่หน่วยงานนั้นๆ ต้องการพัฒนา 1.เพื่อพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนให้เกิดความพึงพอใจ 2.เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารองค์กร 1.ประชาชนผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการให้บริการเพิ่มมากขึ้น 2.องค์กรมีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน/บริหารจัดการที่รวดเร็วขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1039 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน สำนักงานเขตวังทองหลาง ถือเป็นเมืองที่พักอาศัยน่าอยู่ที่มีการเจริญเติบโตของอาคารบ้านเรือนสูง ปัจจุบันประสบกับปัญหาต่างๆ หลายด้าน เช่น ขยะที่มีปริมาณมากขึ้นตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร สำนักงานเขตมีหน้าที่ในการให้บริการเกิบขนมูลฝอยในพื้นที่เขต และเพื่อให้การบริการของสำนักงานเขตมีประสิทธิภาพและได้รับความร่วมมือที่ดีจากชุมชน จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชนในการมีส่วนร่วมในด้านการรักษาความสะอาด โดยว่าจ้างอาสาสมัครชักลากขยะในชุมชน เพื่อทำการชักลากขยะมารวมกันไว้ที่ที่พักหรือจุดรวมขยะ 1. เพื่อให้ประชาชนและชุมชนร่วมมือกันแยกขยะก่อนทิ้ง 2. เพื่อให้เกิดการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่มีขยะตกค้างในชุมชน 3. เพื่อก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานของรัฐ ดำเนินการจ้างอาสาสมัครชักชากมูลฝอยในชุมชน จำนวน 6 ราย ในชุมชม 6 ชุมชน คือ ชุมชนรามคำแหง 53, ชุมชนวัดตึก, ชุมชนสันประเสริฐ, ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา, ชุมชนไดร์ฟอิน และชุมชนเทพลีลา 179,100.00 179,100.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1040 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงมีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอยโดยเฉพาะปัญหามูลฝอยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สำนักงานเขตวังทองหลาง ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอย 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแปรรูปขยะเศษอาหารเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ก๊าซชีวภาพ หรือเป็นอาหารสัตว์ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ เป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยตั้งเป้าหมายไว้ในชุมชน, โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และหมู่บ้านจัดสรรจำนวน 4 แห่ง 50,000.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1041 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว -ปัจจุบันภาวะโลกร้อนทำให้เกิดภัยธรรมชาติขึ้นทั่วโลก สร้างความสูญเสียให้แก่มนุษยชาติอย่างมหาศาล ซึ่งที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้ตระหนักและให้ความสำคัญในด้านสิ่งแวดล้อมโดยกำหนดให้เป็นนโนยบายที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน ดังนั้น สำนักงานเขตวังทองหลางโดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสวนหย่อม และสวนถนนริมทางเท้าซอยลาดพร้าว 84 ด้วยการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ บำรุงรักษา ต้นไม้ให้มีความสวยงาม ร่มรื่น เป็นระเบียบเรียบร้อยและปราศจากมลพิษทางอากาศ -เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองเจ้าคุณสิงห์ ถนนอินทราภรณ์ ถนนรามคำแหง ๓๙ และถนนศรีวรา เป็นพื้นที่สีเขียวด้วยการปลูกต้นไม้ ไม้ดอกไม่ประดับ ให้เกิดความสวยงานเป็นระเบียบเรียบร้อย ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองเจ้าคุณสิงห์ ถนนอินทราภรณ์ ถนนรามคำแหง ๓๙ และถนนศรีวรา เป็นพื้นที่สีเขียวด้วยการปลูกต้นไม้ ไม้ดอกไม่ประดับ ให้เกิดความสวยงานเป็นระเบียบเรียบร้อย 500,000.00 500,000.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1042 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน พัฒนาศักยภาพของคนเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยให้ความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตวังทองหลางดได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี แผนงานพัฒนาชุมชน หมวดรายจ่ายอื่น รายการค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานและการพัฒนาชุมชนในพื้นที่เขตทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านอนามัย ด้านสังคมและด้านจิตใจ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าของชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 3. เพื่อนำงบประมาณที่ได้รับมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชนและเบิกจ่ายงบประมาณได้ตรงตามที่กำหนดเป็นประจำทุกเดือน สนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานด้านการพัฒนาชุมชนของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่เขตวังทองหลาง จำนวน 19 ชุมชน ทุกเดือน 1,500,000.00 772,727.24 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1043 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬาและลานกีฬา กรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการกีฬาเพื่อมวลชนและการพัฒนาการกีฬาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมีความเกี่ยวพันและเป็นความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่ จึงได้กำหนดให้มีการจัดตั้งลานกีฬาสำหรับประชาชนกระจายอยู่ในชุมชนทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นที่สถานที่ออกกำลังกาย เสริมสร้างพลานามัย นันทนาการ และจัดกิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ของประชาชน สำนักงานเขตวังทองหลางได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวและเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับการบริการ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา 1. เพื่อจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาในพื้นที่สำนักงานเขตวังทองหลาง 2. เพื่่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์กีฬาให้ลานกีฬาในพื้นที่เขตวังทองหลาง 3. เพื่อเป็นค่าตอบแทนอาสาสมัครลานกีฬาปฏิบัติงานในพื้นที่เขตวังทองหลาง 1. เชิงปริมาณ - จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาในพื้นที่สำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 1 ครั้ง - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์กีฬาให้ลานกีฬา - จ้างอาสาสมัครลานกีฬาปฏิบัติงานในพื้นที่เขตวังทองหลาง 2. เชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความถึงพอในในการดำเนินการโครงการฯ 953,900.00 472,996.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1044 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งที่คู่มากับสังคมไทยทำให้เกิดเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และเป็นมรดกที่สำคัญ ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจแสดงถึงเกียรติภูมิ ศักดิ์ศรีของไทย ปัจจุบันปัญหาที่ประสบคือการขาดความเอาใจใส่ในวัฒนธรรม ประเพณีและวันสำคัญต่าง ๆ อีกทั้ง ยังขาดความซาบซึ้งในเอกลักษณ์ความเป็นไทย หากปล่อยปะละเลยให้เป็นเช่นนั้น อนาคตความเป็นไทยคงสูญสิ้่น ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนตัองร่วมใจอนุรักษ์ ฟื้นฟู เผยแพร่ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทยไว้ สำนักงานเขตวังทองหลางได้เล็งเห็นความสำคัญของประเพณีและวันสำคัญต่าง ๆ จึงได้กำหนดจัดกิจกรรมตามประเพณีและวันสำคัญขึ้น 1. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและการมีส่วนร่วมของประชาชนหน่วยงานต่าง ๆ 2. เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและให้ความสำคัญกับวันสำคัญของไทย 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม 4. เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมไทยให้เป็นที่รู้จัก 5. เพื่อส่งเสริมสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นและตระหนักถึงคุณค่าที่จะรักษาไว้ให้คงอยู่ กำหนดจัดกิจกรรม 6 กิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ เด็ก เยาวชน นักเรียน ผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน กรรมการชุมชน สภาวัฒนธรรมเขต ผู้แทนภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาขนทั่วไป และเจ้าหน้าที่สำนักงานเขต 1. กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีลอยกระทง 2. กิจกรรมสืบสานประเพณีสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ 3. กิจกรรมเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชินี ประจำปีพุทธศักราช 2564 4. กิจกรรมหล่อเทียน - ถวายเทียนพรรษา 5. กิจกรรมเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำปีพุทธศักราช 2564 6. กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ 500,000.00 160,175.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1045 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมและการสงเคราะห์เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส ได้เล็งเห็นความสำคัญในการระดมความร่วมมือและการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนผู้ประสบภาวะความเดือดร้อน จึงได้จัดทำโครงการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฎิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานดังกล่าว เพื่อสนับสนุนบุคลากรในการปฏิบัติงานด้านการจัดสวัสดิการและการสังคมสงเคราะห์ของศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส และการดำเนินงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน ดำเนินการจ้างบุคลากรสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เขตวังทองหลาง จำนวน 4 อัตรา ได้แก่ 1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ (นักสังคมสงเคราะห์) วุฒิปริญญาตรี 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี วุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3. อาสาสมัครช่วยนักสังคมสงเคราะห์ วุฒิไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 4. อาสาสมัครคนพิการประจำสำนักงานเขต วุฒิไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 514,600.00 369,921.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1046 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม ตามที่กรุงเทพมหานครได้มีนโยบายที่จะพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งเพื่อสร้างกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการคิดและสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง ตามหลักการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม โดยมีหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุน ภาคเอกชนให้การช่วยเหลือ ซึ่งจะทำให้แก้ไขปัญหาได้ตรงตามความต้องการของประชาชนในชุมชน และเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข็มแข็. สามารถพึ่งพาตนเองได้ 1. เพื่อให้งานด้านการส่งเสริมและสนับสนุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่เขตวังทองหลางเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้พัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ดำเนินกาจั้างอาสาสมัครเจ้าหน้าาที่ปฏิบัติงาน ประจำพื้นที่ จำนวน 4 อัตรา ได้แก่่ 1. อาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาชุมชน วุฒิปริญญาตรี จำนวน 2 อัตรา 2. อาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำสำนักงาน วุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 อัตรา 585,200.00 510,641.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1047 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ภูมิปัญญาเป็นองค์ความรู้ของประชาชนที่มีการสั่งสมมาตั้งแต่บรรพบุรุษและสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งโดยเกิดจากการเรียนรู้ ทักษะ ความเชื่อ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในชุมชนที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง "ผู้สูงอายุ"เป็นผู้สั่งสมความรู้และประสบการณ์อันดีงามจากผู้อาวุโสสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อให้คนรุ่นใหม่นำภูมิปัญญาเหล่านั้นมาป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน รวมทั้งพัฒนาและปรับใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน จึงอาจกล่าวได้ว่า "ผู้สูงอายุ" เป็นศูนย์รวมของภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาไทย สำนักงานเขตวังทองหลางในฐานะหน่วยงานหนึ่งของกรุงเทพมหานครตระหนักดีว่าผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของสังคม จึงได้คัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุสในพื้นที่เขตเข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองกรุงเทพมหานคร และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของประชาชนในกิจกรรมเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้บุคคลเหล่านี้ 1. เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงานของผู้สูงอายุให้สาธารณชนได้ทราบ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้คนรุ่นใหม่เห็นคุณค่าและร่วมกันอนุรักษ์สืบทอดผลงานภูมิปัญญาในท้องถิ่น 3. เพื่อให้เกิดเวทีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และร่วมสืบค้นภูมิปัญญาอันทรงคุณค่ารวบรวมเป็นคลังสมองของเขตวังทองหลาง 1. เชิงปริมาณ - จัดกิจกรรมเผยแพร่ภูมิปัญญา จำนวน 1 วัน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 100 คน - ภูมิปัญญาผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1 ภูมิปัญญา 2. เชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการฯ 10,000.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1048 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน บ้านหนังสือหรือห้องสมุด คือ ชุมคลังทางปัญญาของชุมชนและเป็นสัญลักษณ์ของความใฝ่รู้ของผู้คนในสีงคมนั้น ๆ ดังนั้นห้องสมุดที่ดีจึงควรเป็นห้องสมุดที่สามารถตอบสนองต่อการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองได้มากที่สุด นอกจากนี้ยังต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลายและต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน การรู้จักคิด รู้จักเลิอกสรรสารสนเทศที่ดีมีประโยชน์เหมาะแก่การนำไปใข้ในการดำเนินชีวิตเพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาแบะการเรียนรู้สร้างสรรค์ประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขและเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นเป็นการดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในกรุงเทพมหานคร ให้ดีขึ้น และได้ตามเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานซึ่ีงจะนำผลไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป 1. เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.ส่งเสริมเยาวชนและประชาชนให้มีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า 3. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เพื่อส่งเสริมภาพพจน์ด้านการให้บริการสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานครในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน 1. เชิงปริมาณ - จัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน ณ บ้านหนังสือ 2 แห่ง ๆ ละ 8 ครั้ง ๆละ 50 คน 2. เชิงคุณภาพ - เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการ 80,000.00 108,000.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1049 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง สำนักงานเขตวังทองหลางจึงได้จัดทำโครงการรุ้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชิวิตมั่นคงโดยจัดกิจกรรมออกหน่วยรณรงค์เคลื่อนที่ให้ความรู้ด้านการออม ตรวจสุขภาพทางการเงินและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงินให้กับประชาชนรู้จักใช้จ่ายอย่างประหยัด รู้จักเก็บออมไว้ใช้จ่ายยามจำเป็นและขจัดปัญหาความยากจนให้กับประชาชนในพื้นที่เขตวังทองหลางอย่างยั่งยืนต่อไป 1. เพื่อรณรงค์ด้านการออม และตรวจสุขภาพทางการเงิน 2. เพื่อเผยแพร่ความรุ้ด้านการสร้างวินัยทางการเงิน การออมเงิน และให้คำปรึกษาเพื่อส่งเสริมการออม ส่งเสริมการวางแผนทางการเงินเพื่อขจัดปัญหาความยากจนให้กับประชาชน จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการออม การตรวจสุขภาพทางการเงินและให้คำปรึกษาเกี่ยกับการวางแผนทางการเงินเพื่อขจัดปัญหาความยากจนให้กับประชาชนในพื้นที่เขตวังทองหลาง และประชาสัมพันธ์ กิจกรรมส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัว จำนวน 8 ครั้ง ๆละ 1 วัน ๆละ 50 คน รวม 400 คน 20,000.00 20,000.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1050 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร สำนักงานเขตวังทองหลาง มีศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 1 ศูนย์ อยู่ในการกำกับดูแลของฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ซึ่งในปัจจุบันมีรูปแบบการดำเนินการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในแบบเขตเมืองเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ได้เปลี่ยนเป็นที่พักอาศัย แต่ยังมีประชาชนบางส่วนซึ่งเดิมมีอาชีพเกษตรกรยังคงวิถีชีวิตทางการเกษตรอยู่ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ จึงได้วางแนวทางดำเนินการส่งเสริมอาชีพทางการเกษตรให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและสภาพเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปโดยใช้พื้นที่ที่จำกัดในการทำการเกษตรเพื่อให้ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงต้องมีการเพิ่มพูนความรู้ และพัฒนาศักยภาพในการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงให้ดียิ่งขึ้นต่อไป 1. เพื่อจัดให้มีการประชุมแก่คณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงกระจายข่าวสารการเกษตรและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ อันจะ เป็นการพัฒนาศูนย์ฯ ให้ก้าวหน้าต่อไป 2. เพื่อส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรแบบวิถีพอเพียงในพื้นที่ให้เข้มแข็งและอย่างยั่งยืนเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ล 3. เพื่อส่งเสริมความรู้จากวิชาการเกษตร ให้คำแนะนำที่ปรึกษาการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร 1. เพื่อจัดให้มีการประชุมแก่คณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงกระจายข่าวสารการเกษตรและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ อันจะ เป็นการพัฒนาศูนย์ฯ ให้ก้าวหน้าต่อไป 2. เพื่อส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรแบบวิถีพอเพียงในพื้นที่ให้เข้มแข็งและอย่างยั่งยืนเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริมความรู้จากวิชาการเกษตร ให้คำแนะนำที่ปรึกษาการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร 115,100.00 56,880.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1051 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย ปัจจุบันการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีรูปแบบที่หลากหลาย การออกกำลังกายแบบแอโรบิคเป็นการเคลื่อนไหวทุกส่วนของร่างกาย และทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงมากยิ่งขึ้น เป็นการกระตุ้นการไหลเวียนเลือดสู่อวัยวะ ต่าง ๆ ได้ดี สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในชุมชนและในพื้นที่เขตวังทองหลาง 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปได้รู้จักการออกกำลังกายที่ถูกวิธี 2. เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกายให้แข็งแรง สุขภาพจิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ล 4. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ 5. เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง 1. เชิงปริมาณ - จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย (แอโรบิค) ในพื้นที่เขตวังทองหลาง จำนวน 10 แห่ง 2. เชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการดำเนินโตรงการฯ 861,000.00 219,740.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1052 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ษ.2560 ได้กำหนดให้ทุกจังหวัดและกรุงเทพมหานครจัดตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตขึ้น ซึ่งให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีหน้าที่ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทั้งแก้ปัญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อเด็กและเยาวชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับระดับความรู้ความสามารถซึ่งพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตวังทองหลางโดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชนอีกทั้งผู้นำเด็กและเยาวชนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้เยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 1. เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเขตวังทองหลาง 2. เพื่อให้สภาเด็กและเยาวชนเขตวังทองหลางเป็นศูนย์กลางประสานงานและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชนและผู้นำเด็กและเยาวชนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม 4. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิด และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 5. เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนเขตวังทองหลาง รวมถึงการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตวังทองหลางได้มีโอกาสร่วมระดมความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนเขตทุกพื้นที่มีศูนย์กลางในการประสานงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พัฒนาศักยภาพโดยใช้การเรียนรู้ร่วมกัน 149,800.00 72,774.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1053 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขั้นที่ 1 แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2564 ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ที่กำหนดให้หน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดที่ยังไม่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA ) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) ได้แก่ โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลคลองสามวา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ทั้งนี้เพื่อให้ คณะผู้บริหารของโรงพยาบาล และผู้ปฏิบัติงานของโรงพยาบาลได้ร่วมกันสร้างระบบงานที่มีคุณภาพ เป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล จึงทำให้ทางโรงพยาบาลดังกล่าว มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล ( Accreditation HA ขั้นที่1) ในปีงบประมาณ 2564 1.บุคลากรในโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง มีความรู้ความเข้าใจการพัฒนาคุณภาพและประโยชน์ที่จะได้รับจากพัฒนาคุณภาพ 2.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานและเกิดการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 3.ช่วยสร้างชื่อเสียงให้กับโรงพยาบาลและทำให้โรงพยาบาลเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลคลองสามวา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ผ่านการประเมินมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA ) ขั้นที่ 1 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1054 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 1 สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต)(สสว.) การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น 1. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขลักษณะรวมทั้งด้านอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 2. เพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัยในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดีปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเจ้าหน้าที่สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต 8,253,750.00 8,253,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1055 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย(กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ(กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ)(สสว.) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในด้านการจัดการฝุ่นละออง กรุงเทพมหานครมีแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเภทกิจการ คือ ๑.การผลิตภาชนะด้วยโลหะหรือแร่ การถลุงแร่ ๒.การเลื่อย ซอย ไสไม้ การผลิตสิ่งของเครื่องใช้จากไม้หวาย ๓.การผลิต สะสม แบ่งบรรจุธูป ๔.การเผาถ่านหรือสะสมถ่าน ๕.กิจการที่มีการใช้หม้อไอน้ำ (Boiler) 199,700.00 12,500.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1056 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560)(สสว.) พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.๒๕๖๐ ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 39 ก ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้กำหนดให้กรุงเทพมหานครดำเนินการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และการบำบัดรักษาฟื้นฟูสุขภาพของผู้เสพติดผลิตภัณฑ์ยาสูบ รวมทั้งการดำเนินงานตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง และเมื่อปีงบประมาณ 2561 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการสถานที่ราชการกรุงเทพมหานครปลอดควันบุหรี่ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้สถานที่ราชการของกรุงเทพมหานครทุกแห่งมีสิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่และผู้สูบบุหรี่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่ และปลัดกรุงเทพมหานครได้สั่งการให้ทุกหน่วยงานถือเป็นนโยบายของหน่วยงานที่จะมุ่งมั่นดำเนินการให้สถานที่ราชการกรุงเทพมหานครเป็นเขตปลอดบุหรี่อย่างยั่งยืนต่อไป ในปีงบประมาณ 2562 และปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้รับอนุมัติให้ดำเนินโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ซึ่งได้ดำเนินการตามกิจกรรมสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย ประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่สำนักเทศกิจ สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักอนามัย และสำนักงานเขต 50 เขต ในการนี้ได้มีการจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ และสนับสนุนสื่อรณรงค์การจัดสถานที่สาธารณะให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายประเภทต่างๆ ด้วย 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ 2. เพื่อการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่เจ้าของหรือผู้ดำเนินการสถานที่สถานที่สาธารณะที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ให้ดำเนินการได้อย่างถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ ๘๐ ของสถานที่สาธารณะได้รับการเผยแพร่สื่อรณรงค์การจัดเขตปลอดบุหรี่และเขตสูบบุหรี่ 315,535.00 259,935.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1057 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.3 การพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) (สสว.) กรุงเทพมหานครมีข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดประเภทกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ถูกควบคุมภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งในการประกอบกิจการแต่ละประเภทต้องจัดการสุขลักษณะสถานประกอบการให้ถูกต้อง เหมาะสม ป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้พักอาศัยใกล้เคียง ที่แตกต่างกันไปตามชนิดและประเภทกิจการ ซึ่งกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ และเป็นกิจการที่กำหนดขึ้นใหม่ มีการบริการโดยจัดส่งพนักงานไปทำงานที่บ้านของผู้รับบริการซึ่งมีความเสี่ยงทั้งในด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ เช่น ด้านอาคารสถานที่ ด้านสุขลักษณะ ด้านสภาพจิตใจ ตลอดจนความไว้วางใจของผู้รับบริการต่อพนักงาน ผู้ประกอบกิจการจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบการ ๑. เพื่อควบคุมกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ๒. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๓. เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบกิจการด้านการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ๑. จัดอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการสุขาภิบาลแก่ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ ในสถานประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ จำนวน ๒๐๐ คน เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต จำนวน ๕๐ คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน วิทยากร จำนวน ๒๐ คน รวมทั้งสิ้น ๒๗๐ คน ณ สถานที่เอกชนในกรุงเทพมหานคร แบบไป-กลับ ๑ วัน และมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ผู้ประกอบกิจการที่เข้ารับการอบรม ๒. จัดทำคู่มือเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการ เพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ จำนวน ๕๐๐ เล่ม 333,300.00 90,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1058 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะเสริมสร้างความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการให้บริการสุขภาพเชิงรุกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อจัดบริการสุขภาพให้เข้าถึงผู้ที่ขาดโอกาส ไม่เข้าถึงบริการสุขภาพและมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี และแก้ไขปัญหาเอดส์ แบบบูรณาการทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และค้นหาผู้ติดเชื้อรายใหม่ให้เข้าสู่บริการสุขภาพ 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงานเขต, ศูนย์บริการสาธารณสุขและองค์กรภาคประชาสังคม ร่วมกันจัดบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์) กิจกรรมที่ 1 ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน 68 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 80คน กิจกรรมที่ 2 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุกในกลุ่มเป้าหมายพนักงานบริการชาย-หญิงและประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิง และจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง กิจกรรมที่ 3 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมายชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิงและจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง 157,600.00 9,260.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1059 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดกรุงเทพมหานคร (สยส.) สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ขับเคลื่อนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครผ่านระบบสาสนเทศ ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า นักเรียนมีภูมิคุ้มกันปกติ จำนวน 4,534 คน ภูมิคุ้มกันต่ำ จำนวน 5,172 คน และมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 45.70 ,52.12 , 2.18 ตามลำดับ เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนปกติ และป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนกลุ่มที่ภูมิคุ้มกันต่ำ และเสี่ยง ให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้โดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดจึงจัดกิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดแก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย จึงได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 109 โรงเรียน 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1060 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สยส.) ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมและลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ ลดความเสี่ยงของการบริโภค ทั้งในมิติปริมาณ รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภค จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ พ.ศ. 2561 – 2563. โดยกำหนดให้ต้องพัฒนากลไกระบบการทำงานในระดับต่างๆ รวมถึงพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และจากแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติ ฉบับที่สอง พ.ศ.2559-2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การควบคุมยาสูบของประเทศมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น กำหนดให้พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ให้มีความรู้ สมรรถนะ และทักษะในการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 มีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมการบริโภค การผลิต และการบังคับใช้กฎหมาย โดยมีพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายทั้ง 2 ฉบับนี้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดียวกัน ดังนั้นสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความสามารถในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามกฎหมาย โดยการใช้หลักสูตรเพื่อพัฒนาศักยภาพ หน่วยปฏิบัติการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ (Alcohol and Tobacco Control Operation Unit - ATCU) ของศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหลักสูตร 2 ระดับ โดยในการจัดฝึกอบรมครั้งนี้ใช้หลักสูตรการฝึกอบรมในระดับเบื้องต้น (Basic) ส่วนในระดับสูง (Advance) จะจัดฝึกอบรมในปีต่อไป เพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ จัดฝึกอบรมและฝึกภาคปฏิบัติเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 112 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน 78 คน ดังนี้ - ประเภทวิชาการ ตำแหน่ง นักวิชาการสุขาภิบาล เจ้าพนักงานเทศกิจ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ - ประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าหน้าที่เทศกิจ ระดับปฏิบัติงาน – อาวุโส 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 15 คน 2) วิทยากร จำนวน 19 คน ๔. ลักษณะของโครงการ 604,560.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 65.00
1061 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กิจกรรมการปฏิบัติงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กคร.) ตามที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) กระจายไปยังหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร ประกอบกับเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประเมินสถานการณ์ดังกล่าวแล้วพบว่า เหตุการณ์การระบาดในครั้งนี้เป็นการระบาดที่แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว จึงประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าว เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public health emergency of international concern (PHEIC)) และต่อมากระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ลำดับที่ 14 1 เพื่อเตรียมพร้อมด้านทรัพยากร ระบบการปฏิบัติ ทั้งหน่วยปฏิบัติการหลักและหน่วยสนับสนุน ให้สามารถดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อกำหนดกรอบการปฏิบัติงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาภัย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบและบูรณาการ 3 เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบทางสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม ของประชาชนที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3,162,250.00 747,700.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
1062 1.0.4.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) (สสว.) สถิติเรื่องร้องเรียนในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปีงบประมาณ 25๖2 มีการร้องเรียน 12,791 ครั้ง โดยจำแนกเรื่องร้องเรียนมากที่สุดอันดับแรก คือ เรื่องเสียง 5,157 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36 รองลงมา คือ เรื่องกลิ่น 2,923 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 20 เมื่อพิจารณาแหล่งก่อเหตุรำคาญ พบว่าอาคารอยู่อาศัยเป็นแหล่งก่อเหตุลำดับแรก 4,941 ครั้ง รองลงมาเป็นสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ๒,862 ครั้ง เป็นประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทค คาราโอเกะ หรือตู้เพลง หรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ถูกร้องเรียนถึง 342 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเรื่องเสียงรบกวน โดยผู้รับผิดชอบในการจัดการปัญหาเหตุรำคาญคือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตพื้นที่ สาเหตุของการร้องเรียนส่วนใหญ่เกิดจากผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการประกอบการให้มีมาตรฐานความปลอดภัยและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีตามหลักเกณฑ์ที่กรุงเทพมหานครกำหนด ดังนั้น สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในฐานะหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ จึงจัดทำโครงการฯ เพื่อให้เกิดการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการและเพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง 1. เพื่อควบคุมระดับเสียงจากการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทก คาราโอเกะหรือตู้เพลงหรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ให้อยู่ในมาตรฐานที่กำหนด 2. เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครในการควบคุมระดับเสียงจากการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ รับทราบแนวทางปรับปรุงด้านสุขลักษณะให้ถูกต้อง เพื่อลดมลภาวะทางเสียง 171,400.00 13,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1063 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ กรุงเทพมหานคร มีถนน ตรอก ซอย อยู่เป็นจำนวนมาก ปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่ทางสาธารณะอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานคร ยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตทางสาธารณะ รวมทั้งการปักเขตทางสาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาถนน ตรอก ซอย สาธารณะ เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินทางสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตทางสาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 ลดข้อพิพาทเกี่ยวกับกรณีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องใช้ข้อมูลเขตทางของถนนหรือซอยสาธารณะในการพิจารณาอนุญาต 9.3 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ เขตที่มีพื้นที่ตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม (สีแดง) และถนน ซอย ที่มีความกว้าง 10 เมตร และ 12 เมตร รวมทั้งซอยที่เกิดกรณีพิพาท มีการร้องเรียนจากประชาชน จำนวน 15 เขต 25 สาย 3,000,000.00 1,202,331.00 สํานักการโยธา 2020-05-01 00:00:00 2021-04-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1064 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การรังวัดตรวจสอบแนวเขตที่สาธารณะที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น รวมทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน ที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง เป็นทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันพลเมืองมีสิทธิเข้าเกี่ยวข้องใช้สอยได้รับประโยชน์ด้วยตนเอง แต่จะใช้สอยคนเดียวมิได้ เป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่มีไว้เพื่อบริการสาธารณะ เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชน และจัดไว้เพื่อประโยชน์ของราชการ โดยกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ที่สำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่เป็นจำนวนมาก ได้แก่ ที่ชายตลิ่ง ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานครยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตที่ดินสาธารณะ รวมทั้งการปักหลักเขตที่สาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาที่ชายตลิ่ง เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตที่ชายตลิ่งที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตที่สาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตที่ดินชายตลิ่งที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยแบ่งตามพื้นที่เขต ดังนี้ 1. เขตบางพลัด เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔๕ ไร่ ๓ งาน ๒๖ ตารางวา 2. เขตบางซื่อ เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๑๐ ไร่ ๑ งาน ๓๖ ตารางวา 3. เขตดุสิต เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔ ไร่ ๒ งาน ๖๙ ตารางวา 4. เขตพระนคร เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๖ ตารางวา 350,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-08-01 00:00:00 2021-01-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
1065 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 งานปรับปรุงถนนสมานมิตรพัฒนา ช่วงจากคลองศาลเจ้า ถึงจุดที่ปรับปรุงแล้ว พื้นที่เขตบางขุนเทียน เป็นโครงข่ายถนนที่เชื่อมระหว่างถนนพระราม 2,ถนนพุทธบูชา กับถนนอนามัยงานเจริญ,ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล,ถนนเลียบทางด่วนวงแหวนด้านใต้ ซึ้งสภาพปัจจุบัน ถนนมีระดับต่ำ และไม่มีระบบท่อระบายน้ำ เมื่อฝนตกหนักจะมีน้ำท่วมขัง เป็นปัญหาต่อการจราจร ประชาชนที่สัญจรไป-มา ได้รับความสะดวกและปลอดภัยในการใช้ถนน 18,100,000.00 14,173,017.80 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1066 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี ช่วงจากแยกเตาปูน ถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางซื่อ เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานและเกิดจากการทรุดตัวขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย และก่อให้เกิดอันตรายแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา สมควรที่จะต้องดำเนินการปรับปรุงคันหินและทางเท้าให้อยู่ในสภาพดีมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา อีกทั้งจะก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสวยงามแก่กรุงเทพมหานคร 29,966,000.00 10,975,615.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1067 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนรัชดาภิเษก ช่วงจากสถานีบริการน้ำมันเชลล์ ถึงสะพานข้ามคลองน้ำแก้ว พื้นที่เขตจตุจักร เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนรัชดาภิเษก มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ ใช้งานมานาน ประกอบกับบริเวณดังกล่าวมีสถานที่ราชการ สถานศึกษา และยังเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง ทำให้ประชาชนใช้ทางเท้าในการสัญจรเป็นจำนวนมาก สมควรจำเป็นต้องปรับปรุงให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ทางเท้าได้รับความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า 29,346,000.00 26,844,623.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1068 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ข้อมูลถนนเดิม ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธ- มณฑลสาย 3 ถึงบริเวณที่กำหนดให้ ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. เหตุผลและความจำเป็น ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ 98,510,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 88.00
1069 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ ซึ่งเป็นวันที่สำคัญยิ่ง นำความปลื้มปิติยินดีมาสู่พสกนิกร หน่วยราชการ องค์กร และประชาชนทุกหมู่เหล่า ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีต่อประชาชนชาวไทยอย่างหาที่สุดมิได้ จึงได้ดำเนินการสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชาภิเษกครบรอบ 2 ปี บริเวณถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติของกรุงเทพมหานคร” เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ 9.1 ประชาชนที่เดินทางและสัญจรไปมา บังเกิดความเป็นสิริมงคลเมื่อผ่านซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ 9.2 ประชาชนได้ร่วมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 9.3 กรุงเทพมหานคร มีซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ อยู่บนถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ” 14,000,000.00 13,999,000.00 สํานักการโยธา 2019-12-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1070 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้ปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตเพียงพอ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1071 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้ปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น สามารถติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนงานที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1072 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ โดยใช้เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงต่างๆ เพื่อรองรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดการชำรุดเสียหายจากการใช้งาน การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1073 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการจ้างที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้างโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำจากบึงหนองบอนลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา (สพน.) (ต่อเนื่องปี 2558-2563) (ก.1) ด้วยกรุงเทพมหานครจะจ้างเหมาดำเนินการโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ จากบึงหนองบอนลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา และเนื่องจากโครงการก่อสร้างดังกล่าว เป็นงานเทคนิคเฉพาะด้านที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ จึงจำเป็นต้องจัดจ้างบริษัท ที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้างโครงการดังกล่าวให้เป็นไปตามแบบ รายการ สัญญา และถูกต้องตามหลักวิชาการ 5,970,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 93.00
1074 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองบางอ้อจากบริเวณถนนโรงงานไม้อัดไทยไปทางประตูระบายน้ำคลองบางอ้อ (กรบ.) (ต่อเนื่อง งบปี 2562-2564) คลองบางอ้อน้อย เป็นคลองระบายน้ำหลักในพื้นที่เขตพระโขนงง และเขตบางนา ทำหน้าที่รับน้ำจาาากคลองบางจาก บริเวณซอยสุขุมวิท 62 ถึงแยกบางนาไปที่สถานีสูบน้ำคลองบางอ้อน้อย ที่มีขนาด 18 ลบม./วินาที ก่อรระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อมีฝนตกประมาณ 30 มม./ชม. จะเกิดปัญหาน้ำท่วมบนผิวจราจรและบริเวณใกลล้เคียงเป้นประจำ ซึ่งระบบระบายน้ำเดิมไม่ามารถระบายน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักการระบายน้ำพิจารณาแล้ววเห็นว่า แนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน คือการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในคลองบางอ้อน้อย 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1075 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองทวีวัฒนาบริเวณคอขวด (สพน.) (งบ 63-64) (ก.3) หลังจากวิกฤติน้ำท่วมครั้งใหญ่ พ.ศ.2554 ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อน อาคาร บ้านเรือน เสียหายเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันตก ของแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ใต้คลองมหาสวัสดิ์จนถึงคลองภาษีเจริญ น้ำท่วมขังเป็นเวลานาน เนื่องจากปลายคลองทวีวัฒนามีลักษณะเป็นคอขวด จำเป็นต้องก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ รองรับการระบายน้ำฝนและน้ำหลากได้เป็นอย่างดี ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 60 ตร.กม. ประกอบกับอุโมงค์ระบายน้ำดังกล่าวเป็นนโยบายสำคัญของ ผว.กทม. ด้านมหานครแห่งความ ปลอดภัย เรื่องการป้องกันอุทกภัยโดยการก่อสร้างอุโมงค์ยักษ์ 6 แห่ง เพื่อแก้ไขปัญหา น้ำท่วมขังพื้นที่กรุงเทพมหานคร 11,121,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 45.00
1076 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ของสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นอย่างมาก รวมทั้งในกรุงเทพมหานครที่เป็นศูนย์กลางการดำเนินกิจกรรมของประเทศที่สำคัญและเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากและคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน กรุงเทพมหานครในฐานะเมืองมหานคร จึงต้องการขับเคลื่อนและพัฒนาเมืองกรุงเทพมหานครทุกๆ ด้าน ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริม สร้างสรรค์ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ศูนย์การเรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยมีแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และปัจจุบันอยู่ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนากรุงเทพมหานคร ก้าวขึ้นสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ในปี พ.ศ. 2575 โดยกำหนดการพัฒนาและรูปแบบการดำเนินการ การจัดการมูลฝอยไว้ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย เพื่อมุ่งหวังให้เมืองกรุงเทพมหานคร เป็นมหานครที่ปลอดมลพิษ ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด ปลอดอุบัติเหตุ ปลอดภัยพิบัติ สิ่งก่อสร้างปลอดภัย ปลอดโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตบางรัก ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการของกรุงเทพมหานครจึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาข้างต้น และเป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี และสอดรับกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2564 9.1 คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้พื้นที่เขตบางรักเป็นเขตที่น่าอยู่ มีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด สมกับเป็นเขตย่านธุรกิจของกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน 9.2 ปริมาณมูลฝอยลดลง ส่งเสริมประชาชน ชุมชน โรงเรียน ร้านค้า สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานเขตบางรัก ให้นำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ก่อนนำมาทิ้งสร้างความสกปรกและกีดขวางผิวการจราจร ตามถนนสายหลัก สายรอง ซอยต่างๆ ในพื้นที่เขตบางรัก 9.3 การจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางรักมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลดปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน 9.4 ประชาชน ร้านค้า สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานเขตบางรักเล็งเห็นความสำคัญ เกิดการมีส่วนร่วม มีจิตสำนึกตระหนักถึงปัญหาในการจัดการมูลฝอย รวมทั้งร่วมส่งเสริมพฤติกรรมการลด และคัดแยกมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรมสามารถดำเนินการด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและยั่งยืน - ดำเนินการสาธิตในชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ - ชุมชน โรงเรียน และสถานประกอบการในพื้นที่เขต สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และลดปริมาณขยะในองค์กรได้ 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1077 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา การพาณิชย์ การสื่อสาร ฯลฯ ของประเทศ การเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็วและการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการจัดการมูลฝอย ซึ่งปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้การจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครประสบความสำเร็จ จะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เป็นโครงการที่ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นจากการที่กรุงเทพมหานครต้องการให้บริการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนต่างๆ มีความทั่วถึง แม้แต่ชุมชนที่อยู่ริมแม่น้ำลำคลอง หรือตรอก ซอย ที่รถเก็บมูลฝอยเข้าไปไม่ถึง ทำให้เกิดการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ลำคลอง เกิดขยะตกค้างในชุมชุน ส่งให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร จึงจำเป็นต้องมีอาสาชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำหน้าที่ในการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ ณ จุดพักขยะ หรือจุดรวบรวมขยะ เพื่อให้รถเก็บขนมูลฝอยสามารถจัดเก็บได้ สำนักงานเขตบางรัก จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน โดยว่าจ้างอาสาสมัคร ชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อชักลากมูลฝอยจากบ้านเรือนประชาชนที่รถเก็บขนมูลฝอยเข้าไปไม่ถึงออกมาพักไว้ที่จุดรวบรวมมูลฝอย เพื่อให้จัดเก็บได้โดยสะดวก โดยกรุงเทพมหานครจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครงานบริการสาธารณะ (ชักลากมูลฝอยในชุมชน) วันละ 150 บาท จำนวน 15 วันต่อเดือน และให้การสนับสนุนงบประมาณด้านวัสดุ เพื่อซ่อมแซมหรือปรับปรุงจุดพักหรือจุดรวบรวมมูลฝอย วัสดุอุปกรณ์ในการทำความสะอาด 1 ชุมชนมีความรับผิดชอบในส่วนของการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อมชุมชน 2 การจัดเก็บมูลฝอยมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดปัญหามูลฝอยตกค้าง 3 เกิดกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชนจากความร่วมมือและร่วมใจที่ทำงานด้วยกัน 4 คู คลอง มีความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยมีสิ่งแวดล้อมที่ดี 5 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนกับหน่วยงานของรัฐ ชุมชนแออัดและชุมชนที่รถเก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าไปเก็บขนมูลฝอยได้ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 4 ชุมชน มีอาสาสมัครชักลากมูลฝอยจำนวน 7 คน ดังนี้ 1. ชุมชนซอยวัดมหาพฤฒารา จำนวน 1 คน 2. ชุมชนจอมสมบูรณ์ จำนวน 2 คน 3. ชุมชนตรอกห้านาย จำนวน 2 คน 4. ชุมชนซอยหลังวัดแก้วแจ่มฟ้า จำนวน 2 คน 204,500.00 166,568.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1078 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการติดตั้ง/และซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม ด้วยแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2564 ด้านที่ 4 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด เป้าหมายที่ 1.2.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป้าประสงค์ที่ 1.2.1.1 เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรม ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละความสำเร็จของการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 โดยให้สำนักงานเขตสำรวจจุดติดตั้งและซ่อมแซม พร้อมทั้งประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินการดังกล่าว ประชาชนได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาอาชญากรรมลดลง กรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนาให้เป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1079 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน ปัญหาด้านการจัดการมูลฝอยถือเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญในกรุงเทพมหานคร อันเนื่องมาจากความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ปัญหามูลฝอยมิใช่ปัญหาเฉพาะหน่วยงานภาครัฐเท่านั้นแต่เป็นปัญหาของประชาชนทุกคนในชุมชนในฐานะผู้ผลิตมูลฝอย ดังนั้นปัจจัยที่มีความสำคัญซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้การจัดการมูลฝอยประสบผลสำเร็จจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน การลดและแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และการสนับสนุนการนำมูลฝอยรีไซเคิลกลับมาใช้ประโยชน์ นับเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ เพื่อลดการทิ้งมูลฝอยเข้าสู่กระบวนการในการเก็บขนมูลฝอย เพื่อให้การบริการเก็บขนมูลฝอยของกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพและได้รับความร่วมมือที่ดีจากชุมชน สำนักสิ่งแวดล้อมจึงจัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน (โครงการชุมชนร่วมใจรักสะอาดเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครเดิม ได้ดำเนินงานตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๒ จนถึงปัจจุบัน) เพื่อมุ่งหวังที่จะให้การบริการจัดเก็บมูลฝอยในชุมชนต่าง ๆ มีความทั่วถึงแม้แต่ชุมชนที่อยู่ริมคลอง หรือในครอก ซอก ซอยที่รถเก็บมูลฝอยเข้าไปไม่ถึง ทำให้เกิดการทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลอง เกิดขยะตกค้างส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานครจึงจำเป็นต้องมีอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำในการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ ณ จุดพักขยะ หรือจุดรวมขยะเพื่อให้รถเก็บขนมูลฝอยสามารถจัดเก็บได้และไม่เกิดขยะตกค้างในชุมชน โดยมีสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานในการดำเนินการประสานงานและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชนในการมีส่วนร่วม ในการรักษาความสะอาด โดยว่าจ้างอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ที่พักหรือจุดรวบรวมมูลฝอย เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถจัดเก็บได้ โดยกรุงเทพมหานครจะจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครวันละ 150.-บาท เนื่องจากมีการปฏิบัติงานจำนวน 15 วันต่อเดือน และจะให้การสนับสนุนงบประมาณด้านวัสดุอุปกรณ์ในการจัดเก็บและชักลากมูลฝอย 1. ชุมชนมีการลดและคัดแยกมูลฝอย และนำกลับมาใช้ประโยชน์ 2. การเก็บขนมูลฝอยของสำนักงานเขตมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดปัญหามูลฝอยตกค้าง 3. ปริมาณมูลฝอยของชุมชนลดลง 297,000.00 289,707.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1080 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทำให้มีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามูลฝอยจากชุมชนที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการศึกษาองค์ประกอบมูลฝอยของกรุงเทพมหานครพบว่ามูลฝอยอินทรีย์มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 50 ซึ่งหากประชาชนสามารถลดและคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ที่แหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การทำปุ๋ยหมัก การผลิตน้ำหมักชีวภาพหรือน้ำยาอเนกประสงค์ ช่วยลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ ส่งผลให้กรุงเทพมหานครเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยน้อยลง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ตามหลัก 3R รวมถึงส่งเสริมการลดและคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดให้บรรลุเป้าหมาย ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการนำทรัพยากรกลับมาใช้ประโยชน์ ประหยัดงบประมาณการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 1. ประชาชนและสำนักงานเขตได้ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ หรือนำมูลฝอยเศษอาหารไปเป็นอาหารสัตว์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 3. ลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 50,000.00 49,980.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1081 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ จากรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 พบว่า ทั่วประเทศมีประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ ๑0.๗ ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครประมาณ 1.2 ล้านคน ผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญกับบุคคลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และก่อให้เกิดโรคร้ายกับผู้ที่ได้รับควันบุหรี่นั้นด้วย ประกอบกับพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 กำหนดให้มีการจำกัดวิธีการจำหน่าย กำหนดอายุผู้ซื้อ กำหนดสถานที่ห้ามจำหน่ายยาสูบ ห้ามโฆษณา และกำหนดให้มีเขตปลอดบุหรี่ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน เพื่อสร้างพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติแล้วจำนวน 6 เขต ซึ่งเป็นภารกิจภายใต้การกำกับของคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตภาษีเจริญ จึงจัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ เพื่อดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่เขตภาษีเจริญ สร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตภาษีเจริญ ซึ่งจะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมที่ปลอดภัยจากควันบุหรี่ 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปตามกฎหมาย และแผนยุทธศาสตร์ควบคุมยาสูบแห่งชาติ 2. เพื่อขยายพื้นที่การดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานตามแนวทางกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ โดยกลุ่มเป้าหมายในการอบรม ประกอบด้วย ผู้จำหน่ายยาสูบ ผู้เกี่ยวข้อง เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตภาษีเจริญ 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ชะลอ 17.00
1082 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ประเทศไทยยังประสบกับปัญหาในด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร ที่ผลิตทั้งในเรื่องการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหาร การตกค้างของสารเคมี สารปฏิชีวนะและสารพิษในพืชผักผลไม้เป็นต้น ซึ่งเป็นอันตรายสำคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตภาษีเจริญจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 ขึ้น เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย ๑. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบกิจการจำหน่ายอาหาร ๒. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหาร ๓. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร ๔. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย ๕. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชนผู้ประกอบการจำหน่ายและสะสมอาหาร และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย ๖. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ร้อยละ 100 ของสถานประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ที่กรุงเทพมหานครกำหนด (จำนวน 195 แห่ง) 81,000.00 36,050.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1083 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพหมานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัจจุบันสถานการณืการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีเด็กและเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นส่งผลกระทบต่อความสุขของประชาชนและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยภาคีทุกระดับ โดยมุ่งหมายเพื่อลดปริมาณผู้เข้าสู่การกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดและนำคนออกจากวงจรการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้เห็นอย่างชัดเจน จนสามารถควบคุมปัญหาให้อยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสังคมและประชาชนส่วนใหญ่ สำนักงานเขตหนองแขม ได้เริ่มดำนินการพัฒนาอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเพื่ิอให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินกงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชน ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตหนองแขม จึงจัดทำโครงการการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดขึ้น 1.อาสาสมัครกทม.เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพและร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด 2.มีการบูรณาการร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 175,400.00 4,900.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1084 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชน และการพัฒนาประเทศ กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในระดับรุนแรง รวมทั้งเป็นทางผ่านการนำเข้า การส่งออก และเป็นจุดพักยาเสพติด จึงจำเป็นต้องใช้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดำเนินงาน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด และมอบหมายให้ทุกหน่วยงานดำเนินการแบบบูรณาการทั้งแผนงาน งบประมาณ และการปฏิบัติการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งมีเป้าหมายในการลดระดับปัญหา ให้เห็นเป็นรูปธรรม เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่เศรษฐกิจ มีการย้ายถิ่นของแรงงานจากต่างจังหวัด และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเป็นประชากรแฝงในพื้นที่เป็นจำนวนมาก จึงยากต่อการควบคุม ดูแล ซึ่งผลการปราบปรามทั้งผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สามารถจับกุม ผู้กระทำความผิดพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ได้เป็นจำนวนมาก กรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดนโยบายเร่งด่วน ประกอบกับการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ซึ่งกำหนดมาตรการสนับสนุนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน ให้กระจายครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้เห็นความสำคัญของการดำเนินงานดังกล่าว จึงจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ขึ้น เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 3.2 เพื่อสนับสนุนการดำเนินการงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 65 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการค่าใช้จ่ายอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 42,200.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 40.00
1085 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ด้วยกรุงเทพมหานครได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งมีการดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครพบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารดีขึ้นโดยลำดับ และเพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืน และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครให้มีความต่อเนื่อง ทั้งยังส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ ได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัย ในพื้นที่ ให้ได้รับการคุ้มครองสุขภาพ จากการบริโภคอาหารปลอดภัย 3.1.1 เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐาน ด้านสุขลักษณะในสถานประกอบการอาหาร 3.1.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการอาหาร 3.1.3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจ ในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภั 3.2.1 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 95 3.2.2 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ร้อยละ 100 3.2.3 สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 71,000.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2020-10-01 00:00:00 2021-10-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1086 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 สำรอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ต่อเนื่องจากโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย เพื่อให้ หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัว และตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย จากทุกสำนักงานเขต ทั้งนี้ เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย 1. ประชาชนได้รับความคุ้มครองและเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 2. สถานที่จำหน่ายและสะสมอาหาร,ตลาดและโรงเรียน ได้รับการพัฒนาและยกระดับมาตรฐาน 3. ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ องค์กรเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชน เพื่อการพัฒนาด้านอาหารปลอดภัยอย่างยั่งยืน 4. เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 6.00
1087 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ สำนักงานเขตสาทร ตระหนักถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาและลดผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ เด็กและเยาวชน ในสถานศึกษามีความรู้และทราบถึงผลกระทบหรืออันตรายที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตลอดจนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมในพื้นที่เขตสาทรเป็นสังคมที่ปลอดจากควันบุหรี่ 1.เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามแนวทางเขตปลอดบุหรี่ 2.เด็กและเยาวชนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เด็กและเยาวชนในสถานศึกษามีความรู้และทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 17.00
1088 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ 1. สำนักงานเขตมีข้อมูลสำหรับใช้ในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ และประสานความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียอย่างใกล้ชิด 2.ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด และรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้ำ 3.กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการที่ถูกต้องและครบถ้วน สำหรับใช้ในการวางแผนจัดการคุณภาพน้ำและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีฐานข้อมูลเป็นระบบสารสนเทศ 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1089 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 อาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน 1.หลักการและเหตุผล เขตสาทรมีขนาดพื้นที่ทั้งหมด 9.326 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่เขตชั้นในที่มีประชากรประมาณ 82,096 คน ไม่รวมประชากรแฝงที่อาศัยอยู่อย่างหนาแน่น สภาพโดยทั่วไปประกอบด้วย ถนนสายหลัก จำนวน 10 สาย ถนนสายรอง จำนวน 4 สาย และถนนซอยมากถึง 256 ซอย โดยมีชุมชนทั้งสิ้น 26 ชุมชน ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 179.59 ตัน/วัน ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการจัดเก็บขยะมูลฝอย เนื่องจากรถยนต์เก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นซอยแคบ หรือชุมชนที่มีบ้านเรือนตั้งอยู่อย่างหนาแน่น ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชักลากมูลฝอยมีจำนวนน้อย เมื่อเทียบกับปริมาณมูลฝอยที่ต้องจัดเก็บในแต่ละวันทำให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่อยู่หลายครั้ง ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ได้ตระหนักถึงปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชนขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการชักลาก มูลฝอยในชุมชนของตนเอง ซึ่งเป็นชุมชนที่รถยนต์เก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าถึง 9.1 ปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่เขตสาทรลดน้อยลง 9.2 การจัดเก็บมูลฝอยของสำนักงานเขตสาทรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 9.3 ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในชุมชนของตนเอง 216,000.00 18,000.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1090 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ส่งเสริมการคัดแยกและรวบรวมมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่แหล่งกำเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ 1. หลักการและเหตุผล กรุงเทพมหานครมุ่งหวังให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจากมูลฝอยอันตราย ซึ่งอาจมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับมูลฝอยทั่วไป แต่เป็นมูลฝอยที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมอย่างมากหากมีการจัดการไม่เหมาะสมตั้งแต่ขั้นตอนการทิ้งการเก็บรวบรวมและการกำจัดที่ไม่ถูกวิธี ซึ่งมูลฝอยอันตรายที่เกิดจาก บริษัท ห้าง ร้าน สถานประกอบการ สำนักงาน ชุมชน และครัวเรือน ส่วนมากจะถูกทิ้งปะปนกับขยะทั่วไป และนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกวิธีทำให้สารพิษจากขยะพิษดังกล่าวปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ดิน แหล่งน้ำ และอากาศ ทำให้เกิดมลพิษ และส่งผลต่อสุขภาพ ซึ่งวิธีการกำจัดมูลฝอยอันตรายนั้นมีหลากหลายวิธีแต่ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดคือการทิ้ง สำนักงานเขตสาทร ได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากมูลฝอยอันตราย จึงขอความร่วมมือจาก บริษัท ห้าง ร้าน สถานประกอบการ สำนักงาน ชุมชน ครัวเรือน ช่วยกันคัดแยกขยะอันตรายก่อนทิ้ง เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ที่หมดอายุ กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสเปรย์ สีทาบ้าน หลอดไฟหมดอายุโดยเฉพาะหลอดเรืองแสงซึ่งมีการฉาบสารวาวแสง ยารักษาโรคหมดอายุ ยาทาเล็บ เป็นต้น ซึ่งสามารถทำได้ง่าย ๆ โดยนำมูลฝอยอันตรายใส่ถุงขยะให้มิดชิด และนำไปทิ้งในถังรองรับมูลฝอยประเภทมูลฝอยอันตราย เพื่อกรุงเทพมหานครจักได้นำไปทำลายอย่างถูกวิธีต่อไป ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมการคัดแยกและรวบรวมมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่แหล่งกำเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยและให้ความสำคัญของการคัดแยกมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ออกจากขยะทั่วไปและนำไปทิ้งอย่างถูกวิธี 9.1 กลุ่มเป้าหมายในทุกภาคส่วนเกิดความตระหนักและเข้าใจ พร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการ คัดแยกขยะมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น 9.2 ลดปริมาณมูลฝอยอันตรายที่ลักลอบทิ้งลงในคู คลอง ที่รกร้าง ที่ว่าง 9.3 ปริมาณมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่คัดแยกได้จากแหล่งกำเนิด เข้าสู่กระบวนการทำลายอย่างถูกวิธีเพิ่มมากขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1091 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกวดขันการจอดหรือขับขี่รถยนต์ จักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ปัจจุบันทางเท้า ในถนนต่าง ๆ ของพื้นที่เขตสาทร ได้มีประชาชนนำรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อน ขึ้นไปจอดหรือขับขี่หรือเข็นบนทางเท้าเป็นจำนวนมาก ทำให้ประชาชนผู้ใช้ทางเท้าไม่ได้รับความสะดวก และอาจได้รับอันตรายหรือทำให้ทางเท้าชำรุดเสียหาย นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยภายในพื้นที่ ประกอบกับการกระทำดังกล่าว เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 อีกด้วย ดังนั้นฝ่ายเทศกิจจึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการกวดขันผู้นำรถขึ้นจอดหรือขับขี่บนทางเท้า เพื่อดำเนินการกับผู้กระทำผิดดังกล่าว 1. ประชาชนได้รับทราบถึงข้อกฎหมายและให้ความร่วมมือไม่กระทำความผิด 2. ประชาชนผู้ใช้ทางเท้าเดินได้รับความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น 3. เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยแก่บ้านเมือง 4. เพื่อเป็นการรักษาทรัพย์สินของราชการมิให้ชำรุดเสียหาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1092 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการบูรณาการการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางความเจริญในด้านต่าง ๆ ทำให้มีการอพยพแรงงานเพิ่มมากขึ้น มีการแย่งงานกันทำ และมีอัตราว่างงานสูง ทำให้นำไปสู่ปัญหาการก่ออาชญากรรม การฉกชิงวิ่งราว การลักทรัพย์ การทำร้ายร่างกาย ซึ่งเป็นปัญหาทางสังคม ที่สำคัญที่หน่วยงานราชการจะต้องเร่งดำเนินการป้องกันและแก้ไข ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาดังกล่าว ให้ประชาชนในพื้นที่เขตสาทรมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จึงจัดทำโครงการบูรณาการการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 1. ประชาชนในพื้นที่เขตสาทร ได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. ประชาชนได้รับการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ 3. ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจ 4. สามารถสนองนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1093 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะสดที่ย่อยสลายได้ ขยะที่ยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย สำนักงานเขตบางคอแหลม โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและเศษผักผลไม้ โดยนำมาแปรสภาพให้เป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์หรือเป็นอาหารสัตว์ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและเศษผักผลไม้ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย และช่วยประหยัดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร 9.1 ประชาชนในพื้นที่เขตบางคอแหลมได้รับความรู้ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะเศษอาหาร เศษผักผลไม้ โดยนำมาทำน้ำหมักจุลินทรีย์ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก 9.2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 9.3 ช่วยลดปัญหาขยะเศษอาหารเน่าเหม็นที่สร้างความเดือดร้อนรำคาญ 9.4 ลดปริมาณขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1094 1.0.6.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย กรุงเทพมหานครมีความมุ่งหวังที่จะส่งเสริมสนับสนุน และดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนในกรุงเทพมหานครให้มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญา โดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเอง ด้วยการออกกำลังกาย ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และยังเป็นการป้องกันปัญหาสังคมด้านอื่นๆ เช่น การป้องกันปัญหายาเสพติด เป็นต้น สำนักงานเขตจอมทองได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง จึงได้จัดทำโครงการการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคและโยคะ เป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัวและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย เพื่อช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ ความเครียดจากการทำงาน ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ 9.1 เด็ก เยาวชน และประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาพจิตดี ผ่อนคลายลดความเครียดจากภาวะปัจจุบัน 9.2 เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพออกกำลังกายแอโรบิคให้กับเด็ก เยาวชน และประชาชนในลานแอโรบิคและลานกีฬา จำนวน 16 แห่ง และโยคะ 2 แห่ง แห่งละ 40 - 80 คน 1,402,200.00 522,600.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1095 1.0.6.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา ลานกีฬากรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นตามการดำเนินกิจกรรมกีฬาเพื่อคนทั้งมวล (Sport For All) โดยต้องการสร้างรากฐานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน ทำให้คนกรุงเทพมีร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีคุณธรรม โดยมุ่งหมายและยกระดับการพัฒนาการกีฬาให้สอดคล้องสัมพันธ์กับความต้องการของบุคคล ชุมชน ด้วยการจัดสรรพื้นที่ว่างเปล่าที่มิได้ใช้ประโยชน์นำมาเป็นลานกีฬา จึงได้มีการจัดตั้งลานกีฬาสำหรับประชาชนกระจายอยู่ทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นสถานที่ออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างพลานามัยทั้งด้านการร่างกายและจิตใจ ลดความตึงเครียดที่เกิดจากสภาพแวดล้อม เป็นสถานที่จัดกิจกรรมนันทนาการ จัดกิจกรรมรวมกลุ่ม อีกทั้งสร้างการมีส่วนร่วมดูแล และรับผิดชอบร่วมกันในชุมชน และยังเป็นทางเลือกแก่ประชาชนในชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม อีกทางหนึ่งด้วย เพื่อให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครทุกเพศทุกวัยมีความเท่าเทียมกันทางการกีฬา สามารถเล่นกีฬาได้อย่างปลอดภัย ประหยัดและสะดวกใกล้ที่พักอาศัย และตอบสนองต่อนโยบายของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา 9.1 เยาวชนและประชาชนจะมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง 9.2 เยาวชนและประชาชนมีการรวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ และมีการพัฒนาโดยใช้กิจกรรมการกีฬาเป็นสื่อ 9.3 เยาวชนและประชาชนมีความสามารถด้านกีฬา และมีโอกาสแสดงความสามารถด้านกีฬาอย่างเต็มที่ 9.4 เยาวชนและประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดการมั่วสุมทางอบายมุข สิ่งเสพติด 1. จ้างอาสาสมัครลานกีฬา จำนวน 7 คน เพื่อดูแลลานกีฬาในพื้นที่เขตจอมทอง จำนวน 19 แห่ง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา โดยจัดการแข่งขันแบดมินตันประเภทคู่ จำนวน 8 รุ่น 3. เพื่อคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถด้านการกีฬา มาพัฒนาทักษะและส่งเสริมการเข้าร่วมแข่งขันกีฬา 1,105,800.00 972,204.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1096 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์รวมของความเจริญในทุกด้าน ไม่ว่าด้านการปกครอง การทหาร การเศรษฐกิจและการคลัง การคมนาคมขนส่ง การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข การท่องเที่ยว จนมีผู้กล่าวว่า “กรุงเทพมหานคร คือ ประเทศไทย” ประกอบกับ มีการอพยพหลั่งไหลของประชาชนจากทั่วทุกสารทิศเข้ามาตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ หรือแสวงหาโอกาสในด้านต่างๆ จากการเป็นศูนย์รวมของความเจริญและมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นดังกล่าว กรุงเทพมหานครจึงเป็นมหานครที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาจากการก่ออาชญากรรมที่นับวันจะมีแนวโน้มทวีความรุนแรง มีความซับซ้อน และมีจำนวนสถิติการเกิดเหตุที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุข ของประชาชนและถือเป็นภัยอันรุนแรงของสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ให้บริการสาธารณะเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลให้ประชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและเป็นปกติสุข ซึ่งรวมไปถึงการดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากปัญหาอาชญากรรม โดยบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ในการป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ การดูแลและปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม การดูแลและติดตั้งอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยต่างๆ รวมไปถึงการจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราความเรียบร้อยของพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีความล่อแหลมหรือมีสถิติการเกิดอาชญากรรมบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการป้องปราม และตัดโอกาสหรือลดช่องทางในการก่ออาชญากรรม ทั้งนี้ โดยการบูรณาการประสานความร่วมมือกันระหว่างสำนักงานเขตสวนหลวง และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 9.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในพื้นที่เขตสวนหลวง 9.2 ประชาชนมีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต 9.3 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงานสำนักงานเขตสวนหลวงและองค์กรกรุงเทพมหานคร รวมถึงสร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกที่ดีระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตสวนหลวง จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงวันละ 3 ครั้ง/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1097 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ทำให้ มีประชากรจากต่างถิ่นต่างพื้นที่เข้ามาพักอาศัยและประกอบอาชีพกันอย่างหนาแน่น จึงส่งผลให้มีปริมาณ มูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันมีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้ประมาณ 10,500 ตัน/วัน ซึ่งหากไม่มีมาตรการจัดการที่ดีก็จะส่งผลให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทำให้เกิดมลภาวะเป็นพิษได้ และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการลดปริมาณมูลฝอยการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดและเห็นความสำคัญของ การนำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ขยะสดที่ย่อยสลายได้ เช่น ขยะเศษอาหารจากครัวเรือน เศษผัก เปลือกผลไม้ ฯลฯ 2. ขยะยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ ขวดพลาสติก แก้ว ฯลฯ 3. ขยะอันตราย เป็นขยะที่ก่อให้เกิดสารพิษและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสีสเปรย์ ฯลฯ 9.1 ประชาชนมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในการลดปริมาณมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 9.2 ปุ๋ยน้ำชีวภาพที่หมักได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบำรุงรักษาต้นไม้หรือใช้เป็นสารที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพดินซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อม 9.3 ลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอย 9.4 กลุ่มเป้าหมายจะตระหนักถึงการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 3.1 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 แห่ง - โรงเรียนวัดใต้ - โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ - โรงเรียนวัดปากบ่อ - โรงเรียนสุเหร่าใหม่ - โรงเรียนหัวหมาก - โรงเรียนคลองกลันตัน - โรงเรียนวัดทองใน - โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ 3.2 สถาบันการศึกษา จำนวน 1 แห่ง - สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น 3.3 โรงเรียนเอกชน จำนวน 2 แห่ง - โรงเรียนมูลนิธิวัดปากบ่อ - โรงเรียนวัดมหาบุศย์ 3.4 ชุมชนในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง - ชุมชนสวนหลวงก้าวหน้า - ชุมชนมิตรไมตรี - ชุมชนธรรมานุรักษ์ - ชุมชนริมคลองหัวหมากใหญ๋ 3.5 ตลาด จำนวน 1 แห่ง - ตลาดเอี่ยมสมบัติ 3.6 ประชาชนผู้สนใจทั่วไป 50,000.00 100,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1098 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการตรวจสอบ ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข รวมทั้งดูแลสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครปลอดภัย” ทำให้ประชาชน ผู้อยู่อาศัยและผู้มาเยือนมีความสุข ความปลอดภัยจากการรับประทานอาหารและได้รับบริการที่ดี สำนักงาน เขตสวนหลวงได้เห็นความสำคัญด้านการสุขาภิบาลอาหาร จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น เพื่อพัฒนายกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหารให้ได้มาตรฐาน อาหารไม่มีการปนเปื้อน รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวรวมทั้งผู้เข้ามาพักอาศัย เป็นการคุ้มครองความปลอดภัยในด้านอาหารให้กับผู้บริโภค 2.1 เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.2 เพื่อตรวจสอบ และเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3.1 ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตสวนหลวง ปฏิบัติตามเกณฑ์ด้าน-สุขลักษณะของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 3.2 สุ่มตรวจและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารที่จำหน่าย ณ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ทในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหาร ที่ได้รับการ สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย และไม่พบเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร 94,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1099 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนา กรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด และปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนันสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยื่น 1 บ้านเรือน ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่-เขตสวนหลวง ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อเหตุรำคาญหรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน และสิ่งแวดล้อม 2 หน่วยงาน สถานประกอบการ และประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ-ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ๓.1 มีการดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เหตุร้องเรียน การควบคุมป้องกันโรค และการประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในบ้านเรือน ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 48 ครั้ง โดยมีขอบเขตและเป้าหมายการดำเนินงาน ดังนี้ ๓.๑.1 การตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดังรบกวน กลิ่นเหม็น การเลี้ยงและปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล ๓.๑.2 การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการ-ทำงานของสถานประกอบการที่ประกอบการ แรงงานนอกระบบหรือแรงงานในชุมชนในช่วงนอกเวลาราชการ ๓.๑.3 ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการ-คุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร ๓.๑.4 ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาด-ของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ และตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๓.๑.5 ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค ในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๓.๑.๖ ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัด-มลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่-ได้รับมอบหมาย 3.1.7 ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ๓.2 ดำเนินการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน 35 ครั้ง 165,100.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1100 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบความสงบสุขของประชาชน และเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยงานภาคีทุกระดับ สถานการณ์การค้าและการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครในปัจจุบันพบว่า ยังมีการจับกุมผู้ต้องหาคดีค้ายาเสพติดมีปริมาณสูงต่อเนื่อง รวมทั้งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าเด็ก เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ควรได้รับการส่งเสริมภูมิคุ้มกันจากครอบครัวและชุมชน ประกอบกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ ได้มีคำสั่งที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2558 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานกรรมการบริหาร มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมายในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สั่งการ มอบหมายให้หน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการบูรณาการทั้งแผนงาน งบประมาณ และการปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติดเป้าประสงค์ที่ 1.2.2.1 เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด และแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556 – 2575) มีเป้าหมายในการจัดตั้งอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในปี 2561 – 2565 ไม่น้อยกว่า 16,432 คน สำนักงานเขตสวนหลวง ในฐานะศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขต (ศป.ปส.เขต) ซึ่งทำหน้าที่อำนวยการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตสวนหลวง ได้ตระหนักว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนโดยเฉพาะประชาชนหรือผู้นำชุมชนที่มีจิตอาสาในการช่วยเฝ้าระวัง ตามมาตรการที่กำหนดและเพื่อให้การดำเนินการในการจัดทำกิจกรรมพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตสวนหลวง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีแนวทางที่ชัดเจน จึงได้จัดทำโครงการเริ่มดำเนินการพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชน สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้ดำเนินงานโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตสวนหลวง ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น 9.1 อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เห็นความสำคัญและเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนมากขึ้น 9.2 การอำนวยการด้านการกำกับ ติดตามการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจะช่วยขับเคลื่อนงานในพื้นที่เขตให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด จำนวน 2 ครั้ง 78,200.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 30.00
1101 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด -ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชนและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยงานภาคีในทุกระดับ สถานการณ์การค้าและการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครในปัจจุบันพบว่ายังมีการจับกุมผู้ต้องคดีค้ายาเสพติดที่สำคัญและปริมาณของกลางที่ยึดได้ยังมีปริมาณสูงต่อเนื่อง รวมทั้งในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมาผู้เข้ารับการบำบัดรักษาการติดยาและสารเสพติดเป็นเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี ซึ่งเป็นอนาคตของชาติ จึงมีความจำเป็นที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเมื่อกลับสู่ชุมชน เพื่อลดโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดซ้ำ ส่วนเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดควรได้รับการส่งเสริมภูมิคุ้มกันจากครอบครัวและชุมชน ประกอบกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ ได้มีคำสั่งที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธาน กรรมการบริหารมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมายในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สั่งการ มอบหมายให้หน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการบูรณาการ ทั้งแผนงาน งบประมาณและการปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและ ยาเสพติด เป้าประสงค์ที่ 1.2.2.1 เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด และแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556 – 2575) มีเป้าหมายในการจัดตั้งอาสาสมัคร เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในปี 2561 – 2565 ไม่น้อยกว่า 16,432 คน กรุงเทพมหานครเริ่มจัดตั้งอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดตั้งแต่ปี 2557 โดยมีภารกิจเฝ้าระวังภัยต่าง ๆ ในชุมชน เฝ้าระวังและป้องกันอาชญากรรมและการแพร่ระบาดของ ยาเสพติดในชุมชน และสถานศึกษารอบชุมชน ค้นหาและชักจูงผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้เข้ารับการบำบัดรักษาในระบบสมัครใจ ติดตาม ดูแล และช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษา ติดตามข้อมูลข่าวสารที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐและแจ้งเหตุต่างๆ ไปยังผู้ประสานงานของสำนักงานเขต และให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ทั้งนี้อาสาสมัครฯ ถือเป็นเครือข่ายภาคประชาชนที่สำคัญในการเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตหลักสี่ มีอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพแล้ว จำนวน 432 คน มีศูนย์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน เขตหลักสี่ จำนวน 11 ศูนย์ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและ ยาเสพติด เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันยาเสพติดและเฝ้าระวังภัยในชุมชน รวมทั้งเพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านปลอดภัย (COMMUNITY) : ชีวิตปลอดภัย ทรัพย์สินปลอดภัย ชุมชนและสังคมปลอดภัย สำนักงานเขตหลักสี่ จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตหลักสี่ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตหลักสี่ 2.เพื่อเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังอาชญากรรมและยาเสพติด 3.เพื่อติดตามสถานการณ์ภัยและยาเสพติดในชุมชน และให้อาสาสมัครฯ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 2. อาสาสมัครฯ จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตหลักสี่ 115,500.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1102 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) ปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังคงประสบปัญหาขาดแคลนกำลังสนับสนุนในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ในการเป็นหน่วยสนับสนุนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทำให้เมื่อมีสาธารณภัยเกิดขึ้น จึงเกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก สำนักงานเขตหลักสี่ เป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภารกิจในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยในปัจจุบันพื้นที่เขตหลักสี่มีอาคารบ้านเรือน สถานที่ราชการ สถานประกอบการ เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้และประสบการณ์ในการป้องกันภัยและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ ประกอบกับกำลังเจ้าหน้าที่ของรัฐยังมีไม่เพียงพอ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือและสนับสนุนภารกิจในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงจำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนให้มีเพิ่มมากขึ้น โดยฝึกฝนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงจัดตั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเพิ่มขึ้น จึงจัดให้มีโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 ขึ้น 1.เพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนสมาชิกและจัดตั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 2.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในพื้นที่เขตมีความรู้ ความเข้าใจในกิจการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน รวมทั้งให้ความรู้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นโดยสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างปลอดภัยและถูกต้องตามหลักวิชาการ 3.เพื่อเป็นกำลังสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4.เพื่อสร้างกลุ่มพลังมวลชนด้านการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของสำนักงานเขตหลักสี่ 5.เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 1.เป้าหมายด้านปริมาณ โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 ได้กำหนดจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการฝึกอบรมจำนวน 10 คน โดยทำการฝึกอบรมแบบไป – กลับ เป็นเวลา 5 วัน 2.เป้าหมายด้านคุณภาพ ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 จะเป็น ผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในกิจการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และมีความรู้ในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยสามารถปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐได้เป็นอย่างดี 64,100.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1103 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) เพื่อให้สมาชิก อปพร.เขตหลักสี่ที่ได้รับการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลักได้มีโอกาสได้ทบทวนและเพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเป็นการพัฒนาบุคลากรในด้านอาสาสมัครช่วยเหลืองานด้านบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งสอดคล้องกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-พ.ศ.2575) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 มิติที่ 1.4 ปลอดภัยพิบัติ สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้จัดให้มีโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรทบทวน ปีงบประมาณ 2564 1.เพื่อให้การดำเนินงานของอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เป็นระบบและเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความชำนาญ และทักษะให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือนมีความพร้อม ความมั่นใจในการปฏิบัติงาน 4.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ รวมถึงการได้เพิ่มพูนความรู้และวิทยาการใหม่ ๆ ในการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5.เพื่อให้สมาชิก อปพร. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมส่วนรวมและประเทศชาติ สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในพื้นที่เขตหลักสี่ที่เคยผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรหลักมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี โดยกำหนดผู้เข้าฝึกอบรม จำนวน 50 คน วิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการ จำนวน 10 คน 41,500.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1104 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครอย่างสูงสุด สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย และเป็นไปตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านมหานครความปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมายจากทุกสำนักงานเขต ทั้งนี้เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย 1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 4. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 1. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20 75,000.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1105 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่ง สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย สำนักงานเขตหลักสี่ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการและควบคุมปัจจัยหรือสภาวะแวดล้อมที่เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะกับการดำรงชีพของประชาชนกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวรวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 1. การตรวจสอบแก้ไขปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน 2. การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการที่ประกอบการ 3. การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค และตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น การดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ หมายถึง การดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน 48 ครั้ง การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 หมายถึง การดำเนินงานโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง จำนวน 35 ครั้ง จำนวนครั้งของการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ และการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 83 ครั้ง 165,100.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1106 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ด้วยกรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะ เป็นจำนวนมากที่ต้องนำไปกำจัดถึง 10,000 ตัน/วัน และเป็นมูลฝอยประเภทอินทรีย์สารเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่สูงถึงประมาณร้อยละ 50 ซึ่งขยะอินทรีย์เหล่านี้ หากมีการคัดแยกเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ นำมาหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพจากแหล่งกำเนิดจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยและลดค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยและเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดอีกทั้งสามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชน ดังนั้น สำนักงานเขตหลักสี่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำมาใช้ประโยชน์โดยการนำมูลฝอยหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งการนำมูลฝอยเศษอาหารมาทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) ไปใช้ประโยชน์ ทำให้ปริมาณมูลฝอยเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลายลดลง เป็นการประหยัดงบประมาณและพลังงานของชาติ 1. เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้และไม้ใบหญ้า โดยนำมาทำเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) นำมาใช้ประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด 3. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ในการคะดอยดขยะอินทรีย์ 4. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยที่สำนักงานเขตหลักสี่ ต้องจัดเก็บและนำไปทำลาย 1. กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมให้มีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้กระโยชน์ด้วยการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) ให้กับชุมชน วัด หน่วยราชการ สถานศึกษา สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจในพื้นที่เขตและกระชาชนทั่วไป 2. กิจกรรมเทน้ำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ลงในคลองพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อบำบัดน้ำเสีย 50,000.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1107 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการนำกิ่งไม้ใบไม้นำกลับไปใช้ประโยชน์ ปัจจุบันปริมาณมูลฝอยที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บจากบ้านเรือนประชาชน ร้านอาหาร โรงเรียน เป็นต้น มูลฝอยบางส่วนเกิดจากการตัดแต่งกิ่งไม้ในบ้านเรือนประชาชนและพื้นที่เขต นำไปทิ้งกับมูลฝอยทั่วไป และส่งเข้าศูนย์กำจัดมูลฝอยกรุงเทพมหานคร จึงทำให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่ม สำนักงานเขตหลักสี่ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่เขต เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอีกทาดงหนึ่งและสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ 1. ลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดก๊าชมีเทนในบ่อฝังกลบส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน 2. ลดปริมาณมูลฝอยโดยการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ออกจากมูลฝอยทั่วไปที่ต้องส่งไปกำจัดและนำไปทำปุ๋ยหมักตามกระบวนการ 3. เพื่อมีปุ๋ยหมักไว้ใช้ในพื้นที่เขต เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยและประหยัดงบประมาณในการบริหารจัดการ ลดปริมาณมูลฝอยประเภทกิ่งไม้ใบไม้ โดยการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อมต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อนพมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1108 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว กรุงเทพมหานครมีพื้นที่สีเขียวและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เฉลี่ยในปี 2561 จำนวน 6.58 ตร.ม. ต่อประชากร 1 คน ซึ่งเมื่อเทียบกับเป้าหมายตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานคร ตั้งเป้าหมายไว้ในปี 2575 ที่จำนวน 9 ตร.ม. ต่อประชากร 1 คน ซึ่งจำเป็นต้องหาเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น โดยกำหนดเป็นยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินการ สำนักงานเขตตลิ่งชัน เป็นพื้นที่รอบนอกของกรุงเทพมหานคร เดิมพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ต่อมาเมื่อมีการขยายตัวของเมือง มีถนนสายหลักเกิดใหม่ ตัดผ่านพื้นที่เขตหลายสาย และมีการปรับปรุงก่อสร้างพร้อมขยายขนาดของถนนสายรองอีก ทำให้พื้นที่สีเขียวเดิมลดลง พื้นที่เกษตรกรรมเดิมแปรสภาพเป็นที่อยู่อาศัย สถานประกอบการประเภทร้านค้า ร้านอาหาร ฯลฯ ตามการขยายตัวของเมือง และอัตราเพิ่มขึ้นของประชากรที่เข้ามาอาศัยในพื้นที่เขตตลิ่งชันที่สูงขึ้น ซึ่งในอนาคตจะทำให้มีพื้นที่สีเขียวลดน้อยลง พื้นที่เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจสำหรับให้ประชาชนลดน้อยลง และไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ สำนักงานเขตตลิ่งชันได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการจัดหาพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันจำเป็นต้องรักษาสภาพสวนสาธารณะ สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวตามสภาพที่ต่างที่มีอยู่เดิม ให้คงสภาพที่สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และเพียงพอต่อความต้องการใช้ประโยชน์ของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว อย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อมุ่งหวังให้เขตตลิ่งชันเป็นเมืองสีเขียวของกรุงเทพมหานคร สนองตอบการเป็นมหานครสีเขียว ตามยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้อย่างยั่งยืนต่อไป 1. พื้นที่เขตตลิ่งชันมีทัศนียภาพสวยงาม ร่มรื่น มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้เขตตลิ่งชันและกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามเป้าหมายตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 3. ประชาชนมีพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและออกกำลังกาย เป้าหมาย : 1.ปรับปรุงพื้นที่ใต้สะพานข้ามคลองบางขุนศรี ขนาดพื้นที่ 4,480 ตารางเมตร 2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนพุทธมณฑลสาย 1 ช่วงข้ามถนนบรมราชชนนีทั้งสองด้าน (4 แปลง) และ ปรับปรุงภูมิทัศน์เกาะกลางจากถนนเลียบทางรถไฟ-แยกไฟแดง สวนผัก พื้นที่ 4,806 ตารางเมตร 1,166,000.00 663,263.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1109 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติที่นำผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัดทำระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชให้แพร่หลาย ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยที่ทรงเริ่มงานพัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา โดยมีพระราชดำริให้ดำเนินการรวบรวมรักษาพันธุ์พืชต่างๆ ที่หายากและกำลังจะหมดไป ต่อมาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสานพระราชปณิธาน โดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่ผ่านมาถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่างๆ ร่วมสนองพระราชดำริเป็นจำนวนมาก มีการขยายพื้นที่และกิจกรรมของโครงการไปสู่ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งมีแนวทางการดำเนินงานที่หลากหลายมากขึ้น บรรลุผลและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ สำนักงานเขตจอมทองได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 โดยได้จัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืชและใช้ประโยชน์ทางการศึกษาพันธุกรรม ให้แก่ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ รวมทั้งดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น และได้จัดทำโครงการศูนย์อนุรักษ์พันธูกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง และสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ให้คงอยู่สืบไป 9.1 มีพันธุ์พืชหายากควรค่าแก่การอนุรักษ์ จัดเก็บ จัดแสดง ขยายพันธุ์ในรูปแบบต่างๆ 9.2 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืช และทรัพยากรท้องถิ่นให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 9.3 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองมีข้อมูลและฐานข้อมูลพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชกรุงเทพมหานคร ฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดแสดงในรูปแบบต่างๆ และสามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ได้อย่างกว้างขวาง 1. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ.เขตจอมทอง และคณะอนุกรรมการศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นเขตจอมทอง 2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง 40,000.00 40,000.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1110 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม ตามแผนที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1111 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 สำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารบ้านเรือนและสถานประกอบการ แนวทางลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 9.1 สำนักงานเขตมีข้อมูลสำหรับใช้ในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ และประสานความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียอย่างใกล้ชิด 9.2 ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด และรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้ำ 9.3 กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการที่ถูกต้องและครบถ้วน สำหรับใช้ในการวางแผนจัดการคุณภาพน้ำและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูล 2 ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและ การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1112 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องจากคลองเปรมประชากรอยู่ในพื้นที่เขตหลักสี่ จึงต้องมีการบริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ซ่อมแซมสะพานข้ามคลองให้พร้อมใช้งาน พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ คลองในพื้นที่เขตหลักสี่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1113 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศ และเป็นศูนย์กลางในการปกครอง จึงเป็นแหล่งที่ประชาชนจากทั่วทุกภาคส่วนของประเทศต่างเข้ามาประกอบอาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร ทำให้ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสังคม ด้านคุณภาพชีวิต และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งในปัจจุบันเต็มไปด้วยมลภาวะต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมลพิษทางอากาศ ซึ่งต้นเหตุของปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมนั้น จะทวีความรุนแรงมากขึ้นจะส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยรวม เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ เพิ่มพื้นที่สีเขียวและร่วมแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตหลักสี่ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงกำหนดดำเนินการโครงการค่าใช้จา่ยในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ด้วยการปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองให้ดีขึ้นด้วยการปรับปรุงสวนหย่อม ให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มประโยชน์การใช้สอยของพื้นที่ให้เกิดความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ตอบสนองนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการที่จะพัฒนาสภาวะแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมในเขตกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว 2. เพื่อลดปัญหาโลกร้อน 3. เพื่อเพิ่มสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ให้ความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียง 4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐกับประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5. เพื่อเป็นการเสริมสร้างทัศนียภาพในอาคารบ้านเรือนและกรุงเทพมกานคร 6. เพื่อช่วยลดปัญหาและพัฒนาสภาวะแวดล้อมให้อยู่สภาพที่ดีตลอดไป เพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ ปลูกต้นไม้เพิ่มบริเวณที่ถนนกำแพงเพชร 6 ตั้งแต่ปากซอยวิภาวดีรังสิต 27 ถึงหน้าสถานีตำรวจทุ่งสองห้องและปลูกต้นไม้เพิ่มบริเวณสวนสาธารณะการเคหะท่าทราย 1,166,000.00 1,130,600.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1114 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 7.1 โครงการพัฒนาเยาวชนกรุงเทพมหานครร่วมกับเมืองพี่เมืองน้อง กรุงเทพมหานครในฐานะเมืองหลวงของประเทศและเป็นศูนย์กลางของการเจริญเติบโต ในทุกด้าน รวมทั้งศูนย์กลางของประเทศไทยในการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ โดยเฉพาะในระดับเมือง กรุงเทพมหานครได้สถาปนาความสัมพันธ์เป็นเมืองพี่เมืองน้อง และมีความสัมพันธ์ตามกรอบบันทึกความร่วมมือกับเมืองใหญ่ต่าง ๆ รวมทั้งเมืองที่มีความสัมพันธ์และความร่วมมือใกล้ชิด ซึ่งที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้ดำเนินงานตามกรอบความสัมพันธ์ อันมีส่วนช่วยผลักดันให้เกิดการพัฒนาการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานครในรูปแบบต่าง ๆ และมีส่วนช่วยส่งเสริมกิจกรรมในภาพรวมของประชาชนในแต่ละเมือง ส่งผลให้มีความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างความเข้าใจระหว่างเมืองมากยิ่งขึ้น โครงการพัฒนาเยาวชนกรุงเทพมหานครร่วมกับเมืองพี่เมืองน้อง เป็นอีกหนึ่งโครงการความร่วมมือที่มีความสำคัญในการเปิดโอกาสให้กับเยาวชนกรุงเทพมหานครได้มีประสบการณ์การเรียนรู้กับเยาวชนในต่างประเทศผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อศึกษาและสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันทั้งในเรื่องการศึกษา สังคม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และศิลปวัฒนธรรม โดยคาดว่าจะมีเมืองที่ให้ความร่วมมือจัดกิจกรรมเชิญเยาวชนกรุงเทพมหานครเดินทางเยือนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 9 เมือง ได้แก่ กรุงปักกิ่ง นครเซี่ยงไฮ้ เมืองต้าเหลียน เมืองเฉิงตู กรุงโซล เมืองแตกู เมืองปูซาน จังหวัดฟูกูโอกะ และจังหวัดไอจิ และเมืองอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์แบบเมืองพี่เมืองน้อง นอกจากนี้มีเมืองที่เชิญเยาวชนกรุงเทพมหานครเข้าร่วมในด้านการแสดงดนตรีและศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ นครเฉิงตู เมืองปูซาน และกรุงโซล และอาจเป็นไปได้ว่าจะมีเมืองที่ประสงค์เชิญและแสวงหาความร่วมมือด้านพัฒนาเยาวชนกับกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้นอีก เช่น กรุงมอสโก เป็นต้น กรุงเทพมหานครจะได้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมจากความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีในระดับประชาชน โดยเฉพาะเยาวชนกรุงเทพมหานครร่วมกับเมืองพี่เมืองน้องและเมืองฉันมิตรที่ได้ลงนามกันไว้ ซึ่งเยาวชนกรุงเทพมหานครจะได้รับการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ เพื่อนำมาพัฒนามหานครกรุงเทพได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในอนาคต รวมทั้งเป็นการส่งเสริมพัฒนางานด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร และเป็นการดำเนินโครงการและกิจกรรมที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2564 ให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผล สำนักงานการต่างประเทศ สำนักปลัดกรุงเทพมหานครดำเนินการนำคณะเยาวชนกรุงเทพมหานครและเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครเดินทางเยือนเมืองพี่เมืองน้องที่มีการเชิญร่วมจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเยาวชนตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เช่น กรุงปักกิ่ง นครเซี่ยงไฮ้ เมืองต้าเหลียน เมืองเฉิงตู กรุงโซล เมืองแตกู เมืองปูซาน จังหวัดฟูกูโอกะ จังหวัดไอจิ และเมืองอื่นๆ เป็นต้น 1,607,500.00 5,804.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1115 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว (สพธ.) จากการเข้าสู่สังคมสูงวัย ประกอบกับสถิติคนพิการ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ยังเข้าไม่ถึงบริการและฟื้นฟูสภาพมีจำนวนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องได้รับสวัสดิการสังคมตามสิทธิพื้นฐาน โดยมีการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวสามารถดำรงชีวิตได้อย่างเป็นปกติและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาและป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนหรือรุนแรง จึงมีการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย สอดคล้องกับความต้องการและจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายที่มีความแตกต่างกัน 1. เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้แก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว 2. เพื่อให้การสงเคราะห์คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ประสบปัญหา และมีความต้องการจำเป็น 3. เพื่อประชุมชี้แจงผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุในการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกวิธี 1. จัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ สำหรับคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 660 คน 2. จัดประชุมชี้แจงผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในการฟื้นฟูสุขภาพในการใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว นักพัฒนาสังคม สำนักงานเขต นักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 300 คน 1,826,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1116 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการจัดเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการร์ครอบครัวในปัจจุบัน (สพธ.) สถานการณ์ด้านประชากรของประเทศไทย เข้าสู่การเป็น “สังคมสูงวัย (Aging Society) ทำให้ช่วงวัยทำงาน ต้องทำหน้าที่ในการดูแลกลุ่มประชากรวัยพึ่งพิง ทั้ง เด็ก เยาวชน และผู้สูงอายุที่ไม่สามารถดูแลตนเอง เมื่อวัยทำงานต้องแบกรับภาระการดูแลผู้สูงอายุในสัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น ย่อมส่งผลต่อคุณภาพที่ลดน้อยลงในการเลี้ยงดูเด็กและเยาวชน ทำให้ครอบครัวจำนวนหนึ่งมีความเปราะบางมากขึ้น เช่น ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุเลี้ยงดูเด็กตามลำพัง ครอบครัวที่มีเฉพาะเด็กอยู่ตามลำพัง ครอบครัวที่ต้องดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วยหรือพิการ สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ต้องขัง หรือครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว เป็นต้น ทำให้เกิดช่องว่างความเข้าใจในปัญหาเด็กและเยาวชน รวมถึงพ่อแม่ขาดทักษะและความรู้ในการเลี้ยงลูก มีส่วนผลักดันให้เด็กเข้าสู่ความเสี่ยงจากภัยทางสังคม ทั้งในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม การถูกทอดทิ้ง ฯลฯ สมาชิกในครอบครัวขาดภูมิคุ้มกันต่อปัญหาสังคมอื่น ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการงานระหว่างส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยที่มีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน เฝ้าระวัง รักษา และบำบัดฟื้นฟู รวมถึงการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้แทนองค์กรภาคเอกชนและภาคประชาชน ในการร่วมกันกำหนดรูปแบบการดำเนินงานให้สอดคล้องในทุกมิติด้านครอบครัวและเป็นไปในทิศทางเพื่อให้ผู้เข้าร่วมเสวนาฯ ได้รับทราบนโยบายการดำเนินงาน กรอบแนวทางการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพครอบครัวของสำนักอนามัยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 1. แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และแนวทางการดำเนินงานที่ช่วยให้ครอบครัวที่มีคุณภาพในสถานการณ์ปัจจุบัน 2. เพื่อกำหนดมาตรการและแนวทางการปฏิบัติงานกับครอบครัวตามประเด็นปัญหาทางสังคมในมิติสุขภาพครอบครัวของสำนักอนามัย ผู้เข้าร่วมงานเสวนาฯ ประกอบด้วย บุคลากรส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัยที่จัดบริการมิติสุขภาพครอบครัวองค์กรภาคเอกชนที่ดำเนินงานด้านครอบครัวในกรุงเทพมหานคร องค์กรชุมชนหรือผู้แทนภาคประชาชนกลุ่มเขตพื้นที่ 6 กลุ่มเขตๆ ละ 5 คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสำนักอนามัย (ระดับบริหารต้น - อำนวยการสูง) และเจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวนรวมทั้งสิ้น 120 คน 194,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 33.00
1117 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (สพธ.) สำนักอนามัย ได้ดำเนินการพัฒนาระบบบริการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปี 2559 ด้วยการจัดตั้งศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข (Primary Front Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง โดยภารกิจของกลไกดำเนินงานดังกล่าว ได้แก่ การคัดกรอง การป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ถูกกระทำหรือผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในรูปแบบทีมสหวิชาชีพ โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการให้ความช่วยเหลือ ได้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวให้ได้รับการบำบัดฟื้นฟูสภาพ รวมถึงการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในชุมชน เพื่อเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรงในครอบครัว นอกเหนือจากการดำเนินงานผ่านศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข (Primary Front Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุขแล้ว ยังมีภาคีเครือข่ายการดำเนินงานในพื้นที่ของศูนย์บริการสาธารณสุขแต่ละแห่ง อาทิเช่น สำนักงานเขต โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีตำรวจ องค์กรภาคเอกชน และภาคประชาชนในพื้นที่ ในการป้องกันและช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบางต่างๆ ไม่ให้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงด้วย 1. เพื่อให้เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบางที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือและ/หรือส่งต่อไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อป้องกันผู้ที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวไม่ให้ถูกกระทำซ้ำ ให้ความช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง ที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือและ/หรือส่งต่อไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยนักสังคมสงเคราะห์และทีมสหวิชาชีพของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1118 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก กองเทคโนโลยีการศึกษา ได้จัดทำโครงการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อเป็นการศึกษาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และส่งเสริมให้นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 1. เพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลมัลติมีเดีย สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เป็นวิชาหลัก จำนวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ตามศักยภาพของตนเองได้ 3. เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ใช้ประกอบการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เป็นวิชาหลัก สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ด้านปริมาณ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลมัลติมีเดีย ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เป็นวิชาหลัก จำนวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวน 10 เรื่อง 2. ด้านคุณภาพ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่ผลิตขึ้นมีเนื้อหาตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้มาตรฐาน มีความทันสมัย มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ นักเรียนสามารถนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 3,500,000.00 3,500,000.00 สำนักการศึกษา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1119 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมโดยหุ่นยนต์ สำนักการศึกษา ได้ดำเนินโครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมโดยหุ่นยนต์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ทำงานเป็นทีม พัฒนาสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี ผ่านสื่ออุปกรณ์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ ทั้งนี้ ได้ร่วมศึกษากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อการขับเคลื่อนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ กำหนดแนวทางพิจารณาเลือกสื่อที่เหมาะสม และสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถจัดการเรียนรู้ ที่ช่วยให้นักเรียนเห็นภาพและเข้าใจกระบวนการการคิดอย่างเป็นระบบได้อย่างมีคุณภาพ สามารถนำความรู้เลือกใช้เทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในการสร้างนวัตกรรมในอนาคต ส่งผลให้เกิดการยกระดับพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพต่อไป 1. เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ทำงานเป็นทีม พัฒนาสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี ผ่านสื่ออุปกรณ์หุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ 2. เพื่อส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 1. ด้านปริมาณ โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษา 109 โรงเรียน มีชุดสื่อการเรียนรู้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมโดยหุ่นยนต์ รวมจำนวน 766 ชุด โดยจำแนกเป็น โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 9 โรงเรียนๆ ละ 4 ชุด โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 35 โรงเรียนๆ ละ 6 ชุด โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 65 โรงเรียนๆ ละ 8 ชุด 2. ด้านคุณภาพ 2.1 นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีการเรียนรู้ด้วยสื่อเทคโนโลยีหุ่นยนต์ สามารถพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ทำงานเป็นทีม พัฒนาสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี สร้างนวัตกรรม ได้อย่างมีคุณภาพ 2.2 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ 10,402,300.00 10,360,000.00 สำนักการศึกษา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1120 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการให้คำปรึกษาแนะนำอาคารสำนักงานเขตและอาคารศูนย์บริการสาธารณสุขของกรุงเทพมหานครให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ ตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 (Universal Design) สำนักการโยธามีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบและตระหนักถึงความสำคัญของสภาวะการของประชากรต่อการให้บริการของสถานที่ที่ให้บริการของหน่วยงาน/สถานที่ราชการของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถรองรับการให้บริการกับกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย รวมถึงผู้สูงอายุและคนพิการที่มีแนวโน้มที่จะเข้ามาใช้บริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร โดยจำเป็นที่จะต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน ให้สอดรับกับแนวโน้มของผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังกล่าวในอนาคต ๑. อาคารสถานที่ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร มีสาธารณูปโภคสำหรับผู้สูงอายุและ คนพิการ ที่มีมาตรฐานและเป็นไปตามหลักสากล ๒. ประชาชนได้รับความสะดวก ๓. ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการรับบริการ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1121 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานครมีนโยบายส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตและเรียนรู้วิทยาการด้านต่างๆ ที่ทันสมัย ขยายการบริการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ห้องสมุดเคลื่อนที่ บ้านหนังสือ เพื่อสนับสนุนโครงการรณรงค์ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการอ่าน (Bangkok Read For Life) ด้วยเห็นว่าวัฒนธรรมการอ่านเป็นสิ่งสำคัญ จำเป็นจะต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวังที่จะสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่ยั่งยืนให้กับคนกรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครได้รับเลือกจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็นเมืองหนังสือโลกในปี ๒๕๕๖ (World Book Capital ๒๐๑๓) สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว จึงได้กำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ใน การพัฒนาและขยายห้องสมุดในรูปแบบต่างๆ มุ่งเน้นบริการเชิงรุก เพื่อสนองความต้องการของกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชนที่กว้างขวางและหลากหลาย เน้นการพัฒนาห้องสมุดสู่ห้องสมุดสมัยใหม่ เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต จัดกิจกรรมที่หลากหลายและต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนรู้จักแสวงหาความรู้ รู้จักคิด รู้จักเลือกสรรสารสนเทศที่ดีมีประโยชน์ เหมาะแก่การนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต พัฒนาตนเอง พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างสรรค์ประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในกรุงเทพมหานครให้ดีขึ้น และได้ตามเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน ซึ่งจะนำผลไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป ๓.๑ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓.๒ เพื่อส่งเสริมเด็ก เยาวชนและประชาชนให้มีนิสัยรักการอ่าน มีวัฒนธรรมในการอ่านที่ยั่งยืน ๓.๓ เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย ๓.๔ เพื่อให้บริการข่าวสารและความรู้ต่างๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวของประเทศและโลก ๓.๕ เพื่อส่งเสริมภาพพจน์ด้านการให้บริการสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นประโยชน์ต่อเด็ก เยาวชน และประชาชน ๓.๑ จัดกิจกรรมสำหรับเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปที่มาใช้บริการห้องสมุดและการเรียนรู้ของกรุงเทพมหานคร จำนวน ๔๐ แห่ง ดังนี้ ห้องสมุดขนาดใหญ่ จำนวน ๒๐ แห่ง ๑. ห้องสมุดฯ สวนลุมพินี ๒. ห้องสมุดฯ ซอยพระนาง ๓. ห้องสมุดฯ ภาษีเจริญ ๔. ห้องสมุดฯ ลาดกระบัง ๕. ห้องสมุดฯ บางกะปิ ๖. ห้องสมุดฯ สะพานสูง ๗. ห้องสมุดฯ ทุ่งครุ ๘. ห้องสมุดฯ ดุสิต ๙. ห้องสมุดฯ มีนบุรี ๑๐. ห้องสมุดฯ บางขุนเทียน ๑๑. ห้องสมุดฯ บางบอน ๑๒. ห้องสมุดฯ ห้วยขวาง ๑๓. ห้องสมุดฯ วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต ๑๔. ห้องสมุดฯ บางเขน ๑๕. ห้องสมุดฯ หนองจอก ๑๖. ห้องสมุดฯ วัดลาดปลาเค้า ๑๗. ห้องสมุดฯ คลองสามวา ๑๘. ห้องสมุดฯ บ้านจิรายุ-พูนทรัพย์ ๑๙. ห้องสมุดฯ ประเวศ ๒๐. ห้องสมุดฯ วัดราชโอรสาราม ห้องสมุดขนาดกลาง จำนวน ๕ แห่ง ๒๑. ห้องสมุดฯ มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ๒๒. ห้องสมุดฯ เขตบางซื่อ ๒๓. ห้องสมุดสีเขียว ๒๔. ห้องสมุดฯ อนงคาราม ๒๕. ห้องสมุดฯ วัดรัชฎาธิษฐานฯ ห้องสมุดขนาดเล็ก จำนวน ๑๕ แห่ง ๒๖. ห้องสมุดวิชาการ ๒๗. ห้องสมุดฯ เขตราษฎร์บูรณะ ๒๘. ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ ๒๙. ห้องสมุดฯ จตุจักร ๓๐. ห้องสมุดฯ รมณีย์ทุ่งสีกัน ๓๑. ห้องสมุดฯ เคหะชุมชนดินแดง ๒ ๓๒. ห้องสมุดสิ่งแวดล้อม ๓๓. ห้องสมุดฯ วัดพรหมรังษี ๓๔. ห้องสมุดวนธรรม ๓๕. ห้องสมุดฯ เขตคลองสาน ๓๖. ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ๓.๒ กิจกรรมที่จัด ประกอบด้วย กิจกรรมพื้นฐาน ได้แก่ กิจกรรมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับเยาวชน กิจกรรมครบรอบ ๗๖ ปี วันสันติภาพไทย กิจกรรมเปิดโลกนิทาน กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมสร้างสุขด้วยการอ่านกับผู้สูงอายุ กิจกรรม BMA BOOK & LIBRARY FAIR กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๔ 2,923,600.00 767,200.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1122 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 จ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด้กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ คนพิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือ หรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญ และความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ด้วยเหตุดังกล่าว ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบสภาวะยากลำบากดังกล่าว มีแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งมีรูปแบบการทำงานร่วมกับชุมชนในพื้นที่เขต ผ่านทางศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสเขตจอมทอง ประชาชนในพื้นที่เขตจอมทองที่ประสบปัญหา มีโอกาสได้รับการสงเคราะห์ในเรื่องสวัสดิการต่างๆ ตามที่กำหนด ดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคมในพื้นที่เขตจอมทอง โดยจัดให้มีบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม ประจำเขต จำนวน 4 อัตรา ดังนี้ 1) อาสาสมัคร วุฒิปริญญาตรี จำนวน 2 อัตรา 2) อาสาสมัครรายวัน จำนวน 2 อัตรา 585,200.00 441,380.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1123 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 สนับสนุนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือ หรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญ และความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ด้วยเหตุดังกล่าว ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เพื่อเป็นศูนย์อำนวยการในระดับพื้นที่ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวัง เพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบสภาวะยากลำบากดังกล่าว มีแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งมีรูปแบบการทำงานร่วมกับชุมชนในพื้นที่เขต ผ่านทางศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาสเขตจอมทอง ประชาชนทุกระดับเกิดความสัมพันธ์อันดี มีความมั่นคงและเอื้ออาทรต่อกันทั้งภายในครอบครัวและระหว่างครอบครัว ชุมชนเกิดเครือข่ายการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน มีระบบการเฝ้าระวังในชุมชน การป้องกันการแก้ไข และสามารถส่งต่อผู้มีปัญหาหรือได้รับความเดือดร้อน เพื่อสามารถรองรับบริการสวัสดิการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึง สนับสนุนการดำเนินงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่เขตจอมทอง โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโกอาส ประจำเขต จำนวน 4 อัตรา ดังนี้ 1) อาสาสมัคร วุฒิปริญญาตรี จำนวน 1 อัตรา 2) อาสาสมัคร วุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ด้านการเงินและบัญชี จำนวน 1 อัตรา 3) อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน 1 อัตรา 4) อาสาสมัครคนพิการ จำนวน 1 อัตรา 514,600.00 470,023.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1124 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 บริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจอมทองได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครเขตจอมทองขึ้น ตั้งอยู่ในบริเวณวัดยายร่ม เขตจอมทอง ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งรวบรวมเรื่องราวต่างๆ ในอดีตของท้องถิ่น เกี่ยวกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประวัติศาสตร์สถานที่สำคัญและชุมชนหลากวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของชาวสวนลิ้นจี่และสวนส้มบางมด ศิลปวัฒนธรรมในเขตจอมทองและบุคคลสำคัญ เพื่อให้พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง ได้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย สำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ สร้างแรงดึงดูดให้ประชาชนได้เข้ามาเยี่ยมชมและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ของดีในพื้นที่เขตจอมทองให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย และก่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อีกทางหนึ่งด้วย 9.1 เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตและภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น 9.2 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น 1. จ้างอาสาสมัครปฏิบัติงานประจำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวน 2 อัตรา 2. จัดกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตจอมทอง 292,600.00 235,852.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1125 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 ศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจอมทองตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไปเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้ความสำคัญถึงคุณค่าและคุณประโยชน์ของผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และธำรงรักษาไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถและภูมิปัญญาในสาขาต่างๆ ในหลากหลายสาขาอาชีพให้คงอยู่ ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตจอมทอง จึงได้จัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นศูนย์กลางของการประสานงานและเป็นศูนย์กลางข้อมูลภูมิปัญญาผู้สูงอายุในสาขาต่างๆ เพื่อถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นหลังต่อไป 9.1 เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ตระหนักถึงคุณค่าและคุณประโยชน์ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุ และนำผลงานภูมิปัญญาไปเผยแพร่สู่สังคม 9.2 สำนักงานเขตจอมทองมีข้อมูลภูมิปัญญาผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นและได้รับอนุรักษ์ให้คงอยู่สืบไป คัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุระดับเขต และจัดกิจกรรมถ่ายทอดและแสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ จำนวน 1 ครั้ง ภายในเดือนเมษายน 2564 เพื่อให้ผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุเผยแพร่สู่สังคม 10,000.00 10,000.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2021-02-01 00:00:00 2021-05-31 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1126 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 ฝึกอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ การอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ สตรี เด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนทั่วไป เป็นนโยบายของกรุงเทพมหานคร ในการพัฒนาขีดความสามารถในการประกอบอาชีพของประชาชน เพื่อนำไปสู่การมีรายได้ที่มั่นคง โดยจัดฝึกอบรมวิชาชีพให้แก่ประชาชนทั่วไปให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ สร้างความชำนาญและประสบการณ์ด้านการประกอบอาชีพ ด้านทักษะการฝึกอาชีพ สำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ขึ้น เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ สร้างความชำนาญและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ และให้ประชาชนได้มองเห็นทางเลือกในการประกอบอาชีพเสริม และได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดปัญหาการว่างงาน สร้างอาชีพสร้างรายได้ต่อไป 9.1 ประชาชนได้รับความรู้ สามารถนำความรู้มาเสริมสร้างรายได้เสริมให้แก่ตนเองและครอบครัวได้ 9.2 สามารถช่วยพัฒนาเศรษฐกิจในครอบครัว และมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดฝึกอาชีพวิชาสมุนไพรเพื่องานอาชีพและสุขภาพ และวิชาลูกโป่งแฟนซีให้กับประชาชนทั่วไป ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ จำนวน 9 วัน ๆ ละ 1 วิชาชีพ ๆ ละ 40 คน 100,000.00 100,000.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-04-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1127 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 จัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมประเพณี กรุงเทพมหานครกำหนดกรอบและทิศทางการพัฒนาเมืองเพื่อก้าวสู่การเป็นมหานครที่มีความเจริญในทุกๆด้าน โดยจัดทำแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร และกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อรองรับการพัฒนาเมืองในด้านต่าง ๆ ทั้งนี้ยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครสำหรับทุกคน ที่คนกรุงเทพฯ แต่ละกลุ่ม แต่ละชุมชน สามารถดำรงรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนเป็นมหานครที่โดดเด่นในเชิงวัฒนธรรมที่หลากหลาย เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งที่สำคัญในการที่จะขับเคลื่อนการพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ สำนักงานเขตจอมทองในฐานะหน่วยงานของกรุงเทพมหานครในระดับพื้นที่ เล็งเห็นว่าในการดำเนินงานสนับสนุนและส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้น มีส่วนสำคัญในการผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย โดยจัดให้มีกิจกรรมในวันสำคัญ ให้เด็ก เยาวชน ประชาชน และเจ้าหน้าที่ของรัฐตระหนักถึงความสำคัญในการที่จะร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่ดีงามของไทยให้คงอยู่สืบไป 9.1 ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นและกิจกรรมวันสำคัญของไทยได้รับการอนุรักษ์ให้คงอยู่สืบไป 9.2 ทุกภาคส่วนในพื้นที่เขตจอมทองทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 9.3 การจัดกิจกรรมวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณีไทย ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เขตจอมทองได้ตระหนักรู้และเห็นถึงความสำคัญ รวมทั้งมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย 1. จัดกิจกรรมประเพณีลอยกระทง โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย การแข่งขันเรือพาย การแข่งขันตะกร้อลอดบ่วง การประกวดหนูน้อยนพมาศ และการแสดงศิลปวัฒนธรรม 2. จัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุแห่งชาติ โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย พิธีสรงน้ำพระ ถวายภัตตาหารเพล การแสดงมุทิตาจิตรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ การให้บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ 3. จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2564 4. จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2564 500,000.00 320,000.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-08-31 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1128 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 รู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง กรุงเทพมหานครได้มีความพยายามที่จะส่งเสริมให้ประชาชนทั้งผู้มีรายได้น้อย ผู้ประกอบอาชีพอิสระ ผู้ประกอบอาชีพรับจ้าง แรงงานนอกระบบ ได้มีโอกาสทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาศักยภาพ ทักษะ ความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ การเข้าถึงสวัสดิการสังคมของรัฐ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับตลาดงานและแหล่งทุนเพื่อประกอบอาชีพ รวมทั้งการส่งเสริมการวางแผนทางการเงิน อันจะนำไปสู่การแก้ไขและลดปัญหาหนี้สิน และมีความพยายามที่จะให้กลุ่มของผู้ที่ทำงานประจำ หรือ "มนุษย์เงินเดือน" ได้มีความรู้ และทักษะในด้านการวางแผนทางการเงินอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีภายใต้สังคมปัจจุบัน สำนักงานเขตจอมทองได้ตระหนักถึงปัญหาทางการเงินเหล่านี้ ของกลุ่มผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบ แรงงานนอกระบบ ผู้มีรายได้น้อย และผู้ที่ทำงานประจำ รวมทั้งให้ความสำคัญในเรื่องของการออมและการบริหารเงินส่วนบุคคล ส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะแรงงานนอกระบบได้รับทราบถึงสวัสดิการสังคมต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการ รู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง ดำเนินงานโดยศูนย์ส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัวและแก้ไขปัญหาหนี้สิน เขตจอมทอง ในการเสริมสร้างความรู้ เรื่องการบริหารการเงิน การวางแผนทางการเงิน โดยเฉพาะการสร้างความตระหนักรู้ถึงมหันตภัยของหนี้ประเภทต่างๆ อันจะทำให้ประชาชนไม่ตกเป็นทาสของหนี้นอกระบบ และสามารถเลือกใช้สินค้าทางการเงินต่างๆ เช่น บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด ได้อย่างชาญฉลาด รวมทั้งมุ่งส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักเก็บ รู้จักใช้ มีเงินเหลือสร้างความมั่นคงให้แก่ตนเองและครอบครัวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาหนี้สิน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะแรงงานนอกระบบให้รับทราบถึงสวัสดิการทางสังคม เพื่อเป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาทางการเงิน ซึ่งจะส่งผลให้คนกรุงเทพมหานครทุกคนสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคง มีความเข้มแข็งที่เพียงพอ เศรษฐกิจของเมืองย่อมสามารถเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืนด้วยเช่นกัน กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความรู้ด้านการเงินเพิ่มขึ้น ตระหนักถึงความสำคัญในการวางแผนการเงิน การบริหารหนี้สิน และการบริหารเงินของตนเอง เกิดความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อสร้างความมั่นคงทางการเงินให้ตนเองและครอบครัว รับทราบสวัสดิการทางสังคมต่างๆ ที่รัฐจัดให้ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านการเงินในเรื่องการออม การวางแผนทางการเงิน การบริหารการเงิน สวัสดิการทางสังคมต่าง ๆ ให้กับแรงงานนอกระบบ ผู้มีรายได้น้อย ผู้มีงานประจำทำ นักเรียน นักศึกษา บุคลากร ในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถานประกอบการ สถานศึกษา ประชาชนที่อยู่ในชุมชน จำนวน 6 ครั้ง ๆ ละ 100 คน 20,000.00 4,994.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1129 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตสวนหลวง ได้รับการสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชน ซึ่งดำเนินการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการชุมชน ในพื้นที่เขตสวนหลวงมีศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 13 ศูนย์ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กจำนวน 97 คน เด็กก่อนวัยเรียนที่ใช้บริการกว่า 1,100 คน และมีแนวโน้มจะขยายจำนวนศูนย์มากขึ้น เนื่องจากภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่ทำให้ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ต้องประกอบอาชีพ นอกบ้าน ไม่มีเวลาที่จะเลี้ยงดูเด็กด้วยตนเอง และไม่สามารถนำเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลได้ โดยเน้นการแบ่งเบาภาระผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานของตนเอง ให้มีความพร้อมทั้งด้านจิตใจ อนามัย สังคม ก่อนเข้าสู่ระบบการเรียนต่อไป สภาวะศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชน มีความแตกต่างกันไปตามสภาพความจำเป็นของแต่ละชุมชน หลายแห่งเป็นเพียงบ้านที่อยู่อาศัยของคนในชุมชน ที่มีความเมตตาโอบอุ้มเลี้ยงดูบุตรหลานของเพื่อนบ้าน ในขณะที่อีกหลายแห่งจัดสร้างขึ้นเป็นศูนย์ฯ เด็กโดยตรง คุณภาพและมาตรฐานของศูนย์ฯ เหล่านี้ จึงแตกต่างกัน เป็นอันมาก ทั้งนี้รวมถึงสภาพความเจริญของชุมชน สภาพคล่องทางการเงินในการบริหารศูนย์ฯ และคุณภาพของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก สำนักงานเขตสวนหลวง เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยสำคัญที่สุดของชีวิต ในการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กต่อไปในอนาคต จึงเห็นควรมีการพัฒนามาตรฐานของศูนย์ รวมทั้งสนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนให้เพียงพอและได้มาตรฐานเดียวกัน 9.1 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง มีคุณภาพเข้าสู่เกณฑ์ มาตรฐานกรุงเทพมหานคร 9.2 อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนมีศักยภาพ มีความรู้ในการดูแลและ เฝ้าระวังและสามารถประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้มีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง มีคุณภาพเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร 393,900.00 787,790.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1130 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร --ปัจจุบันสังคมไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งมีหน้าที่ในการจัดสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ และตระหนักดีว่าผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติมาโดยตลอด ประกอบกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๖๔) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้กำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ผู้สูงอายุได้มีการพัฒนาตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม - เพื่อรวบรวมและเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - เพื่อเผยแพร่ผลงานและเกียรติประวัติภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และสืบทอดสู่คนรุ่นหลังต่อไป - เชิงปริมาณรวบรวมและเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สุงอายุ - เชิงคุณภาพผู้สูงอายุในชุมชนที่เข้าร่วมหลักเสร็จสิ้นโครงการ 10,000.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1131 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2564 กิจกรรมสำรวจและจัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อรองรับการพัฒนาย่านตลาดน้อย (เจรจาตกลง) การดำเนินการจัดทำแผนงาน โดยประกอบด้วยโครงการที่มุ่งพัฒนาย่านตลาดน้อย ตามผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ที่กำหนดพื้นที่นำร่องในย่านตลาดน้อยเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ และร่วมดำเนินการกับหลายหน่วยงาน พัฒนาฟื้นฟูโครงข่ายถนนทางเท้าในพื้นที่ - เชื่อมโยงการเดินทางภายในพื้นที่ การเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนหลักและรอง - ให้โครงสร้างถนนและทางเท้ามีความร่มรื่นสวยงามจากพรรณไม้ในพื้นที่ - รองรับให้เกิดเส้นทางการเดินทางที่ลดการพึ่งพารถยนต์ในพื้นที่ เช่น ทางจักยาน การเดินเท้า เป็นต้น 1. สำรวจย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า สิ่งอำนวยความสะดวก และอื่น ๆ 2. ทำการวิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ และกำหนดแผนงาน/โครงการตามกรอบผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 3. จัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 4. จัดทำรูปแบบ ประมาณราคา รายละเอียดโครงการของโครงการตามแผนที่กำหนด เพื่อขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการที่ขอจัดสรรงบประมาณในปี พ.ศ.2565 ให้ได้รับงบประมาณ โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้นๆ ฯลฯ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1132 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
0.0.0 2564 ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมโยงข้อมูลที่ดินระหว่างกรุงเทพมหานครกับกรมที่ดิน สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีหน้าที่หลักเกี่ยวกับการวางผังและพัฒนาเมือง ให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งสร้างโอกาสในการแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้าน และมีหน้าที่ในการสำรวจ จัดเก็บ และบูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศกลางของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่องานด้านการบริหารจัดการเมือง และให้บริการแก่ทุกหน่วยงาน ดังนั้น การจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในกรุงเทพมหานครดังกล่าว จำเป็นต้องเชื่อมโยงระบบเครือข่ายเพื่อใช้งานข้อมูลภูมิสารสนเทศและข้อมูลแปลงที่ดินจากกรมที่ดินในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 2.1 เพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลที่ดินระหว่างกรุงเทพมหานครกับกรมที่ดินผ่านระบบเครือข่าย 2.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างผ่านระบบเครือข่าย เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของทุกสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งนำไปใช้ในการเร่งรัด ติดตามการจัดเก็บภาษีให้ครบถ้วน ถูกต้อง 2.3 เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน แม่นยำ และมีประสิทธิภาพได้มาตรฐานสากล ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับใช้ในการบริหารจัดการเมือง และการให้บริการแก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร รวมถึงหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน พัฒนาระบบบริการข้อมูลที่ดิน พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลที่ดินของกรมที่ดินกับระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร จำนวนแปลงที่ดินประมาณ 2,100,000 แปลง และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้ สู่ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 4,500,000.00 3,129,000.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
1133 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
0.0.0 2564 ค่าใช้จ่ายในการศึกษาและจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองกรุงเทพมหานคร สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานภูมิสารสนเทศจะต้องดำเนินการสำรวจ รังวัด จัดเก็บข้อมูลด้านกายภาพ ผลิตแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อจัดทำแผนที่มาตราส่วนต่าง ๆ โดยมีการวางระบบงานคอมพิวเตอร์เครือข่าย รวบรวมและจัดทำข้อมูลเมืองด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านกายภาพ และด้านสิ่งแวดล้อม ให้อยู่ในระบบภูมิสารสนเทศ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเมือง วางระบบงานสถิติ รวมทั้งออกแบบและพัฒนาระบบบริการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศ และเผยแพร่สารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล ได้แก่ ถนน อาคาร ชื่อ ข้อมูลภูมิประเทศ และระดับชั้นความสูง และคำอธิบาย ข้อมูลเมืองดังกล่าวถือเป็นข้อมูลที่สำคัญในการวางแผนการบริหารจัดการเมือง การวางผังเมืองรวมและผังพัฒนาพื้นที่ในระดับต่าง ๆ ให้มีความถูกต้อง มีความทันสมัย และมีความแม่นยำทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย เพื่อนำมาใช้เป็นกรอบการพัฒนาเมืองให้เป็นมหานครศูนย์กลางเศรษฐกิจและวิทยาการของอาเซียน ทั้งนี้ ข้อมูลเมืองที่มีอยู่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่ ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลภูมิประเทศ เป็นข้อมูลที่มีความละเอียดสูง ปริมาณข้อมูลขนาดใหญ่ ยังไม่มีการออกแบบการจัดการทรัพยากรระบบสารสนเทศระดับสูง ประกอบกับหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานครมีการจัดทำข้อมูลตามภารกิจความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน ยังขาดการวางแผนการรวบรวมและปรับปรุงข้อมูลเมืองอื่น ๆ ให้ครอบคลุมความต้องการทุกภาคส่วน รวมทั้งยังขาดการบูรณาการ การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเมืองของทุกส่วนราชการกรุงเทพมหานคร สำหรับการจัดการกรุงเทพมหานครทุกมิติ และให้บริการแก่ทุกภาคส่วน และยังขาดการวางแผนการใช้ระบบสารสนเทศในการให้บริการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานอื่น เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเป้าหมายในการเป็นมหานคร Smart City ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 จากภารกิจและสภาพปัญหาดังกล่าว เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแนวทางการพัฒนาสู่อนาคตในระยะยาวอย่างยั่งยืน รองรับการบริหารจัดการมหานครให้เป็น Smart City ที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงมาใช้เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการบริการประชาชนอย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีความละเอียดและความถูกต้องเชิงพื้นที่สูง อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง การบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร ในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (City Spatial Information) และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแนวทางการพัฒนาสู่อนาคตในระยะยาวอย่างยั่งยืน มีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทภูมิสารสนเทศแห่งชาติ เพื่อใช้ประโยชน์จากข้อมูลเมืองในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (City Spatial Information) ในการพัฒนาเมืองด้านต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สามารถให้บริการข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สำหรับการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็น Smart City ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 6,202,600.00 610,000.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
1134 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
0.0.0 2564 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถาน การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อ และคำอธิบาย ประกอบกับจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แต่โครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการจัดหาและปรับปรุงข้อมูลเท่านั้น ประกอบกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่เป็นจำนวนมาก และหลายช่วงเวลา เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเมือง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบสารสนเทศที่รองรับการจัดการในรูปแบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันยังขาดทรัพยากรด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่รองรับการให้บริการผ่านระบบเครือข่ายที่จะเกิดขึ้น ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และบริการแก่หน่วยงานภายนอก จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร โดยจัดหาทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลแผนที่และภาพถ่ายความละเอียดสูงที่ได้จากโครงการที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองกำลังดำเนินการ สามารถให้บริการ การใช้และการวิเคราะห์ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก รวมทั้งผู้ขอรับบริการข้อมูลอย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งาน รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลเมืองจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อเป็นระบบข้อมูลกลางเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมืองการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารมหานคร การจัดทำและบริการข้อมูลเมือง สนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง และการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 เพื่อปรับปรุงทรัพยากรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้รองรับกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองดำเนินการอยู่ พัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการจัดการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพและสามารถขยายผลต่อไปในอนาคตได้ในระยะยาว (Longevity) 26,712,700.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 44.00
1135 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร ความคุ้มค่าและประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครและประชาชน โดยการนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการผังเมือง เช่น การวางและจัดทำผังเมือง 2. ด้านการคลัง เช่น การจัดเก็บภาษีและรายได้ของกรุงเทพมหานคร 3. ด้านการจราจรและขนส่ง เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการจราจร 4. ด้านการโยธา เช่น การควบคุมอาคาร งานระบบสาธารณูปโภค แนวเขตที่ดินของรัฐ (One map) 5. ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น การวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 6. ด้านการระบายน้ำ เช่น การวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สามารถใช้ข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ร่วมกับข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขเทคนิค LIDAR 7. ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การวางแผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมต่างๆ 8. ด้านวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เช่น ข้อมูลด้านวัฒนธรรม กีฬา การท่องเที่ยว และห้องสมุดประชาชน 9. ด้านอนามัย เช่น การควบคุม ป้องกันและแก้ไขโรคระบาด พื้นที่ควบคุม เฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขการระบาดของโรค การวางแผนในการจัดตั้งและให้บริการของศูนย์สาธารณสุข 10. ด้านการแพทย์ เช่น ระบบบริการการแพทย์ 11. ด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย เช่น การวิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดทำโครงการที่อยู่อาศัย 12. ด้านการปกครองและทะเบียน การค้นหาหรือกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร ตึกแถว บ้านเรือน สถานประกอบการ สถานที่สำคัญต่างๆ ฯลฯ ที่ก่อสร้างแล้ว หรือที่จะขออนุญาตปลูกสร้าง 13. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลแผนที่สืบค้นข้อมูลต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและข้อมูลมีคุณภาพ 14. กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่มีมาตรฐาน ถูกต้อง แม่นยำ และมีความทันสมัย เพื่อสนับสนุนภารกิจด้านการบริหารจัดการเมืองที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน และบริการประชาชน 15. กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา 17 ความว่า ผังเมือง ประกอบด้วย (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1136 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
0.0.0 2564 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองตามผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแผนที่เขตพระนครถูกต้องเป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ท้้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก - เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง - เพื่อส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านส่งสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองครบถ้วนตามที่ได้รับอนุญาต 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1137 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
0.0.0 2564 โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และ เลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1138 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2564 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง 1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านเป็นปัจจุบัน มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1139 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2564 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
1140 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
0.0.0 2564 การพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1141 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน กำหนดให้มีสภาเด็ก และเยาวชนเขต ตามความในมาตรา 24 และให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามความในมาตรา 27, 28 และ 29 เพื่อมุ่งเน้นให้สภาเด็กและเยาวชนเป็นกลไกในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม ตลอดจนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตสวนหลวง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินการจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ให้แล้วเสร็จตามมติ การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 และตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 กำหนดว่า “เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย” ให้ขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัย เพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้นำในการพัฒนากรุงเทพมหานครและประเทศต่อไป สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร 9.1 เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและความสัมพันธ์อันดีระหว่างเด็กและเยาวชนในพื้นที่ 9.๒ เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร 149,720.00 90,816.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1142 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
0.0.0 2564 โครงการเชื่อมโยงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุน - สำนักงานเศรษฐกิจการคลังในฐานะส่วนราชการในสังกัดสำนักการคลังที่รับผิดชอบหน้าที่ การดำเนินโครงการศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการคลังและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันโครงการฯ ดังกล่าวสำนักการคลังได้พิจารณากำหนดเป็นตัวชี้วัดหลักตามยุทธศาสตร์และการกำหนดกรอบบทบาทภารกิจ ตลอดจนอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานมาโดยต่อเนื่อง ทั้งนี้ สำหรับเป้าหมายตัวชี้วัดตามโครงการที่ทางหน่วยงานจะต้องขับเคลื่อนตามที่กำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ซึ่งมีการประเมินเป้าประสงค์รวมทั้งค่าเป้าหมายของมาตรการภายใต้กิจกรรม/โครงการของหน่วยงานที่อาศัยคุณภาพการให้บริการที่สูงขึ้นทั้งในส่วนของผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ดังนั้นสำนักงานเศรษฐกิจการคลังจึงได้พิจารณาเพื่อจัดทำแผนกิจกรรมการดำเนินงานประจำปี พ.ศ.2564 คือกิจกรรมปรับปรุงและพัฒนาข้อมูลในเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการคลังและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร โดยมุ่งวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลข่าวสารด้านเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และการลงทุนในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครซึ่งจะช่วยให้เกิด การสร้างข้อมูลเพื่อแนะนำให้บริการและส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจแก่ นักลงทุนหรือประชาชนทั่วไปที่สนใจให้ได้รับข้อมูลข่าวสารประกอบการตัดสินใจในการลงทุน รวมทั้งในการทำหน้าที่เป็นสื่อกลางประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาศักยภาพให้กับผู้ประกอบการและให้คำปรึกษาช่วยเหลือเพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการลงทุนได้อย่างสอดคล้องและต่อเนื่องโดยที่กรุงเทพมหานครในฐานะศูนย์กลางของกลุ่มภูมิภาคอาเซียน ซึ่งได้ลงนามความร่วมมือเพื่อตกลงกันที่จะสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนโดยการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครในฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศไทยที่เป็นศูนย์กลางความเจริญในทุกๆ ด้าน จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาเพื่อปรับปรุง ให้เกิดความพร้อมในการเป็นเมืองศูนย์กลางของเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านเศรษฐกิจนั้น กรุงเทพมหานครจำเป็นต้องมีแหล่งกลางในการศึกษาหาข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การคลัง การลงทุนที่มีความเป็นสากล พร้อมทั้งพัฒนาปรับปรุง หน้าเว็บไซต์และทำการประมวลผลในการนำเสนอข้อมูลสถิติต่างๆ ให้เกิดความน่าสนใจและทันสมัยยิ่งขึ้น รวมทั้งรองรับการทำงานได้ในหลายอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน เป็นต้น ในการนี้สำนักงานเศรษฐกิจการคลังจึงได้พิจารณาจัดทำกิจกรรมเพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการคลังและการลงทุนของกรุงเทพมหานครให้มีฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจที่สำคัญ ตลอดจนข้อมูลพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียน และดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในส่วนของข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนผ่านช่องทางเผยแพร่เนื้อหาในเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูล เศรษฐกิจการคลังและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th/fiic) ของหน่วยงาน ต่อไป - เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีการเชื่อมโยงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน - เพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่จำเป็นเพื่อก่อให้เกิดการประกอบธุรกิจ ตลอดจนการลงทุนในเขตกรุงเทพมหานครมากยิ่งขึ้น - เพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครได้ - มีความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการประกอบธุรกิจและการลงทุน การเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน การท่องเที่ยว วัฒนธรรม และการบริการ - พัฒนาข้อมูลเศรษฐกิจการคลังและการลงทุนของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยตอบสนองความต้องการต่อผู้รับบริการ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1143 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
.. 2564 กิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1144 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
.. 2564 การดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เป็นภารกิจที่กรุงเทพมหานครได้รับการถ่ายโอนมาจากกรมส่งเสริมการเกษตร ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 จำนวน 50 ศูนย์ ในพื้นที่ 26 เขตชั้นนอก เป็นศูนย์กลางให้เกษตรกรได้เข้ามามีส่วนร่วมคิด วิเคราะห์ วางแผน และบริหารจัดการแผนด้วยตนเอง และเป็นสถานที่ให้บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการให้ข้อมูลข่าวสารการเกษตรที่สำคัญแก่เกษตรกรในลักษณะบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดจุดศูนย์รวมการบริการความรู้ด้านการเกษตร โดยสำนักงานเขตจอมทองรับผิดชอบดูแลศูนย์บริการฯ ในพื้นที่เขต จำนวน 2 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ประจำแขวงบางมด-จอมทอง และศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ประจำแขวงบางขุนเทียน-บางค้อ การดำเนินงานของแต่ละศูนย์ฯ จะประกอบด้วย การประชุมคณะกรรมการประจำศูนย์ฯ ประจำเดือน การจัดกิจกรรมเผยแพร่ให้ความรู้ทางการเกษตร และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดทั้งปี เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมข้างต้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายขององค์กร และเกิดประโยชน์สูงสุดกับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป สำนักงานเขตจอมทอง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมจึงได้จัดทำโครงการการดำเนินงานของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 9.1 การให้บริการของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรแก่เกษตรกรในพื้นที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 9.2 เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมภาคประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของภาครัฐในการพัฒนาเมือง 9.3 กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง และยั่งยืน 9.4 เกษตรกรในพื้นที่เขตจอมทองเกิดการรวมกลุ่ม พัฒนาอาชีพและอนุรักษ์พื้นที่การเกษตร 1. จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 4 ครั้ง/ปี 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และสาธิตเทคโนโลยีด้านการเกษตร 3. สนับสนุนวัสดุปรับปรุงศูนย์ฯ และวัสดุเกษตร เพื่อให้การสนับสนุนเกษตรกรในพื้นที่ให้บริการของศูนย์ฯ 4. สนับสนุนวัสดุเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และวัสดุสำนักงาน 230,600.00 207,160.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1145 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทและเป็นปัจจัยสำคัญ ในการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย ซึ่งส่งผลให้วิถีชีวิตของคนในสังคม โดยเฉพาะทางด้านวัฒนธรรมและประเพณีไทย ที่ดีงาม อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย ได้ถูกเปลี่ยนแปลงหรือหลงลืมไป เนื่องจากคนรุ่นหลังขาดความเข้าใจในวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามอย่างถูกต้อง สำนักงานเขตสวนหลวงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามที่อยู่คู่สังคมไทยมายาวนาน จึงจัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกในการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีไทยอันดีงามให้ดำรงอยู่ต่อไป ๙.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม อันเป็นประโยชน์ในการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่สืบไป ๙.๒ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทยได้รับการเผยแพร่และสืบสานสู่อนุชนรุ่นหลังต่อไป ๙.๓ ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญที่เกี่ยวกับชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จัดกิจกรรมในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน 3 กิจกรรม ได้แก่ งานวันพ่อ งานวันสงกรานต์ และงานวันแม่ 500,000.00 197,500.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1146 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร -เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมตามภารกิจของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายขององค์กร เกิดประโยชน์สูงสุดกับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตหลักสี่ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบและขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ฯ จำเป็นอย่างยิ่งต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการดำเนินงานตามแผน เพื่อให้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเป็นศูนย์กลางในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกฒตรกร สร้างความรู้ มีส่วนร่วมคิดวิเคราะห์ กำหนดทิศทาง และวางแผนได้ด้วยตนเอง - จัดกิจกรรมการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงทุ่งสองห้อง ได้แก่ การจัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ - จัดกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ เช่น การประชุมคณะกรรมการ และจัดตั้งจุดสาธิตการเกษตร จำนวน 2 จุด 115,100.00 30,000.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1147 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานคร ข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2562 หมวด 5 การจัดทำทะเบียนประวัติลูกจ้างประจำ กำหนดให้สำนักงาน ก.ก. เป็นหน่วยงานกลางทะเบียนประวัติลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานคร และให้เป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษาประวัติลูกจ้างประจำ บันทึก แก้ไข เพิ่มเติมรายการให้สมบูรณ์และทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ ทั้งนี้กลุ่มงานสารสนเทศทรัพยากบุคคล กองทะเบียนประวัติข้าราชการ มีหน้าที่ดำเนินการจัดทำโปรแกรมย่อยของฐานข้อมูลและประมวลผลข้อมูลทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครโดยเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงาน ก.ก. ได้ดำเนินโครงการจัดทำโปรแกรมฐานข้อมูลลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานครขึ้นตามโครงการพัฒนางานประจำ “กิจกรรมพัฒนานักทรัพยากรบุคคลของสำนักงาน ก.ก.” ตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ. 2562 ของสำนักงาน ก.ก. เพื่อดำเนินการให้มีการเก็บรักษาทะเบียนประวัติลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานครด้วยระบบเทคโนโลยี และสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานด้านทะเบียนประวัติลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการบันทึก แก้ไข เพิ่มเติมรายการให้สมบูรณ์และทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอและมีสารสนเทศสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครได้ เพื่อให้โปรแกรมฐานข้อมูลลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานครที่สร้างและพัฒนาในระยะที่ 1 สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ฐานข้อมูลบุคคลลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครมีความถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน สามารถใช้งานให้เกิดประโยชน์ในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครได้ และสามารถพัฒนาให้ระบบงานต่าง ๆ มีประสิทธิภาพ เป็นมาตรฐานรองรับการพัฒนาระบบอื่น ๆ ของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในอนาคต จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครขึ้น 1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศของลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครมีความถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถใช้งานได้ 3. เพื่อสร้างมาตรฐานโครงสร้างฐานข้อมูลให้หน่วยงานอื่นของกรุงเทพมหานครสามารถนำไปพัฒนาต่อได้ 1. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับประวัติบุคคล รายการตำแหน่งและเงินเดือนปัจจุบัน และงานสถิติข้อมูลต่าง ๆ ของลูกจ้างประจำกรุงเทพมหานครได้ 2. โครงสร้างฐานข้อมูลและข้อมูลลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครสามารถใช้เป็นมาตรฐานกลางในการพัฒนาระบบงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคล (ลูกจ้าง) ของกรุงเทพมหานครได้ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1148 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการคลินิกให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานออนไลน์ ด้วยแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร กำหนดให้สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร งานด้านพิธีการต่าง ๆ การประสานงานด้านพระราชพิธี รัฐพิธี และ พิธีการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรุงเทพมหานคร รวมถึงงานกลั่นกรองงาน ตรวจสอบเอกสาร ยกร่างหนังสือหรือสรุปเรื่อง ทำบันทึกความเห็นและเอกสารประกอบ เพื่อเสนอปลัดกรุงเทพมหานคร และรองปลัดกรุงเทพมหานคร ให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการยกร่างหรือแก้ไขหนังสือ และการอ้างอิงข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง หรือหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง จากการดำเนินงานที่ผ่านมามีหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้ประสานงานไปยังสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร เพื่อขอปรึกษา หารือ และขอคำแนะนำในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานดังกล่าวเป็นจำนวนมาก ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับงานต่างๆ ของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ส่วนเลขานุการ สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการคลินิกให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานออนไลน์ โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการปฏิบัติงานให้มีความสะดวกและรวดเร็ว เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ช่องทาง คือ เพจ Facebook ชื่อ สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานให้กับหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้บริการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 1. เพิ่มช่องทางในการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงาน จำนวน 1 ช่องทาง (Facebook) 2. ร้อยละ 80 ของจำนวนเรื่องที่หน่วยงานขอรับคำปรึกษา สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายใน 1 วัน นับจากเวลาที่หน่วยงานโพสต์คำถามหรือเรื่องที่ขอรับคำปรึกษา 3. ร้อยละ 80 ของหน่วยงานที่ขอรับคำปรึกษา มีความพึงพอใจในการให้บริการให้คำปรึกษาการปฏิบัติงานในระดับมากหรือมากที่สุด 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1149 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ อีกทั้งระบบดังกล่าวใช้งานมานานเป็นเวลา 13 ปีแล้ว และปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ “มหานครแห่งเอเชีย” โดยเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าวได้นั้น คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสม เกิดประโยชน์ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลดิจิทัล โดยพัฒนาตาม “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ” หรือ “Thailand e-Government Interoperability Framework” (TH e-GIF) 1. เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณในการรับ-ส่งหนังสือแบบรวมศูนย์ (Centralized) ตั้งแต่ระดับหน่วยงานถึงระดับบุคคลด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการร่างหนังสือผ่านแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ลงนามด้วยลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature) รองรับการใช้งานผ่านระบบด้วย Personal Computer หรือ Mobile Device 3. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการสั่งการของผู้บริหารและเพิ่มความสะดวกในการกระจายงานสู่ผู้ปฏิบัติ 4. เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และการสืบค้นเอกสารของหน่วยงานได้อย่างมีระบบ ลดปัญหาเอกสารฉบับจริงสูญหายโดยจัดเก็บสำเนาเอกสารไว้ในระบบและรักษาความสำคัญของข้อมูลสารบรรณด้วยระบบรักษาความปลอดภัยและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. เตรียมพร้อมโครงสร้างระบบข้อมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้กรอบ TH e-GIF เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับส่วนราชการอื่น ๆ ได้ในอนาคต 6. เพื่อสามารถบริหารจัดการข้อมูล ลดจำนวนการใช้งานหรือยกเลิกการใช้กระดาษ และลดขั้นตอนการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 7. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามสถานะของหนังสือ/เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงระยะเวลาดำเนินการในแต่ละขั้นตอนได้ 8. เพื่อให้มีระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ที่อำนวยความสะดวก รวดเร็ว ในการเวียนหนังสือภายใน 9. เพื่อให้สามารถจองห้องประชุมในระบบ และสามารถนัดหมายการประชุมกับผู้บริหารในระบบได้ เป็นระบบที่ออกแบบให้สามารถให้บริการครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทั้ง 77 หน่วยงาน/ส่วนราชการ ได้แก่ 16 สำนัก สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเพมหานคร สำนักงานเขต 50 เขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 ส่วนราชการ โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน โดยมีระบบงานที่จะเกิดขึ้นได้แก่ ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบงานจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารจัดการห้องประชุม และระบบบริหารจัดการและจองรถยนต์ส่วนกลางสำหรับสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานเข้าใช้งานแบบเต็มระบบจะสามารถใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องการรับ-ส่งหนังสือการร่างหนังสือการค้นหาและติตตามงาน การปิดงานและยกเลิกเอกสาร การออกเลขหนังสือ การใช้งานระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบบริหารจัดการห้องประชุม 14,700,000.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
1150 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 ๑๗. หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการฐานข้อมูลของหน่วยงาน (โครงการเสริมสร้างการพัฒนางานและวัฒนธรรมองค์กร) ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้บรรลุประสงค์ที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) รวมถึงการบรรลุวิสัยทัศน์ “ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครเป็นมืออาชีพในการให้บริการประชาชน (BMAPRO ๒๑) มุ่งสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย”คือ การพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความสามารถความเชี่ยวชาญ และมีองค์ความรู้ที่จำเป็นในในการปฏิบัติงาน กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรขนาดใหญ่มีบุคลากรจำนวนมาก การจัดทำระบบฐานข้อมูลฝึกอบรมจะทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการวิเคราะห์ และกำหนดทิศทางการวางแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ของผู้บริหาร ซึ่งการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลฝึกอบรมมีความเกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของทุกหน่วยงาน ทุกส่วนราชการของกรุงเทพมหานคร สถาบันฯ จึงมีแนวคิดการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลฝึกอบรมของกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานคร ๒.๑ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานระบบฐานข้อมูลฝึกอบรม ๒.๒ เพื่อพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือสำหรับใช้บริหารข้อมูลการฝึกอบรม ๒.๓ เพื่อให้การใช้งานในระบบสร้างแผนโครงการฝึกอบรมเป็นไปด้วยความถูกต้อง เรียบร้อยและสามารถเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการเสริมสร้างความรู้ด้านการใช้งานระบบฐานข้อมูลกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น ๒๑๐ คนประกอบด้วย ๓.๑ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๑๗๐ คน ดังนี้ (๑) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการพิเศษ ประเภท ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - อาวุโส สังกัดสำนัก และสำนักงานเขตจำนวน ๒ รุ่น ๆ ละ๔๕ คนรวมจำนวนทั้งสิ้น๙๐คน (๒) ข้าราชการในสังกัดสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครประเภทอำนวยการระดับต้น ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการพิเศษประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ชำนาญงานจำนวน ๒ รุ่น ๆ ละ ๔๐ คนรวมจำนวนทั้งสิ้น ๘๐ คน ๓.๒ ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ดำเนินการ ๘ คนและวิทยากร ๒ คนรวมจำนวน รุ่นละ ๑๐ คน จำนวน ๔ รุ่น รวมจำนวนทั้งสิ้น ๔๐ คน 211,600.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1151 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 5.2 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1152 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ ในภาวะที่ผู้ป่วย หรือผู้บาดเจ็บฉุกเฉินจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเร่งด่วน ถูกต้อง และเหมาะสมตามมาตรฐานและหลักการทางการแพทย์ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการให้ความช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ รวมไปถึงดูแลผู้ป่วยระหว่างการนำส่งโรงพยาบาล จำเป็นต้องมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ พร้อมรับกับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรุงเทพมหานครจึงจำเป็นต้องพัฒนาการบริการให้ความช่วยเหลือ ผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน ของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้วยบริการที่มีคุณภาพ และสามารถให้การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สำนักการแพทย์ โดยศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรซึ่งนับว่าเป็นหัวใจหลักของการให้บริการ จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูวิชาการพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (Refreshed EMT – Basic) ขึ้น เพื่อฟื้นฟู และทบทวนความรู้ด้านวิชาการ ด้านทักษะการปฏิบัติการทางแพทย์ฉุกเฉิน แก่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการให้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งโครงการดังกล่าวยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างหน่วยปฏิบัติการในระบบฯ เพื่อเชื่อมประสานการทำงานแบบมีส่วนร่วม ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและผู้รับบริการมากยิ่งขึ้นไป 9.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทบทวนความรู้ และพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานเพิ่มเติม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง 9.2 เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ฉุกเฉิน 9.3 เสริมสร้างความสัมพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานระหว่างเครือข่ายในระบบฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จัดโครงการฟื้นฟูวิชาการพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (Refreshed EMT – Basic) โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนทั้งสิ้น 122 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 90 คน ดังนี้ 1. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2. บุคลากรกรุงเทพมหานคร 3. บุคคลภายนอกตามเป้าหมายโครงการ ซึ่งปฏิบัติงานในเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 32 คน ดังนี้ 1. วิทยากร จำนวน 26 คน/รุ่น 2. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 6 คน/รุ่น 181,556.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1153 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อพัฒนาความพร้อมทางการแพทย์ฉุกเฉินในเหตุสาธารณภัย สาธารณภัยที่เกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานครทั้งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและมนุษย์ทำขึ้นเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ที่ผ่านมาได้สร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นแก่ชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมหาศาล เช่น เหตุความไม่สงบจากการชุมนุมทางการเมืองของประชาชน เหตุเพลิงไหม้อาคารสูง เหตุระเบิดจากการก่อการร้าย หรืออุบัติเหตุจากการคมนาคมต่างๆ สารเคมีรั่วไหลจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยเหตุการณ์ที่ผ่านมามีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ตลอดจนทรัพย์สินเสียหายเป็นจำนวนมาก การบริหารจัดการกับสาธารณภัยและภัยพิบัติให้เกิดขึ้นภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดนั้น จำเป็นต้องผสานความร่วมมือจากหลากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ในการระดมทรัพยากรในทุกๆด้าน เพื่อบริหารจัดการลดความเสี่ยงในการเกิดเหตุและการเตรียมความพร้อมปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุให้มีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการกับสาธารณภัยและภัยพิบัติจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถดำเนินการเพื่อช่วยบรรเทาและลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ นอกเหนือจากการเตรียมความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์และการพัฒนาเทคโนโลยีแล้ว การซ้อมแผนปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทดสอบและพัฒนาทักษะของบุคลากรในการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการที่ได้เตรียมไว้นับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ทราบถึงปัญหาและจุดอ่อนของการปฏิบัติการร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) เป็นส่วนราชการสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการจัดบริการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในเขตกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับสถานการณ์สาธารณภัยที่อาจเกิดขึ้น เป็นศูนย์กลางการประสานงานและพัฒนาระบบปฏิบัติการในพื้นที่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ฉุกเฉินสนับสนุนการปฏิบัติการในสถานการณ์สาธารณภัย จึงได้จัดทำโครงการระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อพัฒนาความพร้อมทางการแพทย์ในเหตุสาธารณภัยขึ้น เพื่อให้บุคลากรหน่วยงานในสังกัดสำนักการแพทย์และเครือข่ายในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์การปฏิบัติการทางการแพทย์ ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ในสถานการณ์ใกล้เคียงความเป็นจริง ได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้เรียนรู้แนวทางปฏิบัติที่บูรณาการการปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบที่ถูกต้อง เหมาะสม 9.1 ผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการเมื่อเกิดสาธารณภัยทราบแผนปฏิบัติการรับสาธารณภัย ด้านการแพทย์ในเขตกรุงเทพมหานคร 9.2 เกิดการบูรณาการการเผชิญเหตุสาธารณภัย โดยมีการจัดตั้งกองอำนวยการร่วมเผชิญเหตุสาธารณภัย 9.3 บุคลากรในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครสามารถปฏิบัติการช่วยเหลือ ผู้เจ็บป่วยจากเหตุสาธารณภัยได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 9.4 กรุงเทพมหานครทราบสถานะความพร้อมทางการแพทย์ในการปฏิบัติการเผชิญเหตุ สาธารณภัยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 9.5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเผชิญเหตุได้มีโอกาสซักซ้อมการปฏิบัติการร่วมกัน จัดโครงการระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อพัฒนาความพร้อมทางการแพทย์ในเหตุสาธารณภัย โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการฯ ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ด้านสาธารณภัย และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และมูลนิธิ อาทิ สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักเทศกิจ สำนักอนามัยสำนักงานเขต สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักการแพทย์ และโรงพยาบาลในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนประมาณ 300 คน 250,000.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 13.00
1154 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการประเมินศักยภาพผู้ปฏิบัติการในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ด้วยสำนักการแพทย์ โดยศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) ได้เปิดให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม 2550 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ด้วยบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ผ่านหน่วยปฏิบัติการซึ่งเป็นเครือข่ายในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผู้ปฏิบัติงานระดับพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (Emergency Medical Technician Basic : EMT – B) ปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์หรือพยาบาล ทั้งนี้เพื่อเป็นการควบคุม ติดตาม และกำกับดูแลคุณภาพของผู้ปฏิบัติการเครือข่ายในระบบฯ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรมูลนิธิ ในการนี้ สำนักการแพทย์ โดยคณะกรรมการดำเนินการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร จึงได้กำหนดให้มีการประเมินศักยภาพผู้ปฏิบัติการในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการกำกับติดตามและรับรองคุณภาพผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นเครือข่ายในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐานตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด และคงไว้ซึ่งบริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชนผู้รับบริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 9.1 บุคลากรผู้ผ่านการประเมินศักยภาพฯ ได้รับการทบทวนความรู้ และได้รับรองคุณภาพการปฏิบัติงาน สามารถออกปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด 9.2 ประชาชนผู้รับบริการ เกิดความมั่นใจในมาตรฐานการให้บริการของกรุงเทพมหานคร 9.3 หน่วยบริการซึ่งเป็นเครือข่ายในระบบการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน สามารถคงมาตรฐานของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด จัดให้มีการประเมินศักยภาพฯ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานระดับพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (Emergency Medical Technician Basic : EMT – B) ที่ปฏิบัติงานในเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร จำนวนประมาณ 450 – 500 คน 554,430.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1155 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม (ศบส.58) ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักเสน สังกัดสำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่แขวงบางปะกอก เขตราษฏร์บูรณะและเขตอื่นที่ใกล้เคียง ปัจจุบันศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักเสน อยู่ระหว่างก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่ ตามหนังสือที่ กท 0713.58/583 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เป็นโครงการต่อเนื่อง 3 ปี อาคารที่ทำการเป็นอาคาร 5 ชั้น มีกำหนดแล้วเสร็จ ในวันที่ 9 เมษายน 2564 จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการ โดยผ่านระบบเครือข่ายภายในเป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยอำนวยความสะดวกของศูนย์บริการสาธารณสุขหลายด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น แม้มีจำนวนบุคลากรจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถ ในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม 377,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1156 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี (สก.สนอ.) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเบิกจ่ายงบประมาณ 1. เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการดำเนินงานของส่วนราชการในสังกัด 2. เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 1. เพื่อให้การเบิกจ่ายเงินเป็นไปอย่างถูกต้อง และรวดเร็วตามเป้าหมายที่กำหนด 2. เพื่อเร่งรัด ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 3. เพื่อให้การใช้จ่้ายเงินกิดประสืิทธิภาพมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1157 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการเพิ่มพูนความรู้ด้านทันตกรรม (กทส.) วิชาชีพทันตกรรมเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การพัฒนาองค์ความรู้จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและไม่อาจจะหลีกเลี่ยงหรือนิ่งเฉยไปได้ การศึกษาต่อเนื่องของทันตแพทย์นั้น เป็นประโยชน์กับทั้งตัวของทันตแพทย์เองที่จะได้พัฒนาศักยภาพ เพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้เท่าทันต่อเทคโนโลยี และงานวิชาการ และยังเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้เข้ารับการรักษาที่จะได้รับบริการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ๑. เพื่อให้ทันตแพทย์เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการและวิทยาการทางด้านทันตกรรม ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ในการให้บริการด้านทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ถึงระดับเชี่ยวชาญ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 55 คน รวม 110 คน 189,800.00 125,950.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1158 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการสัมมนาและดูงานการบริการสาธารณสุข (สก.สนอ.) สำนักอนามัยเป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ความผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุน การจัดบริการด้านรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพอนาม้ย และป้องกันโรค รวมทั้งการดำเนินการตามกฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยผู้รับผิดชอบนอกจากผู้ให้บริการประชาชนโดยตรงแล้วยังประกอบด้วยผู้ปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนงานด้านวิชาการและปฏิบัติการ ร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจดังกล่าวให้ประชาชนหรือผู้รับบริการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งด้านสุขภาพอนามัย การศึกษา จิตใจ คุณธรรม ความพร้อมในการดำรงชีวิต รวมถึงการพัฒนาในทุกๆช่วงของชีวิต ซึ่งเมื่อประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีก็สามารถลดภาระงบประมาณในการดูแลรักษา และสามารถนำงบประมาณในส่วนนี้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ จีงได้กำหนดให้มีการสัมมนาและดูงาน เรื่อง "การบริการสาธารณสุข" เพื่อให้บคุลากรและข้าราชการมีความรู้ความเข้าใจและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และได้รับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานที่มีผลงานดีเด่นด้านการบริการงานด้านสาธารณสุข สามารถนำความรู้และประสบการณ์มาเป็นแนวคิดประยุกต์หรือบูรณาการในการพัฒนาระบบบริการของสำนักอนามัยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการพัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุข สามารถนำประสบการณืที่ได้รับจากการสัมมนาและดูงานไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการซึ่งเป็นบุคลากรกรุงเทพมหานครดีเด่นของสำนักอนามัยได้มีการพัฒนาศักยภาพการทำงานของตนเองจากประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการสัมมนา โครงการสัมมนาและดูงานการบริการสาธารณสุขมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 122 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 101 คน ดังนี้ 1. บุคลากรกรุงเทพมหานคร จำนวน 81 คน 2. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ชำนาญงาน และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการ จำนวน 20 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 21 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 18 คน 2. วิทยากร จำนวน 3 คน 987,125.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1159 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) (สพธ.) สำนักอนามัยเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุข 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกบำบัดยาเสพติด สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) จำนวน 21 ระบบงาน เพื่อตอบสนองภารกิจการจัดเก็บข้อมูลการรักษา ประวัติของผู้มารับบริการ และใช้ออกบัตรผู้ป่วย รวมถึงงานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข ตลอดจนงานบริการในชุมชน สถานศึกษา และสถานประกอบการ ผ่านระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) อันก่อให้เกิดประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ และสามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้วย เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีการโยกย้าย สับเปลี่ยนตำแหน่ง รวมถึงการรับบุคคลใหม่เข้ามาปฏิบัติงาน ทำให้เกิดปัญหาอุปสรรคต่อการใช้งานระบบฯ ขาดความรู้ความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) จึงมีความจำเป็นในการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการใช้งานระบบสารสนเทศ และสามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมมาใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ได้ถูกต้อง เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) อย่างมีประสิทธิภาพ จัดฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 2,647 คน กลุ่มเป้าหมายจำนวน 2,647 คน แบ่งตามจำนวนระบบงานได้เป็น 21 ระบบงาน จำนวน 38 รุ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานถึงระดับชำนาญงาน ที่ปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุข และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสังกัดสำนักอนามัย รวมจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 75 คน (รวมทุกรุ่น) ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ดำเนินการ รุ่นละ 2 คน รวมทุกรุ่น รวมจำนวนกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 2,722 คน 128,400.00 25,865.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1160 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ (ศบส.3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตบางซื่อและเขตอื่นที่ใกล้เคียง โดยจัดบริการสุขภาพประชาชนทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชน ได้ทำการสร้างอาคารใหม่ 5 ชั้น และอาคารสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน 2 ชั้น จึงมีจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริการ สร้างปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ของสำนักการจราจรและขนส่งตามระบบ CCTV และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทะิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ 1.ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ 2. ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคาร ชั้น 1-2 ของอาคารสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน 492,170.00 492,170.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1161 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง (ศบส.47) ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง เปิดทำการตั้งแต่ปี พ.ศ.2561 เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในแขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ ให้บริการสาธารณสุข ครอบคลุม 4 มิติ คือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ โดยเขตภาษีเจริญมีประชากรทั้งสิ้น 75,413 คน โดยพื้นที่รับผิดชอบ 1,046 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบัน ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง มีที่ทำการตั้งอยู่ในพื้นที่จำกัดเพียง 372 ตารางวา ลักษณะเป็น อาคาร 2 ชั้น ได้แก่ - ห้องเวชระเบียบ แบ่งพื้นที่ทำงานร่วมกับทีมลงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของศูนย์บริการสาธารณสุข และสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติและทีมคลินิกเบาหวาน - ห้องตรวจโรค ห้องที่ 1 แบ่งพื้นที่สำหรับคลินิกส่งเสริมสุขภาพสตรี ร่วมกับคลินิกกายภาพบำบัดและห้องตรวจพัฒนาการสำหรับเด็ก - ห้องตรวจโรค ห้องที่ 2 แบ่งพื้นที่สำหรับคลิกนิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี และแบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับวางอุปกรณ์สำหรับคลินิกกายภาพบำบัดเครื่องตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า - ห้องปฏิบัติการพยาบาล แบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับดำเนินการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน พื้นที่อีกส่วนหนึ่งสำหรับดำเนินงานทำให้ปราศจากเชื้อสำหรับเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ และพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นหน่วยสำรองและเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ - บริเวณรอตรวจ มีพื้นที่ขนาดเล็กไม่เพียงพอสำหรับรองรับประชาชนผู้มารับบริการ ทำให้ประชาชนผู้มารับบริการ ต้องนั่งรอบริเวณบันไดทางขึ้นบ่อยครั้ง กีดขวางทางเดินบันได ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มบริเวณบันได - ห้องทำงานธุรการและการเงิน - ห้องทำงานสำหรับทีมเภสัชกร แบ่งพื้นที่สำหรับจัดเก็บคลังยาใหญ่ และคลังยาย่อมของศูนย์ฯ - ห้องวางแผนครอบครัว - ห้องชันสูตร - ห้องสังคมสงเคราะห์และคลินิกบำบัดบุหรี่และยาเสพติดให้โทษ ทำให้มีปัญหามีปัญหาในการให้คำแนะนำที่ต้องการความเป็นส่วนตัว เพื่อรักษาความลับของผู้ป่วยก่อให้เกิดความล่าช้าในการให้บริการทางการแพทย์ ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจในการให้บริการ - ห้องน้ำหญิงและห้องน้ำชาย ชั้น 2 ประกอบ ด้วย - ห้องทันตกรรม แบ่งพื้นที่ทำงานร่วมกับทีมลงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์และบริเวณรอตรวจหน้าห้องฟัน - บริเวณรอตรวจทันตกรรม มีพื้นที่ขนาดเล็กไม่เพียงพอสำหรับรองรับประชาชนผู้มารับบริการ - ห้องอนามัยโรงเรียน อนามัยชุมชน - ห้องพัสดุชั้นบน - ห้องหัวหน้าพยาบาล - ห้องประชุม - ห้องผู้อำนวยการศูนย์ - ห้องน้ำเจ้าหน้าที่ ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คอลงขวาง จึงจัดทำโครงการก่อสร้างที่ทำการใหม่ขึ้นเพื่อให้เป็นสถานพยาบาลของรัฐ สังกัดกรุงเทพมหานครในแขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ มราสามารถพัฒนาศักยภาพในการดูแลคุณภาพชีวิตของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น 1. เพื่อเป็นพื้นที่ให้บริการประชาชน 2. เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาและบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพในการดูแลตนเองให้แก่ประชาชนอันมีผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. เพื่อประชาชนที่มารับบริการได้รับความสะดวกและปลอดภัย ก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข ค.ส.ล. 6 ชั้น และก่อสร้างอาคารหน่วยงานสนับสนุน ค.ส.ล. 2 ชั้นงานภูมิทัศน์ งานผังบริเวณและสิ่งก่อสร้างประกอบอื่นๆ งานจัดครุภัณฑ์ งานรื้อถอนอาคารเดิม - รื้ออาคารศูนย์บริการสาธารณสุข ค.ส.ล. 2 ชั้น หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง - รื้ออาคารชมรมผู้สุงอายุ ค.ส.ล. 1 ชั้น หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง - รื้อรั้วตาข่ายเหล็กด้านข้าง และด้านหลัง รื้อรั้วอิฐบล็อกด้านหน้า พร้อมประตูทางเข้าศูนย์ฯ ด้านหลัง - รื้อถอนที่จอดรถยนต์หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง 1,000,000.00 1,000,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1162 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) (สสธ.) - ก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) สร้างขี้นเพื่อรองรับสุนัขที่ถูกจับออกจากพื้นที่สาธารณะ ตามข้อร้องเรียนของประชาชน โดยนำสุนัขมาทำหมันและเลี้ยงดู ซึ่งสุนัขจะได้รับการฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้น โดยมีขั้นตอนการกักกันโรค ตรวจสุขภาพ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และนำไปเลี้ยงดูจนหมดอายุขัยที่ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดกรุงเทพมหานคร (อุทัยธานี) ทั้งนี้ จะได้ลดจำนวนสุนัขไม่มีเจ้าของและลดการเกิดปัญหาเป็นต้นว่า ปัญหาสภาพแวดล้อม สิ่งปฏิกูล ปัญหาความปลอดภัยของประชาชนผู้ใช้พื้นที่สาธารณะและสิ่งสำคัญที่สุดปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า - เพื่อปรับปรุงศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) - เพื่อสร้างคอกสุนัขต้นแบบของการพักพิงสุนัขอย่างถูกสุขลักษณะ - เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับสุนัข - เพื่อการคัดกรองโรคก่อสร้างต่อไปยังศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดกรุงเทพมหานคร (อุทัยธานี) - รองรับสุนัขจรจัดที่สร้างความเดือดร้อนรำคาญตามที่ได้รับข้อร้องเรียนจากประชาชน 1,000,000.00 1,000,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1163 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี (ศบส.34) ศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี สำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตพระโขนง โดยจัดบริการสุขภาพประชาชนทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชนในปีงบประมาณที่ผ่านมาศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ได้ทำการก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่เป็นอาคาร 5 ชั้น ตั้งอยู่ในพื้นที่ข้างอาคารเดิมของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ได้ตรวจรับแล้วเสร็จ ในวันที่ 10 สิงหาคม 2563 และมีแผนการเปิดให้บริการประชาชนในเดือนมกราคม 2564 นี้ จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ของสำนักการจราจรและขนส่งตามระบบ CCTV และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี 420,000.00 420,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1164 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 กิจกรรมพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำนักการศึกษา ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สำนักการศึกษา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 20.00
1165 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการจัดทำระบบสารสนเทศภาษีท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร -/- -/-* -/- 48,000,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1166 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและน้ำมันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก พัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและนำ้มันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก 1. อำนวยความสะดวกให้กับผู้เสียภาษี เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ 2. ให้บริการชำระภาษีด้วยวิธีทันสมัย 3. ให้บริการชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. พัฒนาระบบชำระเงินค่าภาษีผ่านระบบ e-payment ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล 2. เพื่อบริการทางเลือกให้แก่ผู้ประกอบการ 3. เสริมสร้างศักยาพด้านการเงินการคลังของกรุงเทพมหานครให้เป็นมาตรฐาน 15,800,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
1167 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการจัดทำคลังข้อมูลเปิดของย่านรัตนโกสินทร์ (Open Data Platform) (กสศ.) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เล็งเห็นถึงปัญหาในการเปิดเผยข้อมูลเปิดของเมือง (Urban Open Data : UOD) ที่จำเป็นต้องมี จึงขอเสนอโครงการจัดทำคลังข้อมูลเปิดของย่านรัตนโกสินทร์ (Open Data Platform) เพื่อรองรับการให้บริการการใช้ข้อมูลเปิดเผยของกรุงเทพมหานครแก่บุคคล องค์กร ที่มีความสนใจข้อมูล โดยอาศัยฐานข้อมูลจากแบบจำลองสารสนเทศเมืองย่านรัตนโกสินทร์ (CIM) และฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ มุ่งหมายที่จะสร้างช่องทางสำหรับประชาชนทั่วไป ในการเข้าถึงฐานข้อมูลของย่านรัตนโกสินทร์แบบเบ็ดเสร็จในที่เดียว โดยนำเสนออย่างเป็นระบบระเบียบเข้าใจง่ายผ่านจินตทัศน์สารสนเทศ (Data Visualization) ที่ชัดเจน เสริมด้วยการชี้ประเด็นสำคัญ ๆ และสรุปบทวิเคราะห์ในเรื่องเด่น ๆ ของเมือง ทั้งยังให้บริการเฉพาะด้านแก่บุคคล องค์กร ที่มีความสนใจข้อมูลในเชิงลึกอีกด้วย 1. เพื่อจัดทำคลังข้อมูลเปิดย่านรัตนโกสินทร์ให้เป็นช่องทางในการรับรู้ข้อมูลย่านของประชาชน สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการเมือง 2. เพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีช่องทางเผยแพร่และรับรู้ข้อมูลของกรุงเทพมหานครที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 3. พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลที่รวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ขนาดใหญ่ (Geospatial Big Data) ของเมือง ในหลากหลายมิติ โดยแสดงเป็นภาพสามมิติ (Visualization) ของพื้นที่เมือง ร่วมกับแผนภูมิและตาราง 1. สร้างแพลทฟอร์มคลังข้อมูลของย่านรัตนโกสินทร์ โดยดึงฐานข้อมูลจากแบบจำลองสารสนเทศเมืองย่านรัตนโกสินทร์ (CIM) และฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 2. สร้างช่องทางการเข้าถึงคลังข้อมูลย่านของประชาชน เช่น เว็บไซต์ และเพจในสื่อสังคมออนไลน์ 3. นำเสนอประเด็นสำคัญของเมืองและบทวิเคราะห์เรื่องเด่นต่าง ๆ ของเมือง 4. ให้บริการเฉพาะด้านแก่บุคคล องค์กรที่มีความสนใจข้อมูลในเชิงลึก 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1168 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการศึกษาและวิเคราะห์สถาปัตยกรรมองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกระบวนการทำงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 1 สถานการณ์การดำเนินการของหน่วยงานในปัจจุบันมีการปฏิบัติงานหลายขั้นตอนใช้กระดาษเป็นจำนวนมากโปรแกรมการปฏิบัติงานไม่ครอบคลุมถึงกระบวนการตามภารกิจที่สำคัญ ข้อมูลมีการจัดเก็บซ้ำซ้อนและขาดผู้รับผิดชอบสำหรับข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันและแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) เสนอแนวทางเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างแผนแม่บทฯ และภารกิจขององค์กรในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า อาทิ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการบริหารทรัพยากรบุคลากรเป็นต้น เพื่อให้รองรับกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ การขับเคลื่อนของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัญหาส่วนใหญ่คือ การขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) กับพันธกิจองค์กร (Business) ซึ่งเป็นผลก่อให้เกิดความล้มเหลวของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรอาทิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดซื้อด้วยราคาแพงแต่ใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับกระบวนการทางพันธกิจ (Business Process) ไม่ตอบโจทย์ วิสัยทัศน์ทางธุรกิจ (Business Vision)ขององค์กร รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีความซับซ้อนเกินความจำเป็น สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) เป็นแนวความคิดใหม่ที่บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับพันธกิจขององค์กรอย่างเป็นระบบตั้งแต่การกำหนดโจทย์การบริการการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) เพื่อออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมโยงกับการดำเนินงานได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ Architecture ไปจนถึง Roadmapขององค์กร เพื่อผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ขององค์กรที่กำหนดไว้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีผลต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อมุ่งเน้นไปสู่การเป็นองค์กรที่ใช้ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในการทำงาน (Data Driven Organization) และลดการใช้กระดาษให้มากที่สุด 3. เพื่อกำหนดกระบวนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ Single Source โดยมีการกำหนด Data Operation และ Data Governance ที่เหมาะสม 5. เพื่อเป็นแนวทางกำหนดกรอบการพัฒนาแอปพลิเคชันที่เน้นการเชื่อมโยงระบบผ่านAPIเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการเปิดข้อมูลให้กับ Stakeholder ผ่าน Public API 1.รายงานสรุปผลการศึกษา เพื่อคัดเลือกกรอบแนวทางที่เหมาะสมใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของกรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมองค์กร ที่เหมาะสม และจัดทำรายละเอียดข้อมูลสถาปัตยกรรมองค์กรในแต่ละด้านที่สอดคล้องตามกระบวนการโดยระบุถึงข้อมูลหลักของกระบวนการแหล่งที่มาของข้อมูลและผู้ใช้งานข้อมูล 2. การบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับกระบวนงานตามภารกิจอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กรที่พร้อมสู่การเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคงไปสู่การปฏิบัติ 3. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจอย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติ 3,190,000.00 3,095,400.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1169 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 จัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 10 สำนักงานเขต ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) :บ้านเมืองสะอาดการบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขต ต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับ สำนักงานเขต จำนวน 10 สำนักงานเขต ได้แก่ สำนักงานเขตบางกอกน้อย หลักสี่ ปทุมวัน วัฒนา คลองเตย หนองจอก ตลิ่งชัน ธนบุรี ทุ่งครุ และสวนหลวง ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการ ด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จัดซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้องทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การให้บริการระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของกรุงเทพมหานคร สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานครได้ อีกทั้งประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็ว ในการเข้ารับบริการจึงมีความจำเป็นต้อง จัดหาระบบคอมพิวเตอร์และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 10 สำนักงานเขต ต่อไป 1 เพื่อให้ทั้ง 10 สำนักงานเขต มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีประสิทธิภาพ ในการให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน 2 เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้อย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC สำนักงานเขตทั้ง 10 สำนักงานเขต มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีความทันสมัย และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อให้สามารถให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้รับความพึงพอใจจากประชาชน 47,240,900.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1170 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 กิจกรรมการตรวจสอบความคืบหน้าของการติดตั้งระบบสารสนเทศภายในศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร 1 1 1 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
1171 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานราชการทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับการคำขออนุญาต/บริการจัดตั้งธุรกิจ (Doing Business Platform)รวมถึงกรุงเทพมหานครต้องพัฒนาระบบฯ สำหรับรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Open Data) กับทางศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานภาครัฐระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อกับทางราชการ ในฐานะเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาออกใบอนุญาต/บริการ โดยรับหน้าที่เป็นหน่วยงานรับข้อมูลจากประชาชนที่ติดต่อมาขอรับใบอนุญาต/บริการ ตลอดจนรับ - ส่งส่งต่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบเชื่อมโยง เพื่อส่งต่อข้อมูลของประชาชนให้กับหน่วยงานในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศกลาง สำหรับเป็นศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพหานคร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติฯ ที่กำหนด รวมถึงประชาชนสามารถติดตาม (Monitoring / Tracking) การออกใบอนุญาต/บริการ พร้อมระบบแจ้งเตือน (Alert) เพื่อรายงานสถานะการดำเนินการ และผลการพิจารณาการออกใบอนุญาต/บริการ ให้ประชาชนได้รับทราบ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้แบบเบ็ดเสร็จ 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามสถานะการดำเนินการ และรับทราบผลการพิจารณาใบอนุญาต/บริการ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบออนไลน์ 1. กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต รวมถึงมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับ-ส่งข้อมูลของประชาชนที่มาติดต่อกับทางราชการ ตลอดจนหลักฐานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับศูนย์รับคำขออนุญาตของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการติดต่อกับทางราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร 2. ประชาชนสามาถติดตามสถานะการดำเนินการการขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โดยดำเนินการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ ของกรุงเทพมหานคร 83,237,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 50.00
1172 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ ในกรุงเทพมหานครมีหลากหลายด้าน หลากหลายมุมมองได้ก่อตัวและขยายวงกว้างมากขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารจัดการเมือง รวมไปถึงการกระทำ หรือการแสดงความคิดเห็น ตลอดถึงการรายงานสถานการณ์ต่างๆ การขอความช่วยเหลือ และการร้องเรียนในเรื่องต่างๆ ทั้งที่เป็นเรื่อง ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่จากทั้งระบบฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครและข้อมูลจากเครือข่ายทางสังคม (Social Network) เพื่อความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคมและประชาชน รวมทั้งส่วนที่เพิ่มเติมในระบบคลังข้อมูลกลางกรุงเทพมหานคร ด้านวัฒนธรรม ด้านคุณภาพชีวิต และด้านสวัสดิการสังคม เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ยังไม่มีอยู่แต่จำเป็นต่อการสนับสนุนคลังข้อมูลกลาง และเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่หลักเพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาล และการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพฯ เพื่อทำให้เมืองกรุงเทพฯ ก้าวสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) หมายถึง การเก็บข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องในการเก็บข้อมูลที่มีขนาด (Volume) ความหลากหลาย (Variety) และความเร็ว (Velocity) ของข้อมูลที่สูงมาก และสิ่งสำคัญคือคุณค่าของข้อมูล (Value) ที่เป็นแบบที่มีโครงสร้าง (Structure) และไม่มีโครงสร้าง (Unstructure) ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ โดยการวาง Schema ให้เหมาะสมและตรงตามโจทย์ที่ต้องการได้รับคำตอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพของกรุงเทพมหานครให้พัฒนาไปสู่องค์กรสมัยใหม่ที่มีการบริหารงาน ด้วยข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ มีความหลากหลายครอบคลุมรอบด้าน สามารถนำมาใช้ในการวางแผนและบริหารงานในเชิงรุกได้ 1. เพื่อค้นหาข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และนำมาวิเคราะห์ พยากรณ์ และคาดการณ์เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในกรุงเทพฯ 2. ระบบจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจาก Social Network เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ เมืองกรุงเทพฯ 1. เพื่อรวบรวม และวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 2. ระบบสามารถวิเคราะห์ พยากรณ์และคาดการณ์เรื่องต่างๆ ในอดีตและปัจจุบันได้ 3. ระบบสามารถครอบคลุมการดำเนินงานตามภารกิจของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ 87,200,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ชะลอ 48.00
1173 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ ในฐานะกรุงเทพมหาครเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์รับคำขออนุญาต ประกอบปัจจุบันอยู่ในยุคของสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) จึงเห็นควรจัดหาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการรับ-ส่งใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว ตลอดจนปรับปรุงระบบการรับชำระเงินที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยและหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการเป็นศูนย์รับคำขอของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) อย่างเต็มรูปแบบและทันสมัยโดยผ่านการให้บริการของธนาคาร หรือตัวแทนรับชำระเงิน เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการที่มาติดต่อขอรับชำระค่าธรรมเนียมจากค่าบริการในการออกใบอนุญาต ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมายังหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สามารถชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง 1. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อหรือ การทำธุรกรรมทางด้านการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเต็มรูปแบบหลากหลายช่องทาง รวมถึงรองรับการรับชำระเงินค่าธรรมเนียมได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาติดต่อขอชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตที่หน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการไม่ต้องเดินทางมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยสามารถรับเอกสารใบสำคัญหรือใบอนุญาตได้จากระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบขนส่งอัจฉริยะของภาคเอกชน 3. เพื่ออำนวยความสะดวกให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถสอบทานตัวเลขค่าธรรมเนียมและค่าภาษีได้สะดวกรวดเร็วและถูกต้องทันการณ์ โดยสามารถสรุปข้อมูลรายรับ พร้อมส่งต่อข้อมูลไปยังทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจในด้านการวางแผนงบประมาณรายรับได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 1. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนหรือผู้ประกอบการ โดยมีทางเลือกในการชำระเงินค่าธรรมเนียม ค่าภาษี ไม่ต้องถือเงินสด และยังรองรับการรับชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมงผ่านช่องทางหลากหลาย รวมถึงไม่ต้องเดินทางมายังหน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานครเพื่อมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านมาอนุมัติแล้ว 2. เพื่อรองรับการบูรณาข้อมูลการรับชำระเงินของกรุงเทพมหานครกับหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณภาครัฐได้อย่างแม่นยำถูกต้อง 40,100,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
1174 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล การดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องกำหนดนโยบายและวางแนวทางปฏิบัติทางด้านความปลอดภัยในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหาครใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549ด้วยการนำเทคโนโลยีระบบรหัสแบบกุญแจสาธารณะ หรือกุญแจสมมาตร ที่ประกอบด้วยกุญแจส่วนตัว (Private key) และกุญแจสาธารณะ (Public key) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล พร้อมด้วยการใช้โปรโตคอลSecure Socket LayerหรือSSL มาประยุกต์ใช้ในการเข้ารหัส และการถอดรหัส (Encryption) ในระหว่างขั้นตอนการรับ–ส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและเชื่อมั่นได้ว่า เอกสารสำคัญหรือข้อมูลของทางราชการยังคงได้รับการปกป้องและยังคงเป็นความลับ (Data Confidentiality)จากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือผู้ไม่หวังดีเข้ามาอ่าน หรือขโมยข้อมูลระหว่างการดำเนินธุรกรรมได้ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับการออกใบอนุญาตในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และการทำธุรกรรมของกรุงเทพมหานครที่มีความน่าเชื่อถือและมีผลถูกต้องตามกฎหมาย 2 เพื่อสร้างความเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานครในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการกับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต 3. เพื่อบ่งบอกและยืนยันตัวบุคคลในโลกดิจิทัล สำหรับรองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้มีผลตามกฎหมาย 1. ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการหรือหน่วยงานภาครัฐที่ร่วมทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต มีความเชื่อมั่นในด้านการรักษาความลับของข้อมูล ตลอดจนความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล แม้อาจมีการถูกดักจับข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรม 2. เป็นการยกระดับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ตลอดจนสามารถยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัลได้ 47,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 50.00
1175 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนคร - - - 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1176 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน การพัฒนาชุมชนเป็นกระบวนการเคลื่อนไหวไปสู่การเปลี่ยนแปลงเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถพึ่งพาและช่วยเหลือตนเองได้เป็นการยกระดับชุมชนให้ดีขึ้นรวมไปถึงสังคมที่พัฒนาตามมาด้วย 1. ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ 2. การจัดกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชนประสบความสำเร็จประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 3. ชุมชนรู้จักการบริหารจัดการและทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน จากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน 2,220,000.00 1,572,500.00 สำนักงานเขตพญาไท 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1177 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคม รวมทั้งความรู้ความสามารถและส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์อันดีงามจากผู้อาวุโสสู่คนรุ่นใหม่ 1. เป็นศูนย์กลางของการประสานและเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านผู้สูงอายุที่มีทั้งความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ อันจะนำมาช่วยงานของส่วนรวมและของกรุงเทพมหานคร 2. เสริมสร้างความตระหนักในคุณค่าและคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคมโดยส่วนรวมและให้เกิดความเคารพยกย่องผู้สูงอายุ อันนำไปสู่แนวทางการลดปัญหาสังคม 3. เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นหลัง 10,000.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1178 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพญาไทได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินการจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไท เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานและขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่และสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยเพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำในการพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. สภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไทมีความเข้มแข็งและยั่งยืน เป็นการส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม 2. ให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมสามารถพัฒนาระบบความคิดและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเพื่อเตรียมพร้อมในการเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าพัฒนากรุงเทพมหานครและประเทศไทยต่อไปในอนาคต 149,800.00 82,088.00 สำนักงานเขตพญาไท 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1179 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมประเพณีและวันสำคัญอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สืบทอดมาช้านานควรแก่การดำรงรักษาอนุรักษ์สืบทอดไว้สำนักงานเขตพญาไทจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยให้ดำรงเป็นเอกลักษณ์ของไทยสืบไป 500,000.00 134,780.00 สำนักงานเขตพญาไท 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1180 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักงานเขตมีนบุรีฐานข้อมูล ปัจจุบันการให้บริการภาครัฐมุ่งเน้นให้บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการรวบรวมข้อมูลต่างๆในระบบสารสนเทศต้องมีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ดำงนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาฐานข้อมุลให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.เพื่อสร้างเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลให้เกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว 2.เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลของสำนักงานเขตมัีนบุรีที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และทันสมัย 3.เพื่อให้หน่วยงานราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีสามารถนำเข้าข้อมุลไปใช้ประโยชน์ได้ 4.เพื่อให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะหืให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักข้องหน่วยงาน 1.การพัมนาและจัดเก้บข้อมูลในฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมุลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 2.หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน ประชาชนทั่วไป ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีได้รับทราบข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งานฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2020-10-01 00:00:00 2021-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1181 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตลาดกระบัง เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านดิจิทัลของ กทม. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านดิจิทัลของ กทม. มีการจัดเก็บฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1182 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขต ศูนย์วิชาการเขตเป็นนวัตกรรมหนึ่งในการพัฒนาการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดให้ได้มาตรฐานทัดเทียมกัน และส่งผลถึงการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ฉะนั้น สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ โดยฝ่ายการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด ทั้ง 6 โรงเรียน จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขตบางกอกใหญ่ขึ้น เพื่อส่งเสริมคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัดของสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และผดุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ได้รับการรับรองและประกันคุณภาพจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ให้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัดต่อไป 1 เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาและงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน 2 เพื่อผดุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดตามการประเมินและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 3 เพื่อสนับสนุนกระบวนการตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องในการรอรับการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามนโยบายสำนักการศึกษา 4 เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างครูมืออาชีพ 1.ด้านปริมาณ - โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ทั้ง 6 โรงเรียน ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพครู 2. ด้านคุณภาพ - โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ทั้ง 6 โรงเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานและได้รับการประกันคุณภาพ - ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครู 26,200.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2021-04-01 00:00:00 2021-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1183 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชนและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประทศ แม้ว่าจะมีบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยงานภาคีในทุกระดับ ตลอดห้วงปีงบประมาณ 2558 โดยมุ่งหมายเพื่อลดปริมาณผู้เข้าสู่การกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดและนำคนออกจากวงจรการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้เห็นได้อย่างชัดเจน จนสามารถควบคุมปัญหาให้อยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสังคมและประชาชนส่วนใหญ่ และจากสถานการณ์การค้าและการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครในภาพรวม จะเห็นได้ว่า กลุ่มอายุของผู้ต้องหาในสัดส่วนใกล้เคียงกันร้อยละ 22 มีอายุระหว่าง 20-24 ปี และ 25-29 ปี สะท้อนให้เห็นถึงอายุของผู้กระทำความผิดส่วนใหญ่อยู่ในวัยเริ่มต้นทำงานและวัยแรงงาน จากสถานการณ์และการแพร่ระบาดของยาเสพติดข้างต้นเป็นเรื่องที่น่าห่วงใย ประกอบกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปราบยาเสพติดแห่งชาติ ได้มีคำสั่ง ที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2558 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานครและมีศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานคร (ศอ.ปส.กทม.) โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการบริหาร มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมายในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สั่งการมอบหมายให้หน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการบูรณาการทั้งแผนงานงบประมาณและการปฏิบัติ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ในฐานะศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขต (ศป.ปส.เขต) ซึ่งทำหน้าที่อำนวยการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ได้ตระหนักว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนโดยเฉพาะประชาชนหรือผู้นำชุมชนที่มีจิตอาสาในการช่วยเฝ้าระวังตามมาตรการที่กำหนดและเพื่อให้การดำเนินการในการจัดทำกิจกรรมพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตบางกอกใหญ่ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีแนวทางที่ชัดเจน จึงได้จัดทำโครงการเริ่มดำเนินการพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ จึงได้ดำเนินงานกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เขตบางกอกใหญ่ ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น 1. เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตบางกอกใหญ่ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตบางกอกใหญ่ในการปฏิบัติหน้าที่ - จัดให้มีอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตบางกอกใหญ่ ประจำวันละ 2 ผลัด ๆ ละ 2 คน ผลัดที่ 1 เวลา 16.00 - 24.00 น. และผลัดที่ 2 เวลา 24.00 - 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้นได้รับค่าตอบแทนในการปฏิบัติหน้าที่ 49,000.00 49,000.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1184 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครในปี 2563 (5 มกราคม 2563 – 6 มิถุนายน 2563) พบว่าผู้ป่วยสะสมจำนวน 8,364 ราย อัตราป่วย 147.34 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.06 โดยจำนวนผู้ป่วยที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 5 – 14 ปีรองลงมา ได้แก่กลุ่มอายุ 15 - 34 ปี และ 0 - 4 ปี ตามลำดับ โดยอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกเปอร์เซนต์ ไทล์ที่ 80 (ปี 2557 – 2561) มีค่าเท่ากับ 232.84 ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราป่วยอยู่ในระดับสูงและยังเป็น ปัญหาสาธารณสุขสำคัญในลำดับต้นๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วย เสียชีวิต สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวม ซึ่งโรคไข้เลือดออกมีปัจจัยสนับสนุนมาจากความหนาแน่น แออัดวิถีชีวิต และการเคลื่อนย้าย ของประชากร ทำให้ไม่สามารถจัดการกับภาชนะแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ตามเป้าหมาย การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน โดยให้ความสำคัญ กับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดจำนวนยุงลายพาหะนำโรค ซึ่งเป็นมาตรการสำคัญในการ ป้องกันควบคุมโรค ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ได้มีการรับรองมติ“สานพลังปราบ ยุงลาย โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน” เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาเรื่องไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน เริ่มจากในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน ทำทุกคน ทำทุกที่ จำเป็นต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากหลายภาคส่วนทั้งเครือข่ายความร่วมมือต่างๆ องค์กร ชุมชน สังคม ครอบครัวและบุคคล โดยนำแนวทางจัดการ พาหะนำโรคแบบผสมผสาน (Integrated Vector Management) มาบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ รวมถึงการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ผู้บริหารองค์กร และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและประสาน ความร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตบางกอกน้อย โดยฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 1.เพื่อเสริมสร้างระบบกลไกในการดำเนินงานด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทุกระดับ ให้เกิดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายในกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ปลอดลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมกรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย 1.ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชนที่จดทะเบียนจำนวน 42 ชุมชน 2.ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 42 ชุมชน ให้มีค่า HI อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 295,600.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 0.00
1185 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การปฏิบัติงานด้านการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี สนับสนุนให้สถานประกอบการต่างๆ และประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการและควบคุมปัจจัยหรือสภาวะแวดล้อมที่เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะกับการดำรงชีพของประชาชน ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัย ในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการ และการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของอาคารที่พักอาศัย และสถานที่ทำงานให้มีสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและ 2. เพื่อปรับปรุง พัฒนามาตรฐานความสะอาดและสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 3. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขลักษณะ รวมถึงด้านอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วยการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ คนงาน ชุมชน และประชาชนทั่วไป 5. เพื่อประชาสัมพันธ์ แนะนำ บังคับใช้กฎหมายที่มีการแก้ไขและประกาศใช้ที่เกี่ยวกับทางด้านสาธารณสุข อาทิ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้น 1. มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตบางกอกน้อย โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 2. สถานประกอบการในพื้นที่บางกอกน้อยได้รับการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 3. สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องได้รับการตรวจสอบ แนะนำ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.๒๕๖๐ และเจ้าหน้าที่ได้บังคับใช้กฎหมายดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม 165,100.00 140,850.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1186 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ สำนักงานเขตตลิ่งชันเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านส่งเสริมอาชีพแก่ประชาชน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมทักษะวิชาชีพ เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ เป็นทางเลือกหนึ่งให้ประชาชนที่ว่างงาน ผู้มีรายได้น้อย ได้มีโอกาสฝึกอบรมเสริมสร้างทักษะวิชาชีพ ตลอดจนพัฒนาฝีมือเพื่อนำไปประกอบเป็นอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริมเพิ่มพูนรายได้ 2.1 เพื่อให้ประชาชนมีรายได้เสริม มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2.2 เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ให้แก่ประชาชนผู้สนใจ ให้มีโอกาสเข้ารับการอบรมวิชาชีพ และประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.3 มีการรวมกลุ่มกันและสร้างเครือข่าย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เปิดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันและประชาชนทั่วไป ผู้สนใจ จำนวน ๒ หลักสูตร 33,000.00 33,000.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-05-31 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1187 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน ตามระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 โดยกำหนดให้กรุงเทพมหานครจ่ายค่าสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน โดยเบิกจ่ายตามจำนวนบ้านที่มีทะเบียนบ้านของแต่ละชุมชน สำนักงานเขตตลิ่งชัน ซึ่งเป็นเขตชั้นนอกสภาพโดยทั่วไปส่วนใหญ่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและการเกษตรบางส่วน ทำให้การเคลื่อนย้ายของประชาชนจากชุมชนอื่นกระจายเข้าสู่พื้นที่กลายเป็นสังคมเมือง การดำเนินการพัฒนาชุมชนจึงนับว่ามีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนมากขึ้น ทำให้รูปแบบการดำเนินการพัฒนาชุมชนต้องอาศัยกลไกของประชาชนที่สามารถเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงได้กับทุกสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนตามกระบวนการพัฒนาอย่างแท้จริง การสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน จึงเป็นเป้าหมายหลักที่สามารถกระจายงบประมาณให้แก่กลไกหลักในการพัฒนาชุมชน อันได้แก่ คณะกรรมการชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งอย่างเป็นทางการเพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนทางสังคมและสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ตามความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริงต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการสนับสนุนกรรมการชุมชนให้สามารถดำเนินงานพัฒนาท้องถิ่นของตนเองอย่างแท้จริงต่อเนื่องและยั่งยืน ครบทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านอนามัย และด้านจิตใจ 2.2 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกระบวนการทำงานร่วมกันของกรรมการชุมชนและประชาชน ให้เกิดความเข้มแข็ง 2.3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ส่งเสริมการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชัน จำนวน 45 ชุมชน 3,090,000.00 1,079,155.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1188 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ คนพิการฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือ หรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบ หรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกัน และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ด้อยโอกาส โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้พิการสามารถเข้าถึงสวัสดิการ และความช่วยเหลืออื่นจากรัฐอย่างทั่วถึง โดยสำนักพัฒนาสังคมซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของประชาชน การจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบปัญหา ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีรูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมกับประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 2.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ และการจัดสวัสดิการสังคมของฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน 3.1 จ้างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมประจำสำนักงานเขตตลิ่งชัน จำนวน ๔ คน 3.2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ ได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ ได้รับสวัสดิการและการส่งเสริมพัฒนาอย่างครอบคลุม ทั่วถึง และเป็นธรรม รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือในกรณีจำเป็นอย่างรวดเร็ว 3.3 เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการ การพัฒนาชุมชน การให้บริการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสในทุกภาคส่วนของกรุงเทพมหานคร 585,200.00 528,657.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1189 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ คนพิการฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือ หรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบ หรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เพื่อให้ประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกัน และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ด้อยโอกาส โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้พิการสามารถเข้าถึงสวัสดิการ และความช่วยเหลืออื่นจากรัฐอย่างทั่วถึง โดยสำนักพัฒนาสังคมซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบปัญหา ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีรูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่างฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมกับประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ และการจัดสวัสดิการสังคมของฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน 3.1 จ้างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสประจำสำนักงานเขตตลิ่งชัน จำนวน ๔ คน 3.2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ ได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ ได้รับสวัสดิการ และการส่งเสริมพัฒนาอย่างครอบคลุม ทั่วถึง และเป็นธรรม รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือในกรณีจำเป็นอย่างรวดเร็ว 3.3 เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการ การพัฒนาชุมชน การให้บริการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสในทุกภาคส่วนของกรุงเทพมหานคร 514,600.00 401,199.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1190 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เป็นภารกิจที่กรุงเทพมหานครได้รับการถ่ายโอนมาจากกรมส่งเสริมการเกษตร ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2543 จำนวน 50 ศูนย์ ในพื้นที่ 26 เขตชั้นนอก เป็นศูนย์กลางให้เกษตรกรได้เข้ามามีส่วนร่วมคิด วิเคราะห์ วางแผน และบริหารจัดการแผนด้วยตนเอง และเป็นสถานที่ให้บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง รวมทั้งเป็นศูนย์กลาง การให้ข้อมูลข่าวสารการเกษตรที่สำคัญแก่เกษตรกรในลักษณะบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดจุดศูนย์รวมการบริการความรู้ด้านการเกษตร เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมข้างต้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายขององค์กรและเกิดประโยชน์สูงสุดกับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป สำนักงานเขตตลิ่งชัน โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมกิจกรรมศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 2.1 เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม พัฒนาอาชีพ และอนุรักษ์พื้นที่การเกษตร 2.3 เพื่อส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านการเกษตร 3.1 จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 4 ครั้ง/ปี 3.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาด้านการเกษตร ให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป การให้ความรู้และสาธิตเทคโนโลยีด้านการเกษตร 3.3 ประชาสัมพันธ์ข่าวสารและองค์ความรู้ด้านการเกษตรให้แก่ เกษตรกรและประชาชนผู้สนใจ 460,400.00 398,440.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1191 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา กรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการกีฬาเพื่อมวลชนและการพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมีความเกี่ยวพันและเป็นความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครเป็นส่วนใหญ่ จึงได้กำหนดให้มีการจัดตั้งลานกีฬาสำหรับประชาชนที่กระจายอยู่ในชุมชนต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นสถานที่ออกกำลังกาย เสริมสร้างพลานามัย นันทนาการ และการจัดกิจกรรมรวมกลุ่ม เพื่อการพัฒนาและจัดระเบียบชุมชนของตนให้น่าอยู่ และนอกเหนือจากนี้ ยังเป็นการสร้างทางเลือก แก่ประชาชนในชุมชนด้านการป้องกันปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ โดยได้กำหนดให้โครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา เป็นโครงการนโยบายของกรุงเทพมหานครและให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลการดำเนินงานที่ผ่านมามีข้อควรปรับปรุงในเรื่องความพอเพียงในการให้บริการ เช่น การปรับปรุงในด้านกายภาพ อุปกรณ์กีฬา จำนวนลานกีฬาและจำนวนอาสาสมัครลานกีฬา รวมทั้งผู้ใช้บริการมีความต้องการให้มีสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ห้องน้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง เป็นต้น สำนักงานเขตตลิ่งชัน มีลานกีฬาทั้งสิ้น 17 ลาน ดังนั้นเพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬาขึ้น เพื่อจัดหาสถานที่ให้ประชาชนในชุมชนได้มีสถานที่ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และสร้างสรรค์กิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน รวมทั้งเป็นสถานที่ในการทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัวอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีอาสาสมัครลานกีฬา ช่วยปฏิบัติงานในลานกีฬา เพื่อให้มีความพร้อมต่อการใช้บริการ สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมด้านสโมสรกีฬาการปรับปรุงด้านกายภาพ เพื่อพัฒนาระดับลานกีฬาในพื้นที่เขตตลิ่งชัน ให้มีมาตรฐานและเกิดเป็นรูปธรรม อันจะนำไปสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันต่อไป 2.1 เพื่อจัดหาสถานที่ให้ประชาชนในชุมชน ได้มีสถานที่ออกกำลังกายเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง และสร้างสรรค์กิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน รวมทั้งเป็นสถานที่ในการ ทำกิจกรรมร่วมกันของคนในครอบครัวอย่างต่อเนื่อง 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้มีโอกาสพัฒนาความสามารถด้านกีฬา 2.3 เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมต่างๆ ของสโมสรกีฬาเขตตลิ่งชัน 3.1 จ้างอาสาสมัครลานกีฬา จำนวน 4 คน เพื่อจัดกิจกรรมด้านกีฬาและนันทนาการ ภายในลานกีฬาให้แก่ผู้มาใช้บริการลานกีฬา 3.2 สนับสนุนให้สมาชิกสโมสรกีฬาเขตตลิ่งชัน และประชาชนทุกเพศทุกวัยในชุมชนพื้นที่ เขตตลิ่งชัน ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้านการกีฬา 685,900.00 577,127.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1192 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ที่สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงได้มีการปรับแนวคิดใหม่ที่ไม่เน้นพัฒนาประเทศแบบแยกส่วน แต่เน้นการพัฒนา แบบองค์รวม โดยดำเนินการพัฒนาอย่างมีความสมดุล รู้จักพอประมาณอย่างมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันโลก และเสริมสร้างให้เกิดคนดีในสังคมทุกระดับ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลและเป็นผู้สืบทอดเจตนารมณ์และวิถีชีวิตของประเทศ หากเด็กและเยาวชนไม่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพให้สอดคล้องกับการพัฒนาการของร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จะทำให้ขาดบุคลากรที่ดีมีคุณภาพไม่สามารถพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าได้ ห้องสมุด คือ ขุมคลังทางปัญญาของชุมชน และเป็นสัญลักษณ์ของความใฝ่รู้ของผู้คนในสังคม นั้น ๆ ซึ่งมีความเคลื่อนไหวทางปัญญาและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และห้องสมุดที่ดีสามารถตอบสนองความต้องการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองของเด็ก เยาวชน และประชาชนได้มากที่สุดในการหาความรู้ในเชิงวิชาการ การติดตามข่าวสารบ้านเมืองผ่านสื่อในรูปแบบต่างๆ ที่มีความน่าสนใจ ทันสมัย ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ และควรต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่หลากหลายและต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนรู้จักแสวงหาข้อมูลรู้จักคิด รู้จักเลือกสรรสารสนเทศที่ดีมีประโยชน์เหมาะแก่การนำไปใช้ ในการดำเนินชีวิตพัฒนาตนเอง ให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้สร้างสรรค์ประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตตลิ่งชันได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยเฉพาะ การส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมาใช้บริการอ่านหนังสือ และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่บ้านหนังสือมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวรักการอ่าน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการเรียนรู้และพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ให้ประชาชนได้ทุกเพศทุกวัย 2.1 เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.2 ส่งเสริมเด็ก เยาวชน และประชาชนให้มีนิสัยรักการอ่าน และการศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียน 2.3 เพื่อให้บริการข่าวสารและความรู้ต่างๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวของประเทศและโลก 2.4 ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.5 เพื่อส่งเสริมภาพพจน์ ด้านการให้บริการสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานครในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน เด็ก เยาวชน และประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 170 คน รวมทั้งสิ้น 340 คน จัดกิจกรรม ณ บริเวณบ้านหนังสือวัดทองบางเชือกหนัง และบ้านหนังสือชุมทางตลิ่งชัน เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ทำกิจกรรมส่งเสริมการอ่านร่วมกัน เมื่อการดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่านตามความมุ่งมั่นและวิสัยทัศน์ของกรุงเทพมหานคร 80,000.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1193 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีบุคลากรผู้สูงอายุที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นภูมิปัญญา ที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดจำนวนมากมายที่ไม่ได้นำความรู้ความสามารถที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์และนับวันจะลดน้อยลงไปเรื่อยๆ ซึ่งกลุ่มผู้สูงอายุเหล่านี้มีความตื่นตัวสูงในการรวมกลุ่ม เพื่อร่วมทำกิจกรรมต่างๆ รวมถึงให้ความช่วยเหลือสังคม ตลอดจนมีความตั้งใจที่จะนำความรู้ความสามารถมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อสรรหาและคัดเลือก รวมถึงเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อสังคมให้คนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป 2.1 เพื่อสรรหาและเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ที่ควรอนุรักษ์และสืบทอด 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนนำภูมิปัญญาที่ได้รับการเผยแพร่ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2.3 เพื่อเป็นการสร้างเสริมเอกลักษณ์ไทยจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.4 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงผู้สูงอายุในฐานะบุคคลที่มีประโยชน์ต่อสังคม สรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เขตตลิ่งชัน 1 ภูมิปัญญา เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ณ สำนักงานเขตตลิ่งชัน 10,000.00 5,500.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1194 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 ได้กำหนดให้ทุกจังหวัด และกรุงเทพมหานครจัดตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตขึ้น ซึ่งให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีหน้าที่ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทั้งแก้ปัญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อเด็กและเยาวชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับระดับความรู้ความสามารถซึ่งพัฒนาไปตามวัย ของเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตตลิ่งชัน โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชน อีกทั้งผู้นำเด็กและเยาวชนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้เยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิด และมี ส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 2.1 เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเขตตลิ่งชัน 2.2 เพื่อให้สภาเด็กและเยาวชนเขตตลิ่งชันเป็นศูนย์กลางประสานงานและส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชนและผู้นำเด็กและเยาวชนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม 2.4 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิด และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 2.5 เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนเขต รวมถึงการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม 3.1 จ้างอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเยาวชนเขต จำนวน 1 คน 3.2 จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต และผู้เกี่ยวข้องประจำเดือน จำนวน 20 คน ประชุม จำนวน 6 ครั้ง 3.3 กิจกรรมพิเศษสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ครั้ง 149,800.00 100,272.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1195 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย การมีสุขภาพดี นับเป็นลาภอันพึงปรารถนาอย่างหนึ่งของมนุษย์ การออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสมจึงเป็นวิธีการสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยเสริมให้ร่างกายมี สุขภาพที่ดี มีพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นการเตรียมตัวเองให้มีร่างกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะต่อสู้กับปัญหาต่าง ๆ ในการดำรงชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายดังกล่าว จึงจัดให้มีกิจกรรมการเต้นแอโรบิค เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง โดยปัจจุบันสำนักงานเขตตลิ่งชัน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ลานกีฬาในพื้นที่เขตตลิ่งชัน จำนวน 5 ลาน ดำเนินการจัดกิจกรรมการเต้นแอโรบิคขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่แข็งแรง และเรียนรู้วิธีการ/ท่าทางการออกกำลังกายที่ถูกวิธีจากวิทยากรผู้มีประสบการณ์ 2.1 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน เด็ก และประชาชนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด 2.2 เพื่อเด็ก เยาวชน และประชาชน มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 2.3 เพื่อให้เกิดความสามัคคีและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ระหว่างเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน โดยใช้กิจกรรมการออกกำลังกายแอโรบิคเป็นสื่อนำ ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยฝึกสอนการเต้นแอโรบิค ให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ณ ลานกีฬาชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชัน และลานบริเวณสำนักงานเขตตลิ่งชันจำนวน 5 ลาน ดังนี้ 3.1 ฝึกสอนการเต้นแอโรบิค สัปดาห์ละ 1 วัน จำนวน 1 ลาน ได้แก่ ลานบริเวณสำนักงานเขตตลิ่งชัน 3.2 ฝึกสอนการเต้นแอโรบิค สัปดาห์ละ 3 วัน จำนวน 2 ลาน ได้แก่ ลานกีฬาชุมชนวัดปากน้ำ ฝั่งเหนือ และลานกีฬาวัดทองบางเชือกหนัง 3.3 ฝึกสอนการเต้นแอโรบิค สัปดาห์ละ 4 วัน จำนวน 1 ลาน ได้แก่ ลานกีฬาชุมชนวัดมณฑป 3.4 ฝึกสอนการเต้นแอโรบิค สัปดาห์ละ 5 วัน จำนวน 1 ลาน ได้แก่ ลานกีฬามูลนิธิร่วมใจธรรม 204,500.00 82,250.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1196 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง สภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทำให้ทุกคนต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนในการดำรงชีวิต และการอยู่อย่างพอเพียง ประหยัด รู้จักเก็บออม มีสติ ไม่ประมาท ไม่ตื่นตระหนกไปกับสถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งคอยติดตามข่าวสาร ความรู้ ปรับตัวพร้อมรับกับทุกสถานการณ์ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญนี้ จึงมีนโยบายให้สำนักงานเขตจัดกิจกรรมในการส่งเสริมการวางแผนทางการเงิน เพื่อขจัดปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน สำนักงานเขตตลิ่งชันในฐานะหน่วยงานหนึ่งของกรุงเทพมหานคร จึงนำนโยบายของกรุงเทพมหานครมาปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจให้กับประชาชน โดยการสร้างวินัยการใช้จ่ายเงินและลดค่าใช้จ่าย รวมทั้งดำเนินกิจกรรมประชาสัมพันธ์การดำเนินงานและการให้ข้อมูลข่าวสารและช่องทางเข้า สู่ระบบบริหารการเงินให้กับประชาชน 2.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีวินัยทางการเงิน และรู้จักการวางแผนทางการเงิน อันเป็นการช่วยสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของครอบครัว 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้นักบริหารเงินออมในการให้คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษา แก่ประชาชน 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถบริหารจัดการ มีการจัดสรรเงินออม และใช้เงินออม เป็นแหล่งทุนในการประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว แนะนำการวางแผนทางการเงิน วิธีการทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายเบื้องต้น ตรวจสอบสุขภาพทางการเงินให้แก่แรงงานนอกระบบ ผู้มีรายได้น้อย ประชาชนในชุมชน กลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ของเขตตลิ่งชัน จำนวน 800 คน 20,000.00 8,000.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1197 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวมอย่างรวดเร็ว ยิ่งมีความเจริญมากเพียงใดก็จำเป็นต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ตลอดจนมีจิตสำนึกและภาคภูมิใจในการธำรงรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์ไทยให้ดำรงสืบไป สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและมุ่งหวัง ที่จะสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีต่าง ๆ ที่ดีงามไว้ให้ลูกหลานได้สืบต่อกันไป ดังนั้น สำนักงานเขตตลิ่งชันจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยขึ้น โดยยึดหลักตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ 2.1 เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไปได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.2 เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีวิถีชีวิตของความเป็นไทยให้คงไว้ตลอดไป 2.3 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่เขตตลิ่งชันและตลาดน้ำ อันเป็นการสนับสนุนนโยบายของกรุงเทพมหานครในการส่งเสริมการท่องเที่ยว 2.4 เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น โดยการพัฒนาเด็กเยาวชนรวมทั้งสถาบันครอบครัวให้มีศักยภาพ ซึ่งจะมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สังคมที่อบอุ่นและเข้มแข็งในอนาคต กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทยประเพณีชักพระ ประจำปี 2563 กำหนดจัดกิจกรรม ในวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 ณ สำนักงานเขตตลิ่งชัน เป็นเวลา 1 วัน มีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ขบวนอัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุทางน้ำจากวัดนางชี – สำนักงานเขตตลิ่งชัน จัดขบวนต้อนรับขบวนอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุบริเวณตลาดน้ำตลิ่งชัน จัดงานฉลองพระบรมสารีริกธาตุ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 700 คน กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีวันสงกรานต์ กำหนดจัดกิจกรรมในเดือนเมษายน 2564 เป็นเวลา 1 วัน ณ บริเวณสำนักงานเขตตลิ่งชัน โดยกำหนดให้มีกิจกรรมถวายภัตตาหารเพลพระภิกษุ รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ มีการแสดงของชมรมผู้สูงอายุ ฯลฯ มีประชาชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันและบริเวณใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 300 คน กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแห่เทียนพรรษาเนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษา กำหนดจัดกิจกรรมในเดือนกรกฎาคม 2564 เป็นเวลา 1 วัน โดยจัดกิจกรรมร่วมกับวัดในพื้นที่เขตตลิ่งชัน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว กำหนดจัดกิจกรรมในเดือนกรกฎาคม 2564 ณ บริเวณสำนักงานเขตตลิ่งชัน เป็นเวลา 1 วัน โดยกำหนดให้มีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ถวายภัตตาหารเช้าพระภิกษุสงฆ์ ฯลฯ มีองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษาและประชาชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันและบริเวณใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 300 คน กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กำหนดจัดกิจกรรมในเดือนสิงหาคม 2564 ณ บริเวณสำนักงานเขตตลิ่งชัน เป็นเวลา 1 วัน โดยกำหนดให้มีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ถวายภัตตาหารเช้าพระภิกษุสงฆ์ ฯลฯ มีองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษาและประชาชน ในพื้นที่เขตตลิ่งชันและบริเวณใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ 300 คน 500,000.00 200,000.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 50.00
1198 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมนำนวตกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเขตจตุจักร การปรับปรุงแก้ไขและหรือเพิ่มความสามารถหรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลและคุณภาพเพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตจตุจักร 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1199 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมรับเรื่องราวร้องทุกข์ 1555 พื้นที่สำนักงานเขตจตุจักรทั้งหมด 34 ตารางกิโลเมตร เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางการพัฒนาเมือง อาทิรถไฟ้า ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ตลาดนัดจตุจักร หน่วยงานราชการทั้งกระทรวงทบวงกรม ทำให้การอยู้ร่วมกันในชุมชนขนาดใหญ่ย่อมเกิดปัญหาอุปสรรคหลากหลายทำให้สำนักงานเขตจตุจักรให้ให้บริการช่องทางแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากประชาชนได้รับการแก้ไขได้รับความพึงพอใจแก่ประชาชน เพื่อการแก้ไขเรื่องร้องเรียนในพื้นที่เขตจตุจักร เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้ทันกำหนดตามเกณฑ์ที่กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2020-10-01 00:00:00 2021-10-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1200 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 โครงการนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เพื่อปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน โครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1201 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการเร่งรัดติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ตินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่นรวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2564) 2. จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2564) 3. งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่ายได้แก่ หมวดคำตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2564) 1. การเบิกจ่ายงบประมาณทั้ง 5 หมวดรายจ่าย ในปีงบประมาณ 2564 ของสำนักงานเขตสาทร เป็นไปตามเป้าหมายของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2. การเบิกจ่ายเงินฝ่ายการคลังเป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 63.00
1202 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 กิจกรรมในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1203 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของสำนักงานเขตสวนหลวง สำนักงานเขตสวนหลวง ได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของสำนักงานเขตสวนหลวง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำฐานข้อมูลที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของสำนักงานเขตสวนหลวง ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี (พ.ศ.2556 - 2575) ในการรักษาเสถียรภาพทางการคลังและเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายการคลัง ด้านการบริหารจัดเก็บรายได้และพัฒนารายได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและงบประมาณที่มีความเป็นเลิศและเกื้อหนุนต่อการพัฒนากรุงเทพมหานครในระยะยาว 1. ฐานข้อมูลที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุด ของสำนักงานเขตสวนหลวง ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2. การจัดเก็บภาษีเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม 3. จัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้นตามเป้าหมายการจัดเก็บรายได้ที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
1204 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมศูนย์บริหารราชการ ฉับไว ใสสะอาด 1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ เพื่อนำผลประเมินการให้บริการไปปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1205 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 ดำเนินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานจัดหาวิธีการและรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยให้หน่วยงานนำเสนอนวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ นวัตกรรมเชิงนโยบาย นวัตกรรมการบริการ และนวัตกรรมการบริหาร/องค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สร้างนวัตกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน จำนวน 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1206 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานจัดทำฐานข้อมูลและนำเข้าข้อมูลในระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร (District Catalog) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานคร -รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงาน -พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1207 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน -ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตหลักสี่ ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ในการเกิดภัยต่าง ๆ การบรรเทาสาธารณภัยเบื้องต้น การอาสาช่วยงานด้านการจราจร รวมทั้งเหตุความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่ การก่อการร้าย การก่อวินาศกรรมเนื่องจากเหตุปัจจัยหลายประการ การกระทำที่มุ่งทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือของประชาชน การประทุษร้ายต่อบุคคล การก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของชาติ โดยให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือหน่วยงานราชการ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วงบรรลุวัตถุประสงค์ของทางราชการ จึงจำเป็นต้องกำหนดแผนปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เขตหลักสี่ 1. เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ และถูกต้องตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2553 2. เพื่อสนองตอบนโยบายของกรุงเทพมหานครในการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัย 3. เพื่อลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม 4. เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้สึกว่ามิได้ถูกทอดทิ้งจากหน่วยงานของรัฐ 5. เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและตรากตรำให้มีสวัสดิการที่ดีขึ้น อันเป็นผลในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 1. เพื่อจัดเตรียมกำลังเจ้าหน้าที่ให้พร้อมที่จะเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่เป้าหมาย และพื้นที่ที่มีปัญหาจากภัยธรรมชาติและภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้อย่างรวดเร็วฉับพลันทันต่อเหตุการณ์ 2. เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบความเดือดร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น 3. เพื่อลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจให้น้อยลง 4. เพื่ออำนวยความสะดวก และบรรเทาความเดือดร้อนแก่ประชาชนในด้านต่าง ๆ เช่น การเดินทางและการจราจรในพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติขึ้น 5. เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานของรัฐ อาสาสมัคร 352,000.00 292,000.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1208 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เนื่องจากปัญหาการจราจรติดขัด ประชาชนผู้รับบริการมีภารกิจหน้าที่การงาน ทำให้การเดินทางมาติดต่อราชการไม่สะดวกและใช้เวลามาก ประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพัฒนาระบบการให้บริการโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยการทำงาน เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการของภาครัฐ - เพิ่มช่องทางการให้บริการโดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยสนับสนุนการให้บริการประชาชน - ลดขั้นตอนการให้บริการจากเดิมมาติดต่อสำนักงานเขต 2 ครั้งเหลือเพียง 1 ครั้ง - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เพิ่มช่องทางการให้บริการยื่นคำร้องขอบ้านเลขที่ปลูกใหม่ สำหรับประชาชนทั่วไป ผ่านทางระบบออนไลน์ 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1209 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของสำนักงานเขตหลักสี่ ตามหลักเกณท์ที่สำนักงบประมาณกำหนด เพื่อให้การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนทุกภาคส่วน และเป็นไปตามเป้าหมายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กำหนดการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามแผนงานการใช้จ่ายเงินเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการเบิกจ่ายเงินล่าช้า ซึ่งจะทำให้ผลการเบิกจ่ายเป็นไปตามเป้าหมาย ผลการเบิกจ่ายได้ตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนดและเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้องตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ ระเบียบ หนังสือสั่งการ คำสั่งที่เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1210 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักงานเขตหลักสี่ ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1211 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงาน ก.ก. 1.พัฒนาชุดข้อมูลสำคัญสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน 2.จัดทำชุดข้อมูลที่เป็นภารกิจหลัก จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูลตามแนวทางธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร มีชุดข้อมูลสำคัญสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน คำอธิบายข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล และนำเข้าข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และสร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการชุดข้อมูลอย่างน้อย 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1212 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 5.2 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสถาบันพัฒนาข้าราขการกรุงเทพมหานคร -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) -ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (องค์ประกอบที่ ๕ ตัวชี้วัดที่ ๕.๒) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1213 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศ เพื่อปรับปรุงและทดแทนระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สำนักอนามัยในฐานะเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดประเวศ คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขทุกแห่ง ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ตลอดจนกองและสำนักงานที่สนับสนุนดำเนินงานตามภารกิจด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การรับ - ส่งต่อผู้ป่วย การฟื้นฟูและเยียวยา รวมทั้งได้ให้บริการเชิงรุกเข้าไปดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน ปัจจุบันมีระบบสารสนเทศ-ศูนย์บริการสาธารณสุข (Health Center Information System : HCIS) มาสนับสนุนสำหรับการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการให้บริการแก่ประชาชน ตั้งแต่ปี พ.ศ.255๑ ซึ่งยังพบปัญหาในการพัฒนา Application ใหม่ ๆ บนระบบเดิมค่อนข้างทำได้ยาก ซึ่งทำให้การทำงานของผู้พัฒนาโปรแกรมล่าช้า ต้องมีการแก้ไขตลอดเวลา การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบไม่เสถียร เนื่องจากระบบเดิมไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง อีกทั้งระบบฐานข้อมูลไม่สามารถรองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้น รวมถึงระบบเดิมยังไม่สามารถเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบในทุกกลุ่มภารกิจของสำนักอนามัย และการเชื่อมโยงกับระบบของหน่วยงานภายนอก เช่น ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักอนามัยในฐานะหน่วยงานที่เป็นผู้จัดหาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) และดูแลรักษาระบบ พิจารณาแล้วเห็นว่าการพัฒนาระบบใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงระบบ เพื่อให้รองรับกับพระราชบัญญัติ กฎระเบียบ หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่เปลี่ยนไป ทำให้มีผลกระทบกับการจัดเก็บข้อมูล การสืบค้นข้อมูล และการออกรายงานต่าง ๆ ของระบบงาน ประกอบกับความต้องการของผู้ใช้งานที่เปลี่ยนแปลงและมีเพิ่มขึ้น ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลเป็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย พ.ศ. 2559 - 2561 องค์ประกอบที่ 1 การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เข้าสู่ยุคแห่งเทคโนโลยี “Digital Transformation” ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดีและรวดเร็วขึ้น จำเป็นต้องมีการศึกษา วิเคราะห์และออกแบบการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสุขภาพ สำนักอนามัยสู่องค์กรดิจิทัลแทนระบบเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ต้องมีการโอนย้ายข้อมูลจากระบบเดิมไปยังระบบใหม่ และต้องมีการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศต่าง ๆ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีรายละเอียดในการดำเนินการที่ซับซ้อน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผลและไม่กระทบต่อการดำเนินงานในปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและมีความเข้าใจในภารกิจของสำนักอนามัย เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาระบสารสนเทศสาธารณสุขให้สามารถสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสุขภาพสู่องค์กรดิจิทัลในทุกกระบวนการรวมถึงการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลได้ตามกลุ่มภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 23,223,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-09-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 8.00
1214 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมสำรวจเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบเครือข่ายและระบบอินเทอร์เน็ตศูนย์บริการ สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักอนามัย โดยกลุ่มสถิติและสารสนเทศสาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยวกับการวางรูปแบบและพัฒนาระบบการเก็บข้อมูล การจัดทำฐานข้อมูล การรวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักอนามัย ซึ่งได้รับมอบหมายรับผิดชอบโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามแผนพัฒนาสำนักอนามัย 4 ปี (พ.ศ. 2565 – 2568) เรื่อง Smart PHC Department of Health โดยมีเป้าประสงค์ให้ศูนย์บริการสาธารณมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงานและประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้วยระบบเทคโนโลยีของศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบและจัดหาระบบสารสนเทศ เพื่อปรับปรุงและทดแทนระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้รองรับสภาพแวดล้อมเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและการขยายตัวของการใช้งานในอนาคต รวมถึงสามารถเชื่อมโยงระบบในทุกกลุ่มภารกิจของสำนักอนามัย และเชื่อมโยงกับระบบของหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบครือข่ายและระบบอินเทอร์เน็ตของศูนย์บริการสาธารณสุขเหมาะสมกับการปฏิบัติงานและพร้อมในการใช้งานในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนนั้น มติที่ประชุม คณะทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันพุธที่ 17 พฤศจิกายน ๒๕6๔ ให้ดำเนินการโครงการให้บริการแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข (Service at the Public Health Center : SPHC) กรุงเทพมหานครครบทุกศูนย์บริการสาธารณสุข ภายในปีงบประมาณ 2565 1 เพี่อสำรวจและตรวจสอบสถานภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ระบบเครือข่ายเละระบบอินเทอร์เน็ตศูนย์บริการสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพพร้อมในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ประชาชน 2 เพื่อติดตามประเมินผลปัญหาจากการใช้งาน และความต้องการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลนำมาวิเคราะห์ปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 3 เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขมีแนวทางการดำเนินการปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบเครือข่ายเละระบบอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-11-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1215 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานราชการทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับการคำขออนุญาต/บริการจัดตั้งธุรกิจ (Doing Business Platform)รวมถึงกรุงเทพมหานครต้องพัฒนาระบบฯ สำหรับรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Open Data) กับทางศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานภาครัฐระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อกับทางราชการ ในฐานะเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาออกใบอนุญาต/บริการ โดยรับหน้าที่เป็นหน่วยงานรับข้อมูลจากประชาชนที่ติดต่อมาขอรับใบอนุญาต/บริการ ตลอดจนรับ - ส่งส่งต่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบเชื่อมโยง เพื่อส่งต่อข้อมูลของประชาชนให้กับหน่วยงานในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศกลาง สำหรับเป็นศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพหานคร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติฯ ที่กำหนด รวมถึงประชาชนสามารถติดตาม (Monitoring / Tracking) การออกใบอนุญาต/บริการ พร้อมระบบแจ้งเตือน (Alert) เพื่อรายงานสถานะการดำเนินการ และผลการพิจารณาการออกใบอนุญาต/บริการ ให้ประชาชนได้รับทราบ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้แบบเบ็ดเสร็จ 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามสถานะการดำเนินการ และรับทราบผลการพิจารณาใบอนุญาต/บริการ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบออนไลน์ 1. กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต รวมถึงมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับ-ส่งข้อมูลของประชาชนที่มาติดต่อกับทางราชการ ตลอดจนหลักฐานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับศูนย์รับคำขออนุญาตของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการติดต่อกับทางราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร 2. ประชาชนสามาถติดตามสถานะการดำเนินการการขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โดยดำเนินการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ของกรุงเทพมหานคร 83,237,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 65.00
1216 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ ในฐานะกรุงเทพมหาครเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์รับคำขออนุญาต ประกอบปัจจุบันอยู่ในยุคของสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) จึงเห็นควรจัดหาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการรับ-ส่งใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว ตลอดจนปรับปรุงระบบการรับชำระเงินที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยและหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการเป็นศูนย์รับคำขอของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) อย่างเต็มรูปแบบและทันสมัยโดยผ่านการให้บริการของธนาคาร หรือตัวแทนรับชำระเงิน เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการที่มาติดต่อขอรับชำระค่าธรรมเนียมจากค่าบริการในการออกใบอนุญาต ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมายังหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สามารถชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง 1. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อหรือ การทำธุรกรรมทางด้านการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเต็มรูปแบบหลากหลายช่องทาง รวมถึงรองรับการรับชำระเงินค่าธรรมเนียมได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาติดต่อขอชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตที่หน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการไม่ต้องเดินทางมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยสามารถรับเอกสารใบสำคัญหรือใบอนุญาตได้จากระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบขนส่งอัจฉริยะของภาคเอกชน 3. เพื่ออำนวยความสะดวกให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถสอบทานตัวเลขค่าธรรมเนียมและค่าภาษีได้สะดวกรวดเร็วและถูกต้องทันการณ์ โดยสามารถสรุปข้อมูลรายรับ พร้อมส่งต่อข้อมูลไปยังทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจในด้านการวางแผนงบประมาณรายรับได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 1. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนหรือผู้ประกอบการ โดยมีทางเลือกในการชำระเงินค่าธรรมเนียม ค่าภาษี ไม่ต้องถือเงินสด และยังรองรับการรับชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมงผ่านช่องทางหลากหลาย รวมถึงไม่ต้องเดินทางมายังหน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานครเพื่อมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านมาอนุมัติแล้ว 2. เพื่อรองรับการบูรณาข้อมูลการรับชำระเงินของกรุงเทพมหานครกับหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณภาครัฐได้อย่างแม่นยำถูกต้อง 40,100,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
1217 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล การดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องกำหนดนโยบายและวางแนวทางปฏิบัติทางด้านความปลอดภัยในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหาครใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549ด้วยการนำเทคโนโลยีระบบรหัสแบบกุญแจสาธารณะ หรือกุญแจสมมาตร ที่ประกอบด้วยกุญแจส่วนตัว (Private key) และกุญแจสาธารณะ (Public key) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล พร้อมด้วยการใช้โปรโตคอลSecure Socket LayerหรือSSL มาประยุกต์ใช้ในการเข้ารหัส และการถอดรหัส (Encryption) ในระหว่างขั้นตอนการรับ–ส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและเชื่อมั่นได้ว่า เอกสารสำคัญหรือข้อมูลของทางราชการยังคงได้รับการปกป้องและยังคงเป็นความลับ (Data Confidentiality)จากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือผู้ไม่หวังดีเข้ามาอ่าน หรือขโมยข้อมูลระหว่างการดำเนินธุรกรรมได้ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับการออกใบอนุญาตในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และการทำธุรกรรมของกรุงเทพมหานครที่มีความน่าเชื่อถือและมีผลถูกต้องตามกฎหมาย 2 เพื่อสร้างความเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานครในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการกับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต 3. เพื่อบ่งบอกและยืนยันตัวบุคคลในโลกดิจิทัล สำหรับรองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้มีผลตามกฎหมาย 1. ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการหรือหน่วยงานภาครัฐที่ร่วมทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต มีความเชื่อมั่นในด้านการรักษาความลับของข้อมูล ตลอดจนความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล แม้อาจมีการถูกดักจับข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรม 2. เป็นการยกระดับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ตลอดจนสามารถยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัลได้ 47,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 65.00
1218 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่ กท 0502/1778 ลว.3ก.ย.2556 กำหนดให้มีการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2557 ของหน่วยงานให้เหมาะสมกับงบประมาณรายจ่ายของโครงการที่ได้รับจัดสรร และนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต ประจำปีงบประมาณ 2557 บรรจุในแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งสำนักผังเมืองและสำนักงานเขต 50 เขต ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บ รวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง 1. ฝ่ายทะเบียนลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 2. ฝ่ายโยธาลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1219 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (One Platform) ของสำนักงานเขตมีนบุรี ปัจจุบันทุกหน่วยงานให้ความสำคัญ และเน้นการพัฒนาด้านฐานข้อมูลของหน่วยงานซึ่งเป็นปัจจัยหลักสำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความสำเร็จของระบบบริหารราชการของสำนักงานเขต โดยจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาและจัดการฐานข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วร รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ฐานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยาสอดคล้องกับมาตราฐานและกรอบธรรภิบาลข้อมูลภาครัฐ เพื่อให้การพัฒนาฐานข้อมูล การรวบรวมข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลเป็นระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย เรียกใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักงานเขตมีนบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น 1.เพื่อสร้างเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลให้เกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว 2.เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลของสำนักงานเขตมัีนบุรีที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และทันสมัย3.เพื่อให้หน่วยงานราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีสามารถนำเข้าข้อมุลไปใช้ประโยชน์ได้4.เพื่อให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะหืให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักข้องหน่วยงาน 1.การพัมนาและจัดเก้บข้อมูลในฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมุลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ2.ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน ประชาชนทั่วไป ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีได้รับทราบข้อมูลืครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันกาารใช้งานฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1220 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของประชาชนในการสัญจรทั้งทางบกและ ทางน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ซึ่งสถิติพบว่าในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำตายเป็นอันดับหนึ่งจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่าง ๆ จึงมีนโยบายให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาต้องว่ายน้ำเป็น ด้วยเหตุนี้สำนักงานเขตมีนบุรีจึงจัดทำโครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้ปลอดภัย เพื่อให้นักเรียนว่ายน้ำเป็นและสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 2.1 เพื่อให้นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรีมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด2.2 เพื่อให้นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรีมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง สมบูรณ์2.3 เพื่อให้นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรีสนใจการเล่นกีฬา ห่างไกลจากยาเสพติด2.4 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี เพื่อให้นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี จำนวน 13 โรงเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ทุกคนได้เรียนว่ายน้ำและมีทักษะการเอาชีวิตรอด จำนวนนักเรียน 1,092 คน (ใช้ข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2563)ด้านปริมาณนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1,092 คน (ใช้ข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2563)ด้านคุณภาพนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน มีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 709,800.00 709,800.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1221 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในศูนย์กลางธุรกิจและความทันสมัยอย่างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวติดอันดับโลกที่ผู้คนจากทั่วโลกสนใจอยากเดินทางมาท่องเที่ยวท่ามกลางความทันสมัย กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่สีเขียวของภาคการเกษตร ถึง 26 เขต มีพื้นที่การเกษตรประมาณ 120,000 ไร่ จากพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมด 980,460 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว สวนผลไม้ สวนผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ หญ้าสนาม การเลี้ยงสัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ผลผลิตที่ได้เป็นแหล่งการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการผลิต การเพิ่มผลผลิต การยกระดับมาตรฐานสินค้าให้มีคุณภาพ การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ทันสมัยมากขึ้น ที่สำคัญที่สุดได้น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาจัดทำเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตหนองจอก เป็นหน่วยงานหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่ได้น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเจ้าเพื่อให้เกษตรกรและประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีชีวิตแบบพอเพียง จึงได้จัดทำโครงการอบรมตามหลักสูตรของเกษตรทฤษฎีใหม่ขึ้นเพื่อให้เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการต่อยอดแก่เกษตรกรได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าให้มากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อเป็นการสนองแนวพระราชดำริโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ นำเกษตรกรเข้าสู่วิถีชีวิตพอเพียง ซึ่งจะทำให้มีความยั่งยืนอย่างแท้จริง 2.3 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่เขตหนองจอก ได้ฝึกอบรมด้านการเกษตรเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริมให้แก่ครอบครัว 2.4 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะอาชีพด้านการเกษตร ให้แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 2.5 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่เขตหนองจอก 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริฯ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการเกษตร ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรให้แก่เกษตรกร ยุวเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจทั่วไป 3.2 จัดฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพเพื่อพัฒนาเกษตรกร อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ด้านเกษตรต่างๆ ให้กับเกษตรกร นักเรียน ประชาชน และผู้ที่สนใจทั่วไป จำนวน 5 หลักสูตร 46 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 1,380 คน โดยจัดอบรมแบบไป-กลับ ณ ศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ฯ เขตหนองจอก และศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวง 8 ศูนย์หลักสูตรที่ 1 การปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ จำนวน 15 รุ่นๆละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 2 การเพาะเห็ดเพื่อการค้า จำนวน 15 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 3 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 4 การขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อการค้า จำนวน 8 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 5 การแปรรูปผลผลิตการเกษตร จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน 358,000.00 100,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 50.00
1222 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน กรุงเทพมหานครมีนโยบายส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไปเพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตละเรียนรู้วิทยาการด้านต่างๆที่ทันสมัยขยายการบริการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆได้แก่ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ห้องสมุดเคลื่อนที่ บ้านหนังสือ เพื่อสนับสนุนโครงการรณรงค์ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการอ่าน (Bangkok Read For Life) ด้วยเห็นว่าวัฒนธรรมการอ่านเป็นสิ่งสำคัญจำเป็นต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวัง ที่จะสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่ยั่งยืนให้กับคนกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครได้รับการคัดเลือก จากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็นเมืองหนังสือโลก ในปี 2556 (World Book Capital 2013) สำนักงานเขตหนองจอก เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอ่านและการศึกษาค้นคว้า จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่าน การศึกษาค้นคว้า ความบันเทิง และความจรรโลงใจ เพื่อนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างพัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม ปลูกฝังให้เด็ก เยาวชนและประชาชน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนนำประสบการณ์และความรู้ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่าน และการศึกษาค้นคว้า 2.2 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.3 เพื่อส่งเสริมให้สถาบันครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันอันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัวต่อไป 2.4 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ณ บ้านหนังสือเขตหนองจอก 5 แห่ง ได้แก่ บ้านหนังสือ นูรุสสลาม บ้านหนังสือเคหะหนองจอก บ้านหนังสืออิบรอฮีม บ้านหนังสือชุมชนแผ่นดินทองบ้านกระทุ่มราย บ้านหนังสือมูลนิธิตระกูลกอดีรี และชุมชนบริเวณรอบๆ บ้านหนังสือ 3.2กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็ก เยาวชน และประชาชน ที่มาใช้บริการบ้านหนังสือ 5 แห่ง และชุมชนบริเวณบ้านจำนวน 1,500 คน 200,000.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1223 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร นโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านเน้นเป้าหมายสูงสุดคือ ให้คนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนาและจัดบริการโดยเน้นคนให้เป็นหลักในการได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ในนโยบายด้านคุณภาพชีวิตของกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มต้องได้รับการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม เพื่อให้ทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข และสร้างสรรค์การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม การส่งเสริมสวัสดิการสวัสดิภาพประชาชนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการร่วมมือในการมีชีวิตอยู่ร่วมกัน การจัดทำระบบกลไก การพิทักษ์ ปกป้องคุ้มครองให้ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและไม่เป็นปัญหาภาระของสังคม เป็นเรื่องจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง สำนักงานเขตหนองจอก มีภารกิจหน้าที่ในการจัดสวัสดิภาพในการพิทักษ์ ปกป้องคุ้มครอง กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสและการดำเนินงานในเชิงพัฒนา กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องจัดสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสม ตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ตลอดจนการสนับสนุน การให้ขวัญกำลังใจและสนับสนุนเครือข่ายองค์กรผู้สูงอายุในพื้นที่เขต การจัดทำคลังสมองคลังปัญญา และการรวบรวมภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดเป็นผลงานสร้างสรรค์ของกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมเผยแพร่ให้สาธารณชนทราบนั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ภาครัฐควรให้ความสนใจ สำนักงานเขตหนองจอก เห็นความสำคัญถึงบทบาทของผู้สูงอายุ จึงจัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้จากภูมิปัญญาผู้สูงอายุแก่ประชาชนในพื้นที่ต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการรวบรวมคลังสมองและภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตหนองจอก 2.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดให้กับบุคคลทั่วไป จัดบอร์ดเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุปีที่ผ่านมา และเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้กับประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน 10,000.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 5.00
1224 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา สุขภาพอนามัยเป็นสิ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งหากมีสุขภาพอนามัยที่ดี สมบูรณ์ แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว จะทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น และเป็นทรัพยากรหลักในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกช่วงวัยได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ จึงเป็นกิจกรรมพื้นฐานเบื้องต้นที่ทำให้ประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทำให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุกทุกประเภท ตลอดจนเป็นการฝึกฝนพัฒนาตนเองจากกีฬาขั้นพื้นฐานก้าวสู่ความเป็นเลิศทางการกีฬาได้อีกด้วย กรุงเทพมหานครได้ใช้ยุทธศาสตร์ด้านกีฬาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยกำหนดให้แต่ละแหล่งชุมชนมีพื้นที่เพื่อใช้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และประกอบกิจกรรมของประชาชนตามโอกาสต่างๆ โดยส่งเสริมให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมและส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านกีฬาและนันทนาการที่เหมาะสมให้แก่ประชาชน ดังนั้นสำนักงานเขตหนองจอกซึ่งเป็นส่วนราชการหนึ่งของกรุงเทพมหานครจึงเล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน จึงได้มีการจัดตั้งลานกีฬาตามพื้นที่ชุมชนและตามสถานศึกษาต่างๆ ให้ครอบคลุมสำหรับให้ประชาชนได้มีสถานที่การออกกำลังกาย เล่นกีฬา และจัดกิจกรรมต่างๆ โดยมีอาสาสมัครลานกีฬาเป็นผู้ดูแลร่วมกับคณะกรรมการบริหารลานกีฬา และมีสโมสรกีฬาหนองจอกร่วมกันขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านกีฬาของเขตหนองจอก ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬา รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก ซึ่งกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่จัดขึ้นนั้น ล้วนเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และนันทนาการ รวมถึงจัดหาวัสดุอุปกรณ์กีฬาให้เพียงพอ และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสุขภาวะที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจของประชาชนอย่างแท้จริง 2.1เพื่อเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก 2.2เพื่อสนับสนุนกิจกรรมและดำเนินงานของสโมสรกีฬาหนองจอก 2.3 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก 2.4เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการ และสุขภาพ ของคนทุกเพศทุกวัย สนับสนุนเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก จำนวน 17 คน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 ถึงเดือนกันยายน 2565 โดยปฏิบัติงานทุกวัน (ไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์) และสนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬาหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก 3,361,400.00 3,221,358.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1225 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในเรื่องต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมรวมทั้งวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยมต่างๆ ทำให้คนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และห่างเหินวัฒนธรรมประเพณีไทยที่ถือปฏิบัติกันมายาวนาน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทยห่างหายไปจากความทรงจำของชาวไทย สำนักงานเขตหนองจอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ และวิถีชีวิตของความเป็นชาติไทย รวมถึงความเป็นอยู่ของคนไทยที่ยึดเหนี่ยวให้คนในสังคมมีความกตัญญู โอบอ้อมอารีต่อกัน ยึดถือประเพณีไทยในการดำรงความเป็นอยู่ จึงได้กำหนดการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ให้คงอยู่สืบไป 2.1เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของไทยให้เยาวชนรุ่นหลังได้สืบสานต่อไป 2.2เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีและช่วยกันอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 2.3 เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของไทยเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 2.4 เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงวันสำคัญของชาติ และร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ 3.2 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ประจำปีพุทธศักราช 2565 3.3 กิจกรรมประเพณีแห่เทียนพรรษา ประจำปี 2565 3.4 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำปีพุทธศักราช 2565 3.5 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประจำปีพุทธศักราช 2565 500,000.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1226 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง หน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร และการดำเนินงานต่างๆ แก่ประชาชน เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร และการดำเนินงานต่างๆ แก่ประชาชน สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของหน่วยงานที่มีข้อมูลข่าวสารถูกต้องครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
1227 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายโรงเรียน สำนักงานเขตคลองสานเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้กับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน ได้ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนเร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ทุกโรงเรียนมีระดับคุณภาพมาตรฐานที่สูงยิ่งขึ้นด้วยกระบวนการของระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา จนสามารถทำให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครทุกโรงเรียน รับการประกันคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองคุณภาพมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 1 เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ด้วยระบบเครือข่ายโรงเรียนที่ยั่งยืน 2 เพื่อให้เครือข่ายโรงเรียนมีเวทีแสดงผลงานเชิงวิชาการที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 เพื่อคัดเลือกและประเมิน “ครูดีเด่น” 3.1 ด้านปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 217 คน 3.2 ด้านคุณภาพ เครือข่ายโรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ เครือข่ายโรงเรียนมีผลงานที่มีคุณภาพนำเสนอต่อสาธารณชน ครูดีเด่นมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 90,000.00 73,750.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1228 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ตรัสว่า "สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับนักกีฬานั้น คือ การเอาชนะใจตนเองและชนะใจของคู่แข่งขันและชนะใจของผู้ที่มาชมการแข่งขันด้วย" กรุงเทพมหานครได้สนองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ด้วยการส่งเสริมการเล่นกีฬาของนักเรียนในสังกัด โดยฝึกฝนเยาวชนให้รู้จักเล่นกีฬา มีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬา มีความซื่อสัตย์ อดทนตรงต่อเวลา เห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย และห่างไกลยาเสพติด 1 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา มีความสามัคคีในหมู่คณะ และมีระเบียบวินัย 2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่มั่วสุมในอบายมุข 3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 3.1 ด้านปริมาณจัดส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวนทั้งสิ้นปรัะมาณ 3,861 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 3,861 คน 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง มีพัฒนาการที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตลอดจนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 75,100.00 75,100.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1229 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขต ศูนย์วิชาการเขตคลองสาน จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน ให้มีมาตรฐานทัดเทียมกัน 1 เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน 2 เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดให้มีมาตรฐานระดับเดียวกัน 1 ด้านปริมาณจัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 28,600.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2023-01-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1230 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้ปลอดภัย กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของประชาชนในการสัญจรทั้งทางบกและทางน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ซึ่งสถิติพบว่าในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำตายเป็นอันดับหนึ่งจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่างๆ จึงมีนโยบายให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาต้องว่ายน้ำเป็นด้วยเหตุนี้สำนักการศึกษาจึงจัดทำโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัยเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครว่ายน้ำเป็น สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 1.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 2.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง สมบูรณ์ 3.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานสนใจการเล่นกีฬา ห่างไกลยาเสพติด 4.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ในปีการศึกษา 2564 ทุกคนได้เรียนว่ายน้ำและมีทักษะการเอาชีวิตรอด จำนวน 346 คน ด้านปริมาณ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 346 คน ด้านคุณภาพ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 210,000.00 162,500.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1231 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตคลองสานตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผลผลิตทางด้านการจัดการศึกษาสามารถนำความรู้ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากร ดังนั้น เพื่อเป็นการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564 ให้สูงขึ้น สำนักงานเขตคลองสานจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเสริมสร้างความพร้อมในรายวิชาหลักที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 1 ด้านปริมาณ 1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 4 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ทุกคน ได้เรียนเสริมแบบเข้ม 5 วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนในสังกัดเขตคลองสาน มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 37,800.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1232 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีทบทวนคำปฏิญาณ และสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร การพัฒนากิจการลูกเสือ นำไปสู่การพัฒนานักเรียนมีประโยชน์ในการสร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดลูกเสือ เนตรนารี ร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 1 เพื่อให้ลูกเสือ เนตรนารี รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย และแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ 2 เพื่อรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 1 กรกฎาคม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจการลูกเสือ เนตรนารีของกรุงเทพมหานคร ออกสู่สายตาประชาชนอย่างกว้าง 3 เพื่อส่งเสริมและเน้นความสำคัญของกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีให้เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างระเบียบวินัยและการส่งเสริมการทำความดี ปฏิบัติกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกันทั้งในบริเวณโรงเรียน ชุมชน และสถานที่สาธารณะใกล้เคียง 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ลูกเสือและเนตรนารี จำนวน 29 คน ผู้บังคับบัญชา จำนวน 1 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร มีทักษะในการบริหารกิจการลูกเสือของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพและใช้กิจกรรมลูกเสือในการปฏิรูปการเรียนรู้ 50,700.00 50,700.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1233 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีปฏิญาณตน และสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร -การพัฒนากิจกรรมยุวกาชาด นำไปสู่การพัฒนานักเรียน มีประโยชน์ในการสร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่่วนร่วม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดสมาชิกยุวกาชาดร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย 1 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาด รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาดรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนายุวกาชาดไทย 3 ส่งเสริมและเน้นความสำคัญของกิจกรรมยุวกาชาดให้เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 47,300.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1234 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด -นายหมู่ลูกเสือและหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด เป็นผู้บังคับบัญชาที่ใกล้ชิดลูกเสือและยุวกาชาดมากที่สุด มีบทบาทในการควบคุม กำกับ ดูแล ผู้บังคับบัญชา ฝึกอบรม และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด 1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจนสามารถเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดีได้ 2.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ปฏิบัติหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ และบทบาทของตนเองในฐานะ ของผู้นำ เป็นการพัฒนากิจการลูกเสือ และยุวกาชาดของกรุงเทพมหานคร 3.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถปฏิบัติหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 1 ด้านปริมาณ จัดพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกยุวกาชาดและผู้บังคับบัญชายุวกาชาดโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 50 คน 2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนักในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม 113,000.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1235 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายตามโครงการเรียนฟรี เรียนดี อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนรัฐบาลเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียนจำนวนหนึ่ง และจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานครสมทบอีกส่วนหนึ่ง เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักการที่กฎหมายกำหนด 1.เพื่อให้โรงเรียนได้รับงบประมาณที่เพียงพอต่อการให้บริการทางการศึกษา แก่นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและเหมาะสมกับความต้องการของผู้ปกครอง 2.เพื่อให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมีมาตรฐานทัดเทียมกันโดยไม่มีข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณที่ต้องระดมทรัพยากรจากภายนอกเข้ามาสนับสนุน 3. เพื่อเป็นตัวอย่างของประเทศในการจัดการศึกษาของท้องถิ่น ที่ต้องจัดสรรงบประมาณสมทบกับที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอ 1.ด้านปริมาณ จัดสรรงบประมาณรายหัวนักเรียนเพิ่มให้กับโรงเรียนที่ได้รับอยู่เดิมอีกหัวละ 600.- บาท จำนวนนักเรียน 3,920 คน 2.ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2,200,200.00 1,854,705.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1236 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต กรุงเทพมหานคร มีนโยบายในการสร้างชื่อเสียงด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ให้มีคุณภาพมาตรฐานวิชาการอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและเทียบเท่าระดับสากล มุ่งหวังพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพในประชาคมโลกในปัจจุบัน จึงได้มอบนโยบายให้สำนักการศึกษา จัดทำโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมั่นใจ ได้ตามมาตรฐาน โดยจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมทางวิชาการที่สนุนสนาน PLEARN (Play+Learn) การมีส่วนร่วม (Co-Operation) มีความร่วมมือ (Collabaration) ปรับตัวและแก้ปัญหาได้ (Critical thinking) นักเรียนจะสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข มั่นใจ นำความรู้ความสามารถไปใช้พัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แสดงหาความรู้ มีเป้าหมายการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มีเป้าหมายในการประกอบอาชีพ สอดคล้องและรองรับในการพัฒนานักเรียนไทยให้ก้าวสู่ยุค THAILAND 4.0 2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 2.2 เพื่อสร้างความมั่นใจและสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียน 1 ด้านปริมาณ นักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ตั้งแต่ชั้นปฐมวัยขึ้นไปยกเว้นห้องเรียนสองภาษา 2 ด้านคุณภาพ 2.1 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ชั้นปฐมวัยขึ้นไปสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ ถูกต้องตามมาตรฐานสากล 2.2 นักเรียนมีผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสูงขึ้น 3,264,000.00 1,544,400.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1237 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาจีน กรุงเทพมหานคร ได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่นักเรียนในสังกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้ภาษาจีน เพื่อก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน สามารถนำความรู้มาพัฒนาตนเองและประเทศ 1.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานสามารถใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม 2.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 3.1 ด้านปริมาณ โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 8 โรงเรียน - โรงเรียนที่เปิดสอนระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนต้น เริ่มสอนจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - โรงเรียนที่เปิดสอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น – มัธยมศึกษาตอนปลาย เริ่มสอนจากชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานที่เข้าร่วมโครงการสามารถสื่อสารด้วยภาษาจีนกลางได้อย่างเหมาะสม และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 1,921,200.00 673,200.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1238 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการประชุมครู สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดให้มีการประชุมข้าราชการครูเขตคลองสาน เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ข้าราชการครูมีขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานทางการศึกษา ตลอดทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้เข้าประชุมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ได้ซักถามจนเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในการที่นำปฏิบัติในระหว่างข้าราชการครูในสังกัดที่เข้าประชุมร่วมกัน 1 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ทางด้านการศึกษาที่ตนมีส่วนรับผิดชอบ 2 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้รับแนวความคิด ทฤษฎี แนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ทางด้านการศึกษาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน 3 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู้บริหารโรงเรียนและครูสายงานการสอน ได้เข้าใจซึ่งกันและกัน 3.1 ด้านปริมาณ ผู้เข้าประชุมเป็นข้าราชการครูกรุงเทพมหานครและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 213 คน 3.2 ด้านคุณภาพ เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าประชุมได้รับความเข้าใจ ตลอดทั้งแนวคิดแนวปฏิบัติทางการศึกษาและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในโรงเรียน 6,400.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1239 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาญี่ปุ่น กรุงเทพมหานคร ได้เห็นความสำคัญและความจำเป็นที่นักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน จึงมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนในสังกัดได้เรียนรู้ภาษาญ๊่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศอีกหนึ่งภาษา 1 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ตามระดับชั้นเรียน 2 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ได้ตระหนักและเตรียมความพร้อม เพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน 1 ด้านปริมาณ นักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม จำนวน 3 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 120 คน 2 ด้านคุณภาพ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ตามระดับชั้น 360,000.00 85,800.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1240 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ เพื่อตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้ผุ้เรียนมีคุณลักษณะของผู้เรียนในศวรรษที่ 21 ซึ่่งการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนได้นำนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ มาสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ เพือ่ให้นักเรียนได้รู้จักการคิดวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์อันจะนำมาซึ่งคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรณที่ 21 ซึ่งจะทำให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสถานการณ์ได้อยู่างรู้เท่าทันและเป็นคนที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถนำนวัตกรรม หรือสื่อ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สร้างสรรค์ผลงสานต่าง เพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนมีผลงานของนักเรียนที่เกิดจากการนำนวัตกรรม หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ ตามขนาดของโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 3 ผลงาน โรงเรียนขนาดกลาง 2 ผลงาน และโรงเรียนขนาดเล็ก 1 ผลงาน 100,800.00 13,100.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1241 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการสัมมนาประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ฝ่ายการศึกษาในฐานะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน ซึ่งต้องนำแผนมาสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการเรียนรู้อย่างหลากหลายทางวัฒนธรรม จึงได้จัดดำเนินการโครงการสัมมนาประธานคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานครในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน 1.เพื่อให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องได้รับความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนภายใต้ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีโดยได้พบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประสบการณ์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการบริหารงานของคณะกรรมการ 3.เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพทางด้านการบริหารงานของกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 1 ด้านปริมาณ ประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานทั้ง 8 โรงเรียนตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมสัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร 2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานทุกโรงเรียนได้รับการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง 18,600.00 600.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1242 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตคลองสาน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของคณะกรรมการสถานศึกษา ในการมีบทบาทมีส่วนร่วมต่อการจัดการศึกษาด้วยรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเสนอแนวทางการกำหนดนโยบาย การส่งเสริมและสนับสนุน การบริหารจัดการด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทัวไปของสถานศึกษา จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครขึ้น 1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการสถานศึกษา ฯ ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็นระหว่างกัน 2 เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3 เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ เพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3.1 ด้านปริมาณ 3.1.1 โรงเรียนมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จำนวน 4 ครั้ง 3.1.2 สำนักงานเขตคลองสานมีการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ จำนวน 1 ครั้ง 3.1.2 คณะกรรมการสถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 3.2 ด้านคุณภาพ 3.2.1 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าใจบริบทหน้าที่ของตนเองในการดำเนินงานในโรงเรียน 3.2.2 เกิดเครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างโรงเรียนและสำนักงานเขตคลองสาน 3.2.3 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้สนับสนุนการดำเนินกิจการโรงเรียนร่วมให้คำปรึกษาแนะนำ ช่วยเหลือพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 3.2.4 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติความคิดเห็นระหว่างกัน ทำให้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษาและโรงเรียนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานให้เจริญก้าวหน้าต่อไป 74,700.00 27,700.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1243 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย กรุงเทพมหานคร เป็นมหานครแห่งศูนย์กลางของความเจริญและการพัฒนาในหลายๆด้าน มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ มีสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจำนวนมาก ก่อเกิดปัญหาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่มีสาเหตุปัจจัยเกี่ยวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะภาวะโลกร้อน มีการเพิ่มขึ้นของโรคระบาด โรคระบาดอุบัติใหม่ที่แพร่กระจายข้ามพื้นที่อย่างรวดเร็ว ปัญหาด้านการสาธารณสุข ทางสังคม ด้านการจราจร และ ปัญหาด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและการดำเนินชีวิต การปนเปื้อนของเชื้อโรคในอาหาร การร้องเรียนและเหตุเดือดร้อนรำคาญต่างๆ หรือเหตุอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสื่อมหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนจำนวนมาก ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ตอบสนองประชาชนในการแก้ไขปัญหาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ต้องมีความแม่นยำ รวดเร็ว และได้มาตรฐานสากล เป็นความจำเป็นที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานใหม่ด้วยการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและกฎหมาย ประกอบการวิเคราะห์แก้ไขปัญหามากขึ้น บุคลากรด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมจึงต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ด้วยการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุข ออกปฏิบัติงานในด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น การตรวจสอบควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การป้องกันปัญหาด้านสุขาภิบาลอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การตรวจสอบติดตามการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 การแก้ไขและตรวจสอบปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญ การตรวจสอบและควบคุมสถานที่จำหน่ายและสะสมอาหารป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคหรือสารเคมีในอาหาร การเฝ้าระวังและตอบโต้เหตุฉุกเฉิน รวมทั้งการปฏิบัติงานในภาวะหรือสถานการณ์ฉุกเฉินเร่งด่วน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตภาษีเจริญ มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินงานเสริมสร้างสภาวะทางสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และเห็นความสำคัญในเรื่องการบริหารงานด้านสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ซึ่งใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย เขตภาษีเจริญ ปี พ.ศ. 2565 ขึ้น 1. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและด้านสุขลักษณะ ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย ด้านอาหารปลอดภัยของสถานประกอบกิจการ 2. เพื่อส่งเสริมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของอาคารและสถานที่ทำงานให้มีสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี 3. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีและสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตภาษีเจริญ ในการปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยให้ทันต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีความพร้อมต่อการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัญหาด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 4. ป้องกันและคุ้มครองสุขอนามัยที่ดีของประชาชนในเขตภาษีเจริญ ให้ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพจากควันบุหรี่ และเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 - กิจกรรมที่ 1 การบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ออกปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของวันราชการปกติในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาลในสถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ แหล่งชุมนุมชน สถานพยาบาล สถานศึกษา วัดและศาสนสถาน ป้ายรถโดยสารประจำทาง และสถานีรถไฟฟ้า เพื่อดำเนินการตรวจสอบและประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 จำนวน 35 - กิจกรรมที่ 2 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ออกปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน เร่งด่วน หรือกรณีจำเป็นนอกเวลาราชการของวันราชการปกติในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน การตรวจสอบแก้ไขเหตุเดือดร้อนรำคาญ การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ด้านอาหารปลอดภัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ ตรวจการปนเปื้อนของเชื้อโรคในอาหาร การรณรงค์เผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกันและควบคุมปัญหาสาธารณสุข หรือปัญหาทางด้านสาธารณสุขอื่นๆตามสถานการณ์ จำนวน 48 วัน 165,075.00 165,075.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1244 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (One Platform) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ สำนักงานเขตสาทรได้ตระหนักถึงความสำคัญของฐานข้อมูลที่สำนักงานเขตสาทรจัดทำขึ้น ดังนั้นทางสำนักงานเขตสาทรมีโครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เพื่อเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการ และประชาชนผู้มาติดต่อราชการ พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อไปใช้สนับสนุนในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตได้ สามารถสร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล จานวน 10 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานเสนอต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานครอย่างน้อย 1 ผลงานนวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1245 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เสนอและพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พัฒนาวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พัฒนาวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน จำนวน 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1246 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1247 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) ด้วยสภาวการณ์ในปัจจุบัน กรุงเทพมหานครมีความเจริญเติบโตในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม จึงทำให้กรุงเทพมหานครมีจำนวนประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีอาคารสถานประกอบการและที่พักอาศัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เมื่อเกิดสาธารภัยต่างๆ เช่น ภัยจากสงคราม ภัยจากการก่อการร้าย การจลาจล การก่อวินาศกรรมต่างๆ รวมทั้งภัยที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย ตลอดจนภัยจากอุบัติเหตุทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ย่อมนำมาซึ่งความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากมายมหาศาล และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มถี่มากขึ้น สำนักงานาเขตสวนหลวงมีความตระหนักในปัญหาดังกล่าว ที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง (หลักสูตรหลัก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันภัยต่างๆ ดังกล่าว อันอาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ ด้วยการให้ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนหามาตรการในการป้องกัน การบรรเทา และการฟื้นฟูเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ อย่างมีระบบและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ในการจัดการสสาธารณภัยอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่และภารกิจเกี่ยวกับงาน อปพร. และแนวทางการทำงานในรูปแบบคณะกรรมการประสานงานศูนย์ อปพร. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจมีทักาะความสามารถในเรื่องการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประเภทต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อสร้างเครีอข่ายความร่วมมือภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการช่วยเหลือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่เขต ดำเนินการฝึกอบรมให้แก่ประชาชนทั่วไปที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบที่กำหนด จำนวน 50 คน โดยมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามโครงการฯ จำนวน 10 คน รวมเป็น 60 คน 64,100.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1248 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) สำนักงานเขตสวนหลวงได้ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เขตสวนหลวง ตามแผนการอบรมเพื่อเป็นกำลังสนับสนุนสำคัญที่เข้าร่วมงานกับเจ้าหน้าที่เขตช่วยเหลืองานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกรูปแบบ สำนักงานเขตสวนหลวงพิจารณาแล้วเห็นว่า สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ที่ผ่านการอบรมในรุ่นต่างๆ ควรที่จะได้รับการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) ในการนี้ เพื่อให้สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง ได้ซักซ้อมทบทวนการปฏิบัติการและเพิ่มพูนความรู้ให้มีความต่อเนื่องและทันสมัย เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสสูตรทบทวน) ขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและการปฏิบัติงานของสมาชิก อปพร. เขตสวนหลวงให้มีความชำนาญในการวางแผนและการตัดสินใจในสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริง เพื่อพัฒนาให้เกิดความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจปฏิบัติงานแบบทีมงานของ อปพร. เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาวะผู้นำในแต่ละรุ่นประสานงานในการปฏิบัติหน้าที่ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เขตสวนหลวง จำนวน 50 คน เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการ จำนวน 10 คน 41,500.00 40,800.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1249 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ด้วยกรุงเทพมหานครได้ออกระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยได้กำหนดอัตราค่าตอบแทนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนสำหรับผู้ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตและศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนกรุงเทพมหานคร และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการ ดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และเกิดประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวงขึ้น 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อุบัติภัยและภัยทางสังคม 2.2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2.3 เพื่อสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการด้านความปลอดภัย สนับสนุนค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวงที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์วิทยุอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขตสวนหลวง วันละ 2 พลัด ๆ ละ 2 คน โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 352,000.00 292,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1250 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมตรวจสอบสถานบริการและสถานบันเทิงในพื้นที่เขตสวนหลวง ตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้มีการกำหนดนโนยบายด้านความปลอดภัย โดยกำหนดภารกิจการสั่งปิดสถานบริการที่ฝ่าฝืนกฎหมายเพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าอยู่และปลอดภัย สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการ/กิจกรรมตรวจสอบสถานบริการและสถานบันเทิงในพื้นที่เขตสวนหลวงเพื่อความปลอดภัยและน่าอยู่ในพื้นที่เขตสวนหลวง 1.เพื่อให้พื้นที่เขตสวนหลวงมีความปลอดภัยในเรื่องการก่อสร้างอาคารให้เป็นไปตามแบบที่กฎหมายกำหนด 2.เพื่อให้ส่วนราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกวดขันและจัดระเบียนสถานบันเทิงในพื้นที่ 1.ดำเนินการตรวจสถานบริการในพื้นที่เขตสวนหลวงให้สถานบริการมีมาตรฐานตามอาคารเสี่ยงภัยตามที่กฎหมายกำหนด 2.มีแผนการตรวจ 1 แผน 3.ดำเนินการตรวจสอบตามแผนที่กำหนดคิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1251 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณสำนักงานเขตสวนหลวง เพื่อให้การบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลและหน่วยรับงบประมาณสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามเป้าหมาย เพื่อให้ส่วนราชการในสำนักงานเขตสวนหลวงดำเนินการได้ตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด เพื่อเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด ในการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1252 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทและพระราชทานคำขวัญเกี่ยวกับการกีฬา “ชาติไทยเป็นชนชาตินักรบมาแต่โบราณกาลได้ชื่อว่าเป็นผู้กล้าหาญยืนหยัดต่อสู้อุปสรรคทุกอย่างโดยไม่ยอมถอย ทั้งมีความเมตตากรุณา เห็นอกเห็นใจผู้แพ้มีจิตใจเป็นนักกีฬาโดยแท้จริง เราทั้งหลายเป็นผู้สืบสายมาแต่บรรพบุรุษ จึงสมควรพยายามฝึกฝนตนเองให้มีความเข้มแข็ง ถึงพร้อมด้วยความเป็นนักกีฬาให้สมกับที่มีเลือดเป็นนักรบ และสามารถรักษาความเป็นไทของประเทศชาติ” “สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับนักกีฬานั้น คือ การเอาชนะใจตนเอง และชนะใจของคู่แข่งขัน และเช่นเดียวกันชนะใจของผู้ที่มาชมการแข่งขันด้วย” สำนักงานเขตสวนหลวง ได้สนองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ด้วยการส่งเสริมการเล่นกีฬาของนักเรียนในสังกัด โดยฝึกฝนเยาวชนให้รู้จักการเล่นกีฬา มีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬา มีความซื่อสัตย์ อดทน ตรงต่อเวลา เห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย และห่างไกลยาเสพติดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬามีความสามัคคีในหมู่คณะ และมีระเบียบวินัย เพื่อส่งเสริมสุขภาพพลานามัยของเยาวชนให้แข็งแรง เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะที่ดีและถูกต้องในการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ และส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะทางด้านกีฬา เพื่อพัฒนาตนเองไปสู่กีฬาระดับชาติ เพื่อการพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่มั่วสุมในอบายมุข เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีโอกาสเล่นกีฬาอย่างทั่วถึง ด้านปริมาณ - นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน 8 โรงเรียน - ชนิดกีฬาที่จัดการแข่งขัน ฟุตบอล บาสเกตบอล วอลเล่ย์บอล เทเบิลเทนนิส เปตอง เซปัคตะกร้อ แบดมินตัน กรีฑา ฟุตซอล และกีฬาอนุบาล ด้านคุณภาพ - นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตสวนหลวงมีโอกาสเล่นกีฬาอย่างทั่วถึง - นักเรียนรู้จักเล่นกีฬา ตลอดจนได้รับการอบรมบ่มนิสัยให้เป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬา 301,200.00 301,200.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1253 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการสอนในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ทักษะสำคัญด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ควรมี นอกจากนักเรียนจะต้องมีความรู้จากเนื้อหาสาระวิชาในห้องเรียนแล้ว นักเรียนจะต้องมีคุณลักษณะอื่นๆ ประกอบกัน ได้แก่ การมีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรมมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ด้วยการต่อยอดความรู้ที่ได้รับจากในชั้นเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถต่อยอดไปสู่การมีอาชีพในอนาคตได้ รวมถึงการเกิดความตระหนักในสิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมืองในสังคมไปพร้อมๆกัน ดังนั้น จึงเป็นภาระหน้าที่ของผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาจะต้องพัฒนาจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทั้งในด้านการจัดการเรียนการสอนในสาระวิชาทั่วไป และการจัดสภาพแวดล้อมที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทำงาน นำไปสู่การมีชีวิตที่สมบูรณ์ ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นหน่วยงานเผยแพร่ศีลธรรมทางพุทธศาสนาที่วัด มูลนิธิ สมาคม สถานศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐ ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งให้การศึกษา อบรม ปลูกฝังศีลธรรม วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามแก่เด็กและเยาวชน มีชื่อว่า “ศพอ” เป็นการจัดการศึกษาสงเคราะห์นอกระบบโรงเรียน ให้การศึกษาอบรมประชาชนซึ่งกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นเด็กและเยาวชนที่กำลังอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กและเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างในวันหยุดเรียน เข้ามาศึกษาหาความรู้ความเข้าใจตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา แล้วน้อมนำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข ซึ่งนับได้ว่าเป็นแหล่งสนับสนุน “การพัฒนาคน” สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564 ที่เน้นการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ กรุงเทพมหานคร มีนโยบายด้านการศึกษาอย่างเด่นชัดต้องการให้เยาวชนและคนทุกวัย มีความรู้คู่คุณธรรม ดังนั้น เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าว จึงสนับสนุนให้วัดในพื้นที่สำนักงานเขต ที่ยังไม่มีศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จัดตั้งศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขึ้น โดยสำนักการศึกษาจะสนับสนุนเรื่องอาคารสถานที่และอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งบุคลากรส่วนหนึ่ง ที่มีความรู้ความสามารถเข้าร่วมดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างวัด โรงเรียนและชุมชน ในการจัดอบรมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม แก่เด็กและเยาวชนให้เป็นพลเมืองดีของชาติ เพื่อพัฒนาศักยภาพของพระธรรมวิทยากรและแนวการจัดการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา ในศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างในวันอาทิตย์ ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ด้านปริมาณ - สำนักงานเขตสวนหลวง มีศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ คือ ศูนย์พระพุทธศาสนา-วันอาทิตย์โรงเรียนวัดปากบ่อ - นักเรียนโรงเรียนวัดปากบ่อและโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียง มีโอกาสศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ได้ใช้เวลาว่างในวันอาทิตย์ ด้านคุณภาพ - วัด โรงเรียน และชุมชน มีความสัมพันธ์อันดีในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนในท้องถิ่น มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และสามารถนำไปประพฤติปฏิบัติ ในชีวิตประจำวันได้ - เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างในวันอาทิตย์ ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และจะมีผลพัฒนาการด้านจิตพิสัยสูงขึ้น อย่างเป็นรูปธรรม 402,400.00 70,420.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1254 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาอาหรับ ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเป็นสิ่งจำเป็น ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการสื่อสารการศึกษา การแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และเพื่อประกอบอาชีพ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ไม่ได้เรียนเพื่อความรู้ทางด้านการภาษาเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความเข้าใจในความแตกต่างทางสังคม วัฒนธรรม และการเมือง ดังนั้น ในฐานะที่เป็นพลเมืองในยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร และสาระสำคัญของนโยบาย การสอนภาษาต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2548 ให้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่ 1 ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นสามารถจัดในรูปแบบของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไป กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่เด็กในกรุงเทพมหานคร ได้จัดให้มีการสอนภาษาต่างประเทศอื่นเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนตามความสนใจและเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ได้แก่ ภาษาอาหรับ เพราะเป็นภาษาที่ใช้ในประเทศเพื่อนบ้านที่มีการติดต่อทั้งด้านการค้า สังคม วัฒนธรรม และการศึกษา จึงควรวางพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษาอาหรับขึ้น ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การพัฒนานักเรียนด้านภาษาอาหรับมีความต่อเนื่อง สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้ดำเนินโครงการสอนภาษาอาหรับ จำนวน 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนสุเหร่าใหม่ โรงเรียนหัวหมาก โรงเรียนคลองกลันตัน (มีสุวรรณอนุสรณ์) โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ และโรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารภาษาอาหรับด้วยการสนทนาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับระดับชั้นเรียน และมีความสุขในการเรียน ด้านปริมาณ - โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเรียนภาษาอาหรับ จำนวน 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนสุเหร่าใหม่ โรงเรียนหัวหมาก โรงเรียนคลองกลันตัน (มีสุวรรณอนุสรณ์) โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ และโรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ ด้านคุณภาพ - นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถสื่อสารภาษาอาหรับด้วยการสนทนาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับชั้นเรียน 1,152,000.00 873,600.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1255 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการอบรมวิชาชีพเสริมรายได้ ในภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันได้พุ่งตัวสูงขึ้นเรื่อย ๆ สินค้าอุปโภค และบริโภคแม้แต่ค่าบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างขึ้นราคา ทำให้ครอบครัวที่มีฐานะยากจนและปานกลางได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องหารายได้มาเพื่อให้พอเพียงต่อรายจ่ายในครัวเรือน การจัดกิจกรรมฝึกวิชาชีพให้แก่ประชาชนและกลุ่มสตรี จึงมีความสำคัญอันจะเป็นการช่วยลดปัญหาความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและผลักดันเครือข่ายกลุ่มสตรีเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งตลาดภายใน และตลาดภายนอกประเทศ ดังนั้น เพื่อพัฒนาให้ชุมชนมีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฝึกวิชาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรี และประชาชนที่สนใจในเขตสวนหลวง -เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชน -เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้นในปัจจุบัน -เพื่อพัฒนาและเสริมทักษะด้านวิชาชีพต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มสตรีในชุมชนให้สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว -เพื่อส่งเสริมมาตรฐานและยกระดับสินค้าของกลุ่มสตรีในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้สามารถแข่งขันกับตลาดสากลได้ -เพื่อสร้างความหลากหลาย ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนารูปแบบสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้มีจุดเด่นที่สวยงาม มีคุณภาพ ในปริมาณที่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค จัดกิจกรรมฝึกวิชาชีพต่าง ๆ ให้แก่ประชาชนในชุมชนพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 300 คน รวม 6 กิจกรรม โดยการฝึกทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ณ ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง 98,200.00 24,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1256 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา กรุงเทพมหานครได้เล็งเห็นความสำคัญของลานกีฬาต้านยาเสพติด จึงได้มีนโยบายจัดตั้งลานกีฬาขึ้นในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬาและจัดกิจกรรมนันทนาการ เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตลอดจนปัญหาอื่นๆ โดยใช้กีฬาเป็นสื่อนอกจากนี้กรุงเทพมหานครยังได้มีนโยบายให้สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต จัดตั้งสโมสรกีฬาขึ้นเขตละ ๑ สโมสร รวม 50 สโมสร เพื่อรองรับการจัดกิจกรรมของลานกีฬาในพื้นที่เขต รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุนด้านการกีฬาให้กับสำนักงานเขตอีกด้วย ปัจจุบันสำนักงานเขตสวนหลวงมีลานกีฬาในพื้นที่เขต จำนวน 28 แห่ง และเพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานของสโมสรกีฬาและลานกีฬาของสำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬาขึ้น -เพื่อสรรหาอาสาสมัครลานกีฬาช่วยปฏิบัติงานด้านกีฬาในพื้นที่เขตสวนหลวง -เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสโมสรกีฬาและลานกีฬา -เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง ได้ออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง -เพื่อสนับสนุนนโยบายลานกีฬาต้านยาเสพติดของกรุงเทพมหานคร และรัฐบาล -จัดจ้างอาสาสมัครลานกีฬากรุงเทพมหานคร ประจำลานกีฬาในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 10 คน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -จัดการแข่งขันกีฬาให้กับลานกีฬาในพื้นที่เขต จำนวน 28 แห่ง มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันประมาณ 1,000 คน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -พัฒนาลานกีฬาในพื้นที่เขตโดยจัดซื้ออุปกรณ์กีฬาให้กับลานกีฬา ในพื้นที่เขต จำนวน 28 แห่ง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1,995,600.00 1,657,567.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1257 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะปัญหาการทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนัก ถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการ และการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ ด้วยเหตุนี้กรุงเทพมหานครจึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์บริการด้านเด็กสตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสระดับเขต ให้เป็นศูนย์อำนวยการในระดับพื้นที่ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยสำนักงานการสงเคราะห์และสวัสดิภาพสังคม สำนักพัฒนาสังคมซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชนผู้ประสบภาวะยากลำบากดังกล่าว ได้มีแนวทางการปฏิบัติงาน มีรูปแบบการทำงานร่วมกับฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมในสำนักงานเขตและสำนักต่าง ๆ ผ่านทางศูนย์บริการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในระดับเขต -ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ และการจัดสวัสดิการสังคมของกรุงเทพมหานคร -ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงาน เขตสวนหลวง -ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์รับแจ้งเหตุและบริการครอบครัวในชุมชน -ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานเพื่อจัดบริการด้านสวัสดิภาพและสวัสดิการแก่เด็กสตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสทุกพื้นที่เขต -สร้างเครือข่ายการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครในระดับเขตระดับสำนัก รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง -จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เชิงปริมาณ - จ้างบุคลากรเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการ ระยะเวลา 12 เดือน จำนวน 4 อัตรา ได้แก่ 1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ จำนวน ๑ อัตรา 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี จำนวน ๑ อัตรา 3. อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน ๑ อัตรา 4. อาสาสมัครช่วยคนพิการ จำนวน ๑ อัตรา เชิงคุณภาพ ประชาชนทุกระดับเกิดความสัมพันธ์อันดี มีความมั่นคงและเอื้ออาทรต่อกัน ทั้งภายในครอบครัวระหว่างครอบครัวและชุมชน เกิดเครือข่ายการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน มีระบบการเฝ้าระวังในชุมชน การป้องกัน การแก้ไข และสามารถส่งต่อผู้มีปัญหาหรือได้รับความเดือดร้อน เพื่อสามารถรับบริการสวัสดิการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึง 514,600.00 434,256.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1258 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี การทอดทิ้งผู้สูงอายุ คนพิการ ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเร่งดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลในทางปฏิบัติได้ดีเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขาดความร่วมมือหรือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา การขาดจิตสำนึกที่ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งการไม่ทราบหรือไม่สามารถเข้าถึงแหล่งการให้บริการและการช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ การจัดสวัสดิการสังคม การพัฒนาชุมชนรวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเพื่อรองรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น -เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ และการจัดสวัสดิการสังคม ของฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม -เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน -จ้างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมประจำสำนักงานเขต จำนวน 4 คน -ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกระดับได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ์ ได้รับสวัสดิการและการส่งเสริมพัฒนาอย่างครอบคลุม ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือในกรณีจำเป็นอย่างรวดเร็ว -เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการ การพัฒนาชุมชน การให้บริการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาสในทุกภาคส่วนของกรุงเทพมหานคร 585,200.00 547,873.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1259 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร สำนักงานเขตสวนหลวงโดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เป็นหน่วยงานกลางในการสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมเกษตรให้กับเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65 สำนักงานเขตได้กำหนดแผนดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๑ กิจกรรม คือกิจกรรมศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นภารกิจที่กรุงเทพมหานครได้รับถ่ายโอนมาจากกรมส่งเสริมการเกษตร ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓ จำนวน ๕๐ ศูนย์ ในพื้นที่๒๖ เขตชั้นนอก ซึ่งสำนักงานเขตสวนหลวงเป็นหนึ่งในจำนวน ๕๐ ศูนย์ของกรุงเทพมหานคร และศูนย์ฯดังกล่าวเป็นศูนย์กลางให้เกษตรกรได้เข้ามามีส่วนร่วมคิด วิเคราะห์ วางแผน และบริหารจัดการแผนด้วยตนเองและเป็นสถานที่ให้บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการให้ข้อมูลข่าวสารการเกษตรที่สำคัญแก่เกษตรกรในลักษณะบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดการบริการ ณ จุดเดียว เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมตามภารกิจของสำนักงานเขตสวนหลวงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน เกิดประโยชน์สูงสุดกับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป จึงได้จัดทำโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักพัฒนาสังคมเพื่อใช้ในกิจกรรมของศูนย์ต่อไป -เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวง เป็นศูนย์กลางระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐ องค์กรท้องถิ่นและเกษตรกรในการช่วยเหลือและแก้ปัญหาร่วมกัน -เพื่อพัฒนาการเกษตรและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกรในพื้นที่ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำสำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน ๑ ศูนย์ 115,100.00 93,480.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1260 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน การอ่าน เป็นพื้นฐานของการศึกษาที่เพิ่มพูนความรู้อันเป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ในยุคโลกาภิวัตน์ มีเอกสารสิ่งพิมพ์แหล่งเรียนรู้มากมายที่สามารถค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านจึงเป็นกิจกรรมที่ทำให้เด็กและเยาวชนที่เป็นนักอ่านจะใช้ภาษาได้ดี ทั้งด้านการพูด การเขียน และการเรียบเรียงความคิด ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2565) ได้กำหนดประเด็นยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี และมีเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรม มีเป้าประสงค์ให้คนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เป็นคนดี มีคุณภาพ มีศักยภาพ มีความสามารถในการแข่งขัน และมีคุณธรรมจริยธรรม มีการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตในแต่ละท้องถิ่นและให้มีการปลูกฝังค่านิยมรักการอ่านให้เกิดกับคนไทยจนกลายเป็นวัฒนธรรม สำนักงานเขตสวนหลวงตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการครอบครัวรักการอ่านขึ้น เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชน รู้จักแสวงหาข้อมูล รู้จักคิด รู้จักเลือกสรรสารสนเทศที่ดีมีประโยชน์เหมาะแก่การนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต พัฒนาตนเองให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างสรรค์ประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เป็นการดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ซึ่งจะมีผลนำไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไป -เพื่อให้บริการข่าวสารและความรู้ต่างๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์ -ส่งเสริมเยาวชนและประชาชนให้มีนิสัยรักการอ่าน และการศึกษาค้นคว้า -เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย -ส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ -เพื่อส่งเสริมภาพพจน์ ด้านการให้บริการสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานครในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน จัดกิจกรรมพื้นฐาน ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยจัดนิทรรศการและการประกวดต่าง ๆประกอบด้วย ประกวดวาดภาพระบายสี ประกวดเรียงความ ประกวดเล่านิทาน ระบายสีตุ๊กตาปูนปั้น ตอบปัญหาความรู้ความสามารถทั่วไป เกมส่งเสริมความรู้และเกมเพื่อนันทนาการ สำหรับบ้านหนังสือ จำนวน 6 แห่ง คือบ้านหนังสือธรรมานุรักษ์ บ้านหนังสือวัดปากบ่อ บ้านหนังสือคลองจวน บ้านหนังสืออัลกุ๊บรอ บ้านหนังสือหมู่บ้านเกษมสันต์2 และบ้านหนังสือมัสยิดดารุ้ลอามีน กำหนดจัดกิจกรรม 6 ครั้ง/ปี/แห่ง โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยเด็กและเยาวชนในชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 1,800 คน รายละเอียดดังนี้ - บ้านหนังสือธรรมานุรักษ์ กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง) - บ้านหนังสือวัดปากบ่อ กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง) - บ้านหนังสือคลองจวน กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง) - บ้านหนังสืออัลกุ๊บรอ กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง) - บ้านหนังสือหมู่บ้านเกษมสันต์ 2 กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง) - บ้านหนังสือมัสยิดดารุ้ลอามีน กลุ่มเป้าหมาย 300 คน (50 คน X 6 ครั้ง)(วัน เวลา และสถานที่ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม) 240,000.00 97,500.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1261 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครโดยสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของผู้คนในแต่ละท้องถิ่น เผยแพร่แก่ประชาชน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นนโยบายของกรุงเทพมหานครในการที่จะพัฒนาให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี และมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม โดยปัจจุบันได้ดำเนินการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครแล้วทั้งสิ้น 26 แห่ง ใน 24 พื้นที่ เขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร บรรลุตามวัตถุประสงค์ในการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจึงได้มอบภารกิจพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครให้เขตพื้นที่รับผิดชอบบริหารจัดการต่อไป สำนักงานเขตสวนหลวง มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่วัดปากบ่อ ซอยอ่อนนุช 35แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง เพื่อให้การดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ มีความพร้อมในการรองรับการเข้าเยี่ยมชมของประชาชนนักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ทั้งด้านกายภาพ และองค์ประกอบด้านความรู้ จึงได้จัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง ให้เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลและการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่เขตสวนหลวงต่อไป -เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ประวัติศาสตร์ความเป็นมา วิถีชีวิต ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น -เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมของท้องถิ่น และตระหนักถึงคุณค่าที่จะรักษาไว้ให้คงอยู่ -เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับชุมชน และเป็นคลังปัญญาของคนในท้องถิ่น และผู้สนใจทั่วไป -เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้กับกรุงเทพมหานคร -เพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตสวนหลวง มีความพร้อมในการรองรับการเข้าเยี่ยมชมของประชาชน นักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ทั้งด้านกายภาพ และองค์ประกอบด้านความรู้โดยจัดให้มีการบริหารจัดการและการดูแลรักษาทางด้านสถานที่ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์และจัดกิจกรรมพิเศษในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 352,100.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1262 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทและเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย ซึ่งส่งผลให้วิถีชีวิตของคนในสังคม โดยเฉพาะทางด้านวัฒนธรรมและประเพณีไทย ที่ดีงาม อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย ได้ถูกเปลี่ยนแปลงหรือหลงลืมไป เนื่องจากคนรุ่นหลังขาดความเข้าใจในวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามอย่างถูกต้อง สำนักงานเขตสวนหลวงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามที่อยู่คู่สังคมไทยมายาวนาน จึงจัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกในการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีไทยอันดีงามให้ดำรงอยู่ต่อไป เพื่อส่งเสริมให้คนในท้องถิ่นเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยอันดีงาม เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้สูงอายุ ชุมชน และประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวงที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เผยแพร่และสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญที่เกี่ยวกับชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จัดกิจกรรมในวันสำคัญและอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน 4 กิจกรรม 500,000.00 120,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1263 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน ตามหลักการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ทั้งนี้โดยมีความเชื่อมั่นในความสามารถ และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่มีความต้องการที่จะได้รับการพัฒนาทุกๆ ด้าน กิจกรรมการพัฒนาชุมชนจึงต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ ของประชาชนภายในชุมชนเป็นสำคัญ เพื่อที่จะได้เป็นพลังชุมชนในการสร้างสรรค์ให้ชุมชนได้รับการพัฒนา สมดังเจตนารมย์ และความต้องการของชุมชนต่อไป สำนักงานเขตสวนหลวง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม มีภาระหน้าที่โดยตรงในการส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้ชุมชนได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม อนามัยและจิตใจ โดยมีแกนนำชุมชนที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการชุมชนเป็นตัวแทนในการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาชุมชนโดยมีชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ แบ่งเป็นชุมชนขนาดเล็ก 2๖ ชุมชน และชุมชนขนาดกลาง 1๙ ชุมชน รวม 45 ชุมชน ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการสามารถบริหารจัดการชุมชนได้อย่างคล่องตัว เกิดการพัฒนากลุ่มในลักษณะองค์กรชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อช่วยเอื้อต่อการพัฒนาชุมชนสังคมต่อไป จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการชุมชนให้สามารถดำเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีอิสระความต่อเนื่องและมั่นคง เพื่อเป็นค่าสนับสนุนการจัดกิจกรรมการพัฒนาชุมชนในโอกาสพิเศษต่างๆ เช่นวันสำคัญของชาติ วันสำคัญทางศาสนา วันเด็กแห่งชาติ วันสงกรานต์ เป็นต้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าพาหนะติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ค่าซ่อมแซมวัสดุ ครุภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างองค์กรประชาชนให้มีความเข้มแข็งสามารถดำเนินกิจกรรมการพัฒนา-ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการบริหารจัดการของคณะกรรมการชุมชนในการดำเนินการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ รวมทั้งสิ้น 45 ชุมชน ในปีงบประมาณ 256๕ 3,270,000.00 1,493,791.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1264 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมฤดูร้อน สถานการณ์ด้านสังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้เด็กและเยาวชนไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ทำให้ประสบกับปัญหาต่าง ๆ หลายด้าน เช่น ปัญหาความยากจน ขาดการศึกษา มีการมั่วสุมแหล่งอบายมุข เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นเหตุให้เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะในชุมชนแออัดที่ประสบปัญหาเหล่านี้จะถูกปล่อยปละละเลย ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เฝ้าระวัง ไม่มีโอกาสได้รับการศึกษา ทำพฤติกรรมสิ่งที่ผิดกฎหมาย สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมฤดูร้อน เพื่อให้ประชาชนมีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักเสียสละ มีวินัยต่อตนเองและผู้อื่น เกิดทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างมีคุณภาพ เสริมสร้างการมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วม เพื่อการพัฒนาชุมชน ตลอดจนเป็นเกราะป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อพัฒนาทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรมจริยธรรม รู้จักเสียสละ รักษาระเบียบวินัย มีความรู้จักสามัคคี มีจิตสำนึกในหน้าที่ของตนเอง ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาคน พัฒนาชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด และแหล่งมั่วสุมอบายมุข จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมฤดูร้อนแก่ประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยการจัดอบรมให้ความรู้จริยธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และห่างไกลยาเสพติดแก่ประชาชน จำนวน 2,400 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 10 คน ดังนี้ 1. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมศาสนาอิสลาม จำนวน 23 รุ่น ๆ ละ 100 คน ได้แก่ ชุมชนเอื้ออารีย์ ชุมชนอัลกุ๊บรอ ชุมชนสะและน้อย ชุมชนประสาทศีล ชุมชนดารุ้ลอามีน ชุมชนถนนพระราม 9 พัฒนา ชุมชนอัลเอี๊ยะติซอม ชุมชนเจริญพัฒนาถาวร ชุมชนมุสลิมพัฒนาบ้านป่า มูลนิธิแพสะและน้อย ชุมชนคลองจวน ชุมชนธรรมานุรักษ์ มัสยิดดาริสสลาม ชุมชนหัวหมากเกาะกลาง โรงเรียนมัจลิซุดดีนี โรงเรียน-พัฒนาการหญิงศึกษา โรงเรียนอัดดีนุ่นนะซีฮะห์ โรงเรียนสอนศาสนาริยาดุสซอลีฮีน ชุมชนร่วมพัฒนาบ้านป่า ชุมชนคลองสะแก ชุมชนพัฒนาริมคลองบ้านป่า ชุมชนแหลมทองพัฒนา และชุมชนวิเศษสุข 2. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมศาสนาพุทธ จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 100 คน ได้แก่ ชุมชนหลังวัดปากบ่อ และใกล้เคียง 730,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
1265 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (สำนักงานเขตบางแค) การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้กำหนดให้การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 องค์ประกอบที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐเพื่อไปสู่ระบบราชการ 4.0 (Innovation Base) ซึ่งกำหนดให้สำนักงานเขต ดำเนินการผลิตนวัตกรรมของหน่วยงานและสามารถนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ เพื่อมุ่งสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อดำเนินการผลิตนวัตกรรมของหน่วยงานและสามารถนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ ตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผลิตนวัตกรรม จำนวน 1 ชิ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1266 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสายไหม การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1267 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน สำนักงานเขตวังทองหลาง ถือเป็นเมืองที่พักอาศัยน่าอยู่ที่มีการเจริญเติบโตของอาคารบ้านเรือนสูง ปัจจุบันประสบกับปัญหาต่างๆ หลายด้าน เช่น ขยะที่มีปริมาณมากขึ้นตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร สำนักงานเขตมีหน้าที่ในการให้บริการเกิบขนมูลฝอยในพื้นที่เขต และเพื่อให้การบริการของสำนักงานเขตมีประสิทธิภาพและได้รับความร่วมมือที่ดีจากชุมชน จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชนในการมีส่วนร่วมในด้านการรักษาความสะอาด โดยว่าจ้างอาสาสมัครชักลากขยะในชุมชน เพื่อทำการชักลากขยะมารวมกันไว้ที่ที่พักหรือจุดรวมขยะ 1. เพื่อให้ประชาชนและชุมชนร่วมมือกันแยกขยะก่อนทิ้ง 2. เพื่อให้เกิดการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่มีขยะตกค้างในชุมชน 3. เพื่อก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานของรัฐ ดำเนินการจ้างอาสาสมัครชักชากมูลฝอยในชุมชน จำนวน 6 ราย ในชุมชม 6 ชุมชน คือ ชุมชนรามคำแหง 53, ชุมชนวัดตึก, ชุมชนสันประเสริฐ, ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา,ชุมชนไดร์ฟอิน และชุมชนเทพลีลา 179,100.00 179,100.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1268 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว - นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมโดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของกรุงเทพมหานครกำหนดให้สำนักสิ่งแวดล้อมและสำนักงานเขต เป็นผู้รับผิดชอบการดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย มิติที่ 2.2 พื้นที่สาธารณะมีพื้นที่สีเขียวกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ เป้าประสงค์ที่ 2.2.1 กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจเพียงพอ ดังนั้นฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนประดิษฐ์มนูธรรม (ฝั่งขาเข้า) ตั้งแต่คลองทรงกระเทียม ถึงถนนลาดพร้าว เพื่อสร้างทัศนีย์ภาพที่ร่มรื่น สวยงาม สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้ง เป็นหนึ่งในมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อลดมลพิษทางอากาศให้กับเขตวังทองหลาง -เพื่อบำรุงรักษา ปรับปรุง ปรับสภาพภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว บริเวณสวนถนนริมทางเท้าถนนประดิษฐ์มนูธรรม (ฝั่งขาเข้า) ตั้งแต่คลองทรงกระเทียม ถึงถนนลาดพร้าว ให้มีทัศนีย์ภาพที่สวยงาม ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดียิ่งขึ้น ประชาชนในเขตวังทองหลางเกิดความพึงพอใจ อีกทั้งเป็นหนึ่งในมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อลดมลพิษทางอากาศให้กับเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนประดิษฐ์มนูธรรม (ฝั่งขาเข้า) ตั้งแต่คลองทรงกระเทียม ถึงถนนลาดพร้าว เป็นพื้นที่สีเขียวด้วยการปลูกต้นไม้ ไม้ดอกไม่ประดับ ให้เกิดความสวยงานเป็นระเบียบเรียบร้อย 500,000.00 499,975.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1269 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 ส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงมีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอยโดยเฉพาะปัญหามูลฝอยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สำนักงานเขตวังทองหลาง ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอย 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแปรรูปขยะเศษอาหารเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ก๊าซชีวภาพ หรือเป็นอาหารสัตว์ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ เป็นผู้ดำเนินการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยตั้งเป้าหมายไว้ในชุมชน, โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และหมู่บ้านจัดสรรจำนวน 4 แห่ง 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1270 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา (โครงการต่อเนื่องปี 64) ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญจนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ - ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าว ชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 - เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนักมีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก - เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา - ทำการยกระดับถนนเพิ่มขึ้นประมาณ 0.60 ม. จาก ระดับถนนเดิม - สร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด ø 1.00 ม. พร้อมบ่อพัก - สร้างทางเท้ากระเบื้องซีเมนต์อัดแรง ขนาด0.30x0.30x0.035 กว้างประมาณ 2.25 ม. - สร้างกำแพงกันดิน - สร้างพื้นทางหินคลุก หนา 0.30 ม. - ถมทรายขยายคันทาง - ปรับปรุงผิวจราจรเป็น ค.ส.ล. หนา 0.25 ม. กว้าง 9.00 ม. - ปรับปรุงและขยายสะพานข้ามคลอง ค.ส.ล. จำนวน 5 แห่ง 98,510,000.00 78,246,619.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2021-12-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1271 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1272 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ โดยใช้เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงต่างๆ เพื่อรองรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดการชำรุดเสียหายจากการใช้งาน เพื่อซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล ให้มีความพร้อมในการนำไปใช้ปฏิบัติงานตลอดเวลา และสำรองเปลี่ยนทดแทนกรณีชำรุดเสียหาย การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1273 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น เพื่อให้การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์แก่สำนักงานเขตต่าง ๆ ติดตั้งใช้งานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ที่สำนักงานเขตรับผิดชอบ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์เป็นไปตามแผนการสนับสนุนประจำปี 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1274 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการจัดทำและพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเชิงรุก (โครงการต่อเนื่อง) (กสน.) กองสารสนเทศระบายน้ำ ซึ่งเป็นส่วนราชการที่รับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม จึงได้จัดทำ โครงการจัดทำและพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเชิงรุก เพื่อเป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ เป็นการสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ของผู้บริหารและบุคลากร มารวบรวมในระบบที่ผู้บริหารและบุคลากรทุกคน สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ และยังเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจที่รับผิดชอบ เพื่อให้มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ 67,955,000.00 17,843,250.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1275 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบประเมินปริมาณฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ (กสน.) สำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการนำเครื่องมือที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ และโต้ตอบ (Control-Monitor-Forecast-Interact) อันจะส่งผลให้ระบบระบายน้ำของกรุงเทพมหานครทำงานได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและผลกระทบจากการเกิดน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้อย่างยั่งยืน ฝนที่ตกหนักเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นในการบริหารจัดการน้ำท่วมที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องมีข้อมูลการประเมินฝนและการพยากรณ์ฝนที่มีความถูกต้องแม่นยำ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบายน้ำ รวมทั้งเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารจัดการน้ำท่วม เทคนิคการสำรวจระยะไกลด้วยเรดาร์ตรวจอากาศได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อนำมาใช้ในการตรวจวัดฝน เนื่องจากเรดาร์ตรวจอากาศสามารถให้ข้อมูลรายละเอียดของฝนครอบคลุมพื้นที่ที่อยู่ภายใต้รัศมีของเรดาร์และสามารถทำการตรวจวัดฝนได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถให้ความละเอียดของข้อมูลฝนในเชิงพื้นที่ได้ละเอียดถึง o.๕ x o.๕ ตารางกิโลเมตร และสามารถตรวจวัดข้อมูลฝนได้ทุกๆ ๕ นาที ข้อมูลตรวจวัดฝนจากเรดาร์ยังสามารถนำมาใช้ได้ในทันทีหรือมีฝนตก นอกจากนี้ข้อมูลที่วัดได้จากเรดาร์ยังมีศักยภาพเพียงพอที่จะถูกนำไปใช้ในการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำท่วมได้ในลำดับต่อไป ๑. เพื่อจัดทำระบบประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ด้วยเรดาร์ตรวจอากาศ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลจากเรดาร์ ๒ สถานีร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วยสถานีเรดาร์หนองจอก และสถานีเรดาร์หนองแขม โดยวิธี Composite Radar Reflectivity ให้สามารถประเมินข้อมูลฝนเชิงพื้นที่ในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานครได้ ๒ เพื่อเชื่อมโยงระบบการประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง เข้ากับระบบบริหารจัดการน้ำท่วมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมแบบ Realtime เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำท่วม การประชาสัมพันธ์และการเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๑ การประยุกต์ใช้ข้อมูลตรวจวัดปริมาณฝนด้วยเรดาร์ตรวจอากาศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒ มีระบบประเมินปริมาณฝนและคาดการณ์ฝนล่วงหน้า๑-๓ ชั่วโมงที่มีความแม่นยำ น่าเชื่อถือ และได้มาตรฐานในระดับสากล 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
1276 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร (กสน.) ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร จะทำหน้าที่ในด้านการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการระบายน้ำ และการป้องกันน้ำท่วมในกรุงเทพมหานคร โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยประกอบด้วย “สถานีแม่ข่าย” (Master Station) ซึ่งตั้งอยู่ที่ชั้น 6 ของอาคารสำนักการระบายน้ำ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ถนนมิตรไมตรี เขตดินแดง และ “สถานีเครือข่าย” (Monitoring Station) กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ตามสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บางแห่ง คลองสายหลักต่าง ๆ และสำนักงานเขตทั้ง 50 เขต การทำงานของระบบควบคุมการทำงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบ SCADA ซึ่งมีระบบตรวจวัดข้อมูลระยะไกล และส่งข้อมูลมายังศูนย์กลางอัตโนมัติ จากประเมินสถานการณ์ในการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกับระบบตรวจวัดข้อมูลด้านต่าง ๆ ของสถานีเครือข่ายศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร พบว่าระบบตรวจวัดข้อมูลยังไม่ครอบคลุมในสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำ ซึ่งเป็นระบบหลักและสำคัญในการควบคุมและระบายน้ำเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีเพียง 75 แห่ง จึงเห็นควรขยายขีดความสามารถของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุมสถานีสูบน้ำและประตู ระบายน้ำที่เป็นจุดสำคัญ และเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบควบคุมระบบของศูนย์ควบคุมระบบป้องกัน น้ำท่วมกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถรับทราบสถานการณ์การทำงานรวมถึงรองรับการควบคุมการทำงานของสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำได้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พร้อมกับการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวัดข้อมูลของสถานีเครือข่ายเดิม โดยติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลเพิ่มเติม และพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ในการบริหารจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครได้รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ตามนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 1 ขยายขีดความสามารถของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำหลักที่สำคัญในการควบคุมน้ำ 2 เพิ่มประสิทธิภาพระบบตรวจวัดข้อมูลของสถานีเครือข่ายเดิมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครให้มีข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ในทุกด้าน 3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการควบคุมและบริหารสั่งการของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร - มีระบบตรวจสอบ ควบคุมและบริหารจัดการสถานีสูบน้ำ และประตูระบายน้ำหลักเพื่อควบคุมน้ำและป้องกันแก้ไขปัญหาน้ำท่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ- ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ควบคุมน้ำและมีข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และครอบคลุมระบบระบายน้ำหลัก เพื่อการบริหารจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ - ติดตั้งระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำในคลองเปรมประชากร คลองสอง คลองแสนแสบ คลองประเวศบุรีรมย์ คลองภาษีเจริญ คลองพระยาราชมนตรี คลองสนามชัยและแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 10 จุด 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
1277 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบตรวจสอบและควบคุมเครื่องสูบน้ำอัตโนมัติพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วม (กสน.) ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครอันเนื่องจากฝนตกในพื้นที่เป็นปัญหาใหญ่ และก่อให้เกิดปัญหาด้านอื่น ๆ ตามมา เช่น ด้านการจราจร ด้านความปลอดภัย ซึ่งปัญหาน้ำรอการระบายในหลายพื้นที่เกิดบ่อยครั้งแม้ปริมาณฝนไม่มากจนกลายเป็นจุดเสี่ยงที่ต้องมีการเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เพื่อบรรเทาปัญหาด้านต่าง ๆ จำเป็นต้องเร่งการแก้ไขปัญหาให้คลี่คลายให้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วมได้ใช้ระบบพื้นที่ปิดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาและการระบายน้ำที่ท่วมออกจากพื้นที่อาศัยเครื่องสูบน้ำตามบ่อสูบน้ำต่างๆ ในพื้นที่ปิดล้อมเป็นหลักเพื่อสูบระบายน้ำจากจุดน้ำท่วมไปลงสู่คลองและใช้คลองลำเลียงน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา การเปิดเดินเครื่องสูบน้ำ เพื่อเร่งการระบายน้ำบริเวณน้ำท่วมปัจจุบันใช้เจ้าหน้าที่เฝ้าประจำเครื่องสูบน้ำทุกจุดตลอด 24 ชั่วโมง การตรวจสอบการเดินเครื่องสูบน้ำและการสั่งการเดินเครื่องสูบน้ำต้องประสานและสั่งให้เจ้าหน้าที่ที่ประจำ ทำการเดินเครื่องโดยใช้ระบบโทรศัพท์และวิทยุสื่อสารซึ่งการติดต่อประสานงานเพื่อสั่งการ ปัจจุบันการประสานสั่งการมีอุปสรรคในบางครั้งที่ไม่สามารถติดต่อหรือสั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ประจำเครื่องสูบน้ำได้ เป็นเหตุให้การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเกิดความล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์ จึงมีแนวคิดจัดหาระบบเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพกรณีดังกล่าว โดยจัดทำโครงการระบบตรวจและควบคุมเครื่อง สูบน้ำอัตโนมัติพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วม โดยติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็นในการตรวจสอบสถานะเครื่องสูบน้ำ ระบบควบคุมการเปิดเดินเครื่องสูบน้ำระยะไกล และระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในการตรวจดูสภาพความพร้อมของระบบต่าง ๆ ที่บ่อสูบน้ำ ระบบดังกล่าวจะเชื่อมโยงข้อมูลเข้ามาที่ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมหรือส่วนกลาง ซึ่งทำให้รับทราบสถานการณ์หรือสถานะการทำงานของบ่อสูบน้ำได้ตลอดเวลา รวมถึงระบบสามารถสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำได้จากส่วนกลางตามสถานการณ์ฝนหรือน้ำท่วม จะทำให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาได้รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ - เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ในการสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม - เพื่อสำรวจติดตั้งอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบการทำงานของเครื่องสูบน้ำและความพร้อมของบ่อสูบน้ำ สถานีสูบน้ำในพื้นที่จุดเสี่ยงและจุดเฝ้าระวังน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร - เพื่อจัดทำระบบการตรวจสอบและควบคุมเครื่องสูบน้ำระยะไกล ในการควบคุมและสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำจากส่วนกลาง - เพื่อรับทราบสถานการณ์ปัจจุบันของเหตุการณ์บริเวณบ่อสูบหรือสถานีสูบน้ำได้เพื่อประเมินและวางแผนการแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว - จุดเสี่ยงทุกจุดมีระบบตรวจสอบการทำงานของเครื่องสูบน้ำ ที่สามารถตรวจสอบได้จากส่วนกลางได้ทันทีและตลอดเวลา - มีระบบการควบคุมและสั่งการระยะไกล สามารถสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำได้ทันทีจากส่วนกลาง - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ ๒ Mega Pixel Fix Hybrid Camera ชนิด Day/Night Mode จำนวน 80 กล้อง 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
1278 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะสดที่ย่อยสลายได้ ขยะที่ยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย สำนักงานเขตบางคอแหลม โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและเศษผักผลไม้ โดยนำมาแปรสภาพให้เป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์หรือเป็นอาหารสัตว์ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและเศษผักผลไม้ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย และช่วยประหยัดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เขตบางคอแหลม มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะเศษอาหาร และเศษผักผลไม้ โดยนำมาทำน้ำหมักจุลินทรีย์ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก 2 เพื่อก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 3 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 1 ดำเนินการสาธิตการจัดการมูลฝอยให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ชุมชน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และโรงเรียนเอกชนในพื้นที่เขตบางคอแหลม ดำเนินการอย่างน้อยกลุ่มเป้าหมายละ 1 แห่ง 2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอย ร้อยละ 10 ต่อปี เป็นส่วนหนึ่งของปริมาณที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 3 ประชาชนสามารถนำเศษอาหาร เศษผักผลไม้มาทำเป็นน้ำหมักจุลินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ในชุมชน และในครัวเรือนได้ 50,000.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1279 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ทำให้ มีประชากรจากต่างถิ่นต่างพื้นที่เข้ามาพักอาศัยและประกอบอาชีพกันอย่างหนาแน่น จึงส่งผลให้มีปริมาณ มูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันมีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้ประมาณ 10,500 ตัน/วัน ซึ่งหากไม่มีมาตรการจัดการที่ดีก็จะส่งผลให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทำให้เกิดมลภาวะเป็นพิษได้ และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการลดปริมาณมูลฝอยการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดและเห็นความสำคัญของ การนำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ขยะสดที่ย่อยสลายได้ เช่น ขยะเศษอาหารจากครัวเรือน เศษผัก เปลือกผลไม้ ฯลฯ 2. ขยะยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ ขวดพลาสติก แก้ว ฯลฯ 3. ขยะอันตราย เป็นขยะที่ก่อให้เกิดสารพิษและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสีสเปรย์ ฯลฯ 2.1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ เช่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ เช่น หมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ นำไปเลี้ยงสัตว์ หมักทำปุ๋ยอินทรีย์ นำไปเลี้ยงไส้เดือน 2.2 เพื่อลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องกำจัดและทำลาย 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาสชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ส่งเสริมให้ประชาชนนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 3.1 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 แห่ง - โรงเรียนวัดใต้ - โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ - โรงเรียนวัดปากบ่อ - โรงเรียนสุเหร่าใหม่ - โรงเรียนหัวหมาก - โรงเรียนคลองกลันตัน - โรงเรียนวัดทองใน - โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ 3.2 สถาบันการศึกษา จำนวน 1 แห่ง - สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น 3.3 โรงเรียนเอกชน จำนวน 2 แห่ง - โรงเรียนมูลนิธิวัดปากบ่อ - โรงเรียนวัดมหาบุศย์ 3.4 ชุมชนในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง - ชุมชนสวนหลวงก้าวหน้า - ชุมชนมิตรไมตรี - ชุมชนธรรมานุรักษ์ - ชุมชนริมคลองหัวหมากใหญ๋ 3.5 ตลาด จำนวน 1 แห่ง - ตลาดเอี่ยมสมบัติ3.6 ประชาชนผู้สนใจทั่วไป 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1280 0.0.0.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์รวมของความเจริญในทุกด้าน ไม่ว่าด้านการปกครอง การทหาร การเศรษฐกิจและการคลัง การคมนาคมขนส่ง การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข การท่องเที่ยว จนมีผู้กล่าวว่า “กรุงเทพมหานคร คือ ประเทศไทย” ประกอบกับ มีการอพยพหลั่งไหลของประชาชนจากทั่วทุกสารทิศเข้ามาตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ หรือแสวงหาโอกาสในด้านต่างๆ จากการเป็นศูนย์รวมของความเจริญและมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นดังกล่าว กรุงเทพมหานครจึงเป็นมหานครที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาจากการก่ออาชญากรรมที่นับวันจะมีแนวโน้มทวีความรุนแรง มีความซับซ้อน และมีจำนวนสถิติการเกิดเหตุที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุข ของประชาชนและถือเป็นภัยอันรุนแรงของสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ให้บริการสาธารณะเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลให้ประชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและเป็นปกติสุข ซึ่งรวมไปถึงการดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากปัญหาอาชญากรรม โดยบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ในการป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ การดูแลและปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม การดูแลและติดตั้งอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยต่างๆ รวมไปถึงการจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราความเรียบร้อยของพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีความล่อแหลมหรือมีสถิติการเกิดอาชญากรรมบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการป้องปราม และตัดโอกาสหรือลดช่องทางในการก่ออาชญากรรม ทั้งนี้ โดยการบูรณาการประสานความร่วมมือกันระหว่างสำนักงานเขตสวนหลวง และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 9.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในพื้นที่เขตสวนหลวง 9.2 ประชาชนมีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต 9.3 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงานสำนักงานเขตสวนหลวงและองค์กรกรุงเทพมหานคร รวมถึงสร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกที่ดีระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตสวนหลวง จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงวันละ 2 ครั้ง/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1281 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย4. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 1. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 30 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขเท่ากับร้อยละ 100 80,900.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1282 2.1.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2565 โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้มีสภาพที่สวยงาม เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้มีสภาพที่สวยงาม ตามแผนที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1283 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตสวนหลวง ได้รับการสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชน ซึ่งดำเนินการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการชุมชน ในพื้นที่เขตสวนหลวงมีศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 13 ศูนย์ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กจำนวน 95 คน เด็กก่อนวัยเรียนที่ใช้บริการกว่า 1,090 คน และมีแนวโน้ม จะขยายจำนวนศูนย์มากขึ้น เนื่องจากภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่ทำให้ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ไม่มีเวลาที่จะเลี้ยงดูเด็กด้วยตนเอง และไม่สามารถนำเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลได้ โดยเน้นการแบ่งเบาภาระผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานของตนเอง ให้มีความพร้อมทั้งด้านจิตใจ อนามัย สังคม ก่อนเข้าสู่ระบบการเรียนต่อไป สภาวะศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชน มีความแตกต่างกันไปตามสภาพความจำเป็น ของแต่ละชุมชน หลายแห่งเป็นเพียงบ้านที่อยู่อาศัยของคนในชุมชน ที่มีความเมตตาโอบอุ้มเลี้ยงดูบุตรหลานของเพื่อนบ้าน ในขณะที่อีกหลายแห่งจัดสร้างขึ้นเป็นศูนย์ฯ เด็กโดยตรง คุณภาพและมาตรฐานของศูนย์ฯ เหล่านี้ จึงแตกต่างกันเป็นอันมาก ทั้งนี้รวมถึงสภาพความเจริญของชุมชน สภาพคล่องทางการเงินในการบริหารศูนย์ฯ และคุณภาพของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก สำนักงานเขตสวนหลวง เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยสำคัญที่สุดของชีวิตในการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กต่อไปในอนาคต จึงเห็นควรมีการพัฒนามาตรฐานของศูนย์ รวมทั้งสนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนให้เพียงพอและได้มาตรฐานเดียวกัน ๒.๑ เพื่อพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนให้มีคุณภาพเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และเป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ๒.๒ เพื่อส่งเสริมศักยภาพอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กในการดูแลเฝ้าระวังและสามารถประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานครและศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ พัฒนาและปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเขตสวนหลวง จำนวน 13 ศูนย์ เพื่อพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานในด้านต่างๆ ดังนี้ 3.1 ด้านการส่งเสริมสุขภาพ 3.2 ด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3.3 ด้านอาหารสะอาด ปลอดภัย 3.4 ด้านสถานที่สะอาด ปลอดภัย 3.5 ด้านบุคลากร 3.6 ด้านการเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต 3.7 ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 343,500.00 343,500.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1284 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถาน การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อ และคำอธิบาย ประกอบกับจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แต่โครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการจัดหาและปรับปรุงข้อมูลเท่านั้น ประกอบกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่เป็นจำนวนมาก และหลายช่วงเวลา เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเมือง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบสารสนเทศที่รองรับการจัดการในรูปแบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันยังขาดทรัพยากรด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่รองรับการให้บริการผ่านระบบเครือข่ายที่จะเกิดขึ้น ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และบริการแก่หน่วยงานภายนอก จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร โดยจัดหาทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลแผนที่และภาพถ่ายความละเอียดสูงที่ได้จากโครงการที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองกำลังดำเนินการ สามารถให้บริการ การใช้และการวิเคราะห์ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก รวมทั้งผู้ขอรับบริการข้อมูลอย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งาน รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลเมืองจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อเป็นระบบข้อมูลกลางเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมืองการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารมหานคร การจัดทำและบริการข้อมูลเมือง สนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง และการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อปรับปรุงทรัพยากรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้รองรับกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองดำเนินการอยู่ พัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการจัดการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพและสามารถขยายผลต่อไปในอนาคตได้ในระยะยาว (Longevity) 26,600,000.00 26,220,500.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1285 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2565 โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่โดยรอบคลองผดุงกรุงเกษม คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองที่มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชน ล้อ ราง เรือ ได้แก่ รถโดยสารประจำทาง เช่น สาย 171 (ปอ.) สาย 49 สาย 505 (ปอ.) สาย 511 (ปอ.) และ 53 ซึ่งเชื่อมเส้นทางมายังริม 2 ฝั่งคลอง มีเส้นทางสัญจรทางน้ำด้วยเรือโดยสารไฟฟ้าตามแนวคลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งเป็นการสนับสนุนการเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือเทเวศร์ มายังสถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพง รวม 11 ท่าเรือ ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 4 เขตได้แก่ เขตพระนคร เขตดุสิต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตปทุมวัน โดยมีเรือด่วนเจ้าพระยาและเรือข้ามฟากบริเวณท่าเรือเทเวศร์ เรือโดยสารคลองแสนแสบซึ่งมาบรรจบกับเส้นทางเดินเรือคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณตลาดโบ๊เบ๊ และรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีรถไฟหัวลำโพง และความยาวของคลองยังต่อเนื่องไปถึงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือข้ามฟากสี่พระยา ในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก แต่ทั้งนี้ ถนนและทางเท้าบริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมบางช่วงมี สภาพชำรุดเสียหาย รวมทั้งมีการใช้พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมการค้าขายบนทางเท้า ทำให้ศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ลดลง จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมทั้ง 2 ฝั่ง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย สร้างทัศนียภาพสวยงาม ประชาชนสามารถเดินทางสัญจรได้อย่างสะดวก และปลอดภัย ตลอดแนวคลอง ในปี 2552 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง (สำนักผังเมือง เดิม) ได้นำเสนอผลการศึกษาโครงการปรับปรุงฟื้นฟูย่านคลองผดุงกรุงเกษมทั้ง 2 ฝั่งคลอง ใน 5 บริเวณหลัก ได้แก่ ย่านตลาดเทวราชกุญชร ย่านวัดโสมนัสวรวิหารและย่านตลาดนางเลิ้ง ย่านตลาดสะพานขาวและบริเวณโรงหนังปารีส ย่านตลาดโบ๊เบ๊ และย่านหัวลำโพง เพื่อปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญในการส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนและชุมชน และในปี 2563 กรุงเทพมหานครได้แต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างทางจักรยานคลองผดุงกรุงเกษม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับการใช้งานสำหรับทุกคน (Universal Design) มีความสะดวก ปลอดภัย ในการเดินทาง พัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อน หย่อนใจการฟื้นฟู ส่งเสริม เอกลักษณ์ของแต่ละย่าน ที่มีความสำคัญ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ต่อการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รวมทั้ง การสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งของชุมชน ในการดูแลรักษาพื้นที่ นอกจากนี้ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ยังได้ดำเนินการศึกษาแผนการพัฒนาฟื้นฟูย่าน ตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นพื้นที่เชื่อมโยงกับแนวคลองผดุงเกรงเกษม เพื่อต่อยอดการพัฒนาพื้นที่คลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานครจึงดำเนินการผลักดันการพัฒนาพื้นที่ตลอด 2 ฝั่งคลองอย่างบูรณาการรอบด้าน โดยการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงการเดินทางสัญจร และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบคลองผดุงกรุงเกษมเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากศักยภาพเพื่อการสัญจรของพื้นที่ ในขณะเดียวกัน กรุงเทพมหานครต้องคำนึงถึงประชาชนริมคลอง โดยส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์และ เห็นความสำคัญของการพัฒนาพื้นที่ อันจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาพื้นที่อย่างยั่งยืน 1) เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมต่อการเดินทางในพื้นที่ตลอดแนวคลองผดุงกรุงเกษม 2) เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่สาธารณะเพื่อให้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนริมคลองผดุงกรุงเกษม 3) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนริมคลองผดุงกรุงเกษม 1. จำนวนผู้ใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2. มูลค่าทางเศรษฐกิจของพื้นที่/ราคาประเมินที่ดินเพิ่มขึ้น 3. รายได้เฉลี่ยของประชาชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 40.00
1286 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2565 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1287 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2565 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง 1. เพื่อสะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน 2.เพื่อให่การออกเลขหมายประจำบ้านเป็นปัจจุบัน เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน และสะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1288 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานประชาสัมพันธ์ เป็นการพัฒนาชุดข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน ด้วยการสำรวจข้อมูลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เพื่อจัดทำข้อมูลที่เป็นภารกิจหลักผ่านระบบสารสนเทศตามแนวทางธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร การนำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งสร้างสรรค์พัฒนาระบบงานเพื่อตอบสนองการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน 1. เพื่อสำรวจข้อมูลในการปฏิบัติงานเพื่อจัดทำชุดข้อมูลที่เป็นภารกิจหลักของหน่วยงาน 2. เพื่อเป็นการลดหรือปรับเปลี่ยนแบบฟอร์มหรือแบบรายงานให้มาใช้ผ่านระบบสารสนเทศ 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการสืบค้น้อมูล และใช้ประโยชน์ในการจัดทำบัญชีรายการข้อมูล พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงานให้สอดคล้องกับแนวทางธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : 1. แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและทีมบริหารข้อมูลระดับหน่วยงานตามแนวทางของคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร 2. สำรวจข้อมูลตามแบบฟอร์มหรือแบบรายงานที่ใช้ในการปฏิบัติงานและจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บในชุดข้อมูลให้ครบถ้วนตามโครงสร้างของข้อมูลที่กำหนดไว้ หรือการใช้ประโยชน์ข้อมูล พร้อมทั้งกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลหน่วยงาน 3. จัดทำเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงาน และเสนอชุดข้อมูลที่จะดำเนินการไม่น้อยกว่า 10 ชุดข้อมูล โดยชุดข้อมูลจะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2566 - 2575) และ/หรือ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และสถาปัตยกรรมองค์กรกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 2 : นำเสนอเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 3 : จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล พร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล (Data cleansing) ขั้นตอนที่ 4 : นำเข้าข้อมูลในชุดข้อมูล โดยเริ่มภายในเดือนเมษายน 2565 และปรับปรุงข้อมูลให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานขั้นตอนที่ 5 :สร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการชุดข้อมูล จำนวน 10 ชุดข้อมูลที่หน่วยงานเสนอต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานครอย่างน้อย 1 ผลงานนวัตกรรม 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1289 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน กำหนดให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขต ตามความในมาตรา 24 และให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามความในมาตรา 27, 28 และ 29 เพื่อมุ่งเน้นให้สภาเด็กและเยาวชนเป็นกลไกในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม ตลอดจนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตสวนหลวง โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินการจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ให้แล้วเสร็จตามมติ การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 และตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 กำหนดว่า “เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย” ให้ขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัย เพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้นำในการพัฒนากรุงเทพมหานครและประเทศต่อไปสำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนเขต รวมไปถึงการรวมกลุ่มของเด็ก และเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านเยาวชนกรุงเทพมหานคร และพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 เพื่อสนับสนุนเครือข่ายผู้นำเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุมพื้นที่เขต และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านเยาวชนกรุงเทพมหานคร และพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 3.1 จ้างอาสาสมัครช่วยงานสภาเด็กและเยาวชน 3.2 ดำเนินโครงการส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนเขต 180,000.00 119,868.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1290 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีผู้ปฏิบัติงานในองค์กรจำนวนมาก ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานคร ลูกจ้างชั่วคราว และบุคลากรกรุงเทพมหานคร ในการเป็นองค์กรกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องมีข้อมูลด้านบุคคลของผู้ปฏิบัติงานอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัยสามารถนำมาจัดทำเป็นสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการด้านการวางแผนกำลังคนและการบริหารงานบุคคลเพื่อให้ผู้บริหารของกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านบุคคลได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารทรัพยากรบุคคลได้สูงสุด พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 กำหนดให้สำนักงาน ก.ก. มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคน ของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางข้อมูลทรัพยากรบุคคล ของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร และดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียน-ประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ร่วมกับหน้าที่อื่น ๆ แต่เนื่องจากปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังไม่มีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถรวบรวมข้อมูลทางด้านบุคคลเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลในภาพรวมและจัดทำเป็นสารสนเทศสำหรับ การตัดสินใจของผู้บริหาร คณะกรรมการ หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้ สำนักงาน ก.ก. เห็นความสำคัญของการมีข้อมูลด้านบุคคลของกรุงเทพมหานคร ที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลในยุคการเปลี่ยนแปลงสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 นับเป็นภารกิจสำคัญของสำนักงาน ก.ก. ที่จะสร้างฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของผู้ปฏิบัติงานในกรุงเทพมหานครและสร้างระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานด้านบุคคล ซึ่งจะต้องมีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครขึ้น 1. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีข้อมูลสารสนเทศด้านบุคคลสำหรับใช้ในการตัดสินใจเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร 11,125,900.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 47.00
1291 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการจัดหาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะและเชตที่ใกล้เคียง โดยจัดบริการสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลปฐมภูมิ และการฟื้นฟูความสามารถของร่างกาย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชน อีกทั้งศูนย์ฯ 58 ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่เป็นอาคาร 5 ชั้น พร้อมส่งมอบพื้นที่และอาคารโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ฯ 58 ที่ดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยศูนย์ฯ 58 ได้เปิดให้บริการ ณ ที่ทำการศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม ในวันที่ 4 ตุลาคม 2564 และมีความประสงค์จะจัดหาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข ของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์ฯ 58 และเพื่อเพิ่มความสะดวกให้ผู้รับบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเพื่อสนับสนุนการให้บริการและป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 ที่เน้นการจัดให้บริการอย่างเหมาะสมตามหลัก Social Distancing ส่งผลให้มีความจำเป็นต้องจัดสถานที่นั่งรอเรียกคิวตรวจแบบเว่นระยะห่างเพิ่มที่ ด้านนอกอาคาร ทำให้ผู้ป่วยส่วนหนึ่งไม่ได้ยินเสียงเรียกให้บริหาร จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จึงได้จัดทำโครงการจัดหาระบบระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ 1. เพื่อเป็นการพัฒนาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม และเพื่อเพิ่มความสะดวกให้ผู้รับบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสนับสนุนการให้บริการและป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่เน้นการจัดให้บริการอย่างเหมาะสมตามหลัก Social Distancing ติดตั้งระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ 227,990.00 0.00 สำนักอนามัย 2022-03-01 00:00:00 2022-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1292 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการระบายน้ำ (2565) (กสน.) - ข้อมูล หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริงหรือเรื่องอื่นใด ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพถ่ายดาวเทียมฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือตรวจวัด การสารวจระยะไกล หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ - ชุดข้อมูล หมายความว่า การนำข้อมูลจากหลายแหล่งมารวบรวม เพื่อจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูลบัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน - ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) - คำอธิบายข้อมูลหรือเมทาดาตา (Metadata) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้อธิบายข้อมูล โดยระบุรายละเอียดแหล่งข้อมูล หรือคาอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ซึ่งจัดทำให้ผู้ใช้ข้อมูลทราบว่าข้อมูลมาจากแหล่งใด มีรูปแบบอย่างไร เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และใช้ประโยชน์ในการจัดทำบัญชีรายการข้อมูล (Data Catalog) - ความสำเร็จในการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ) แบ่งเป็น 2 ส่วน (ร้อยละ 100) ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ มีฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักการระบายน้ำ ได้ฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของสำนักการระบายน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 100.00
1293 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการระบบการให้บริการทางกฎหมาย (e - Legal Service) : กรณีการสืบค้นมติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (สำนักเทศกิจ) สำนักเทศกิจ เป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีภาระหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม ดูแล ตรวจตรา และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร กฎหมายอื่น ที่กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติ ประกาศ หลักเกณฑ์การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจกรุงเทพมหานคร รวมทั้งปฏิบัติงานด้านการดูแลและให้บริการและสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายของผู้บริหาร และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง และในส่วนของภารกิจหน้าที่ในด้านกฎหมาย งานนิติกรรมและสัญญาของสำนัก การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย พิจารณาร่าง แก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย ข้อบัญญัติ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หนังสือสั่งการต่าง ๆ ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของสังคม นโยบายของผู้บริหารที่มีการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครให้สามารถบังคับใช้กฎหมายเพื่อการบรรลุเป้าประสงค์ในด้านต่าง ๆ ของการพัฒนากรุงเทพมหานคร นอกจากนี้สำนักเทศกิจยังมีบทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมายแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกับงานด้านเทศกิจ ประชาชนทั่วไป หรือหน่วยงานภายนอก เพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้า อ้างอิง หรือนำไปปฏิบัติ โดยในส่วนของกลุ่มงานนิติการ กองนิติการและบังคับคดี มีบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบที่ถือว่าเป็นภารกิจหลักที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือการเปรียบเทียบคดีความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ในรูปแบบของคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผู้อำนวยการสำนักเทศกิจทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีของทั้งสองพระราชบัญญัติ ซึ่งเริ่มจากการตรวจสอบสำนวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนและสำนักงานเขต ที่ส่งสำนวนการสอบสวนมาที่ฝ่ายเลขานุการฯ เพื่อพิจารณาเสนอคณะกรรมการฯ เปรียบเทียบผู้ต้องหา โดยดำเนินกระบวนการพิจารณาทั้งข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เสนอเข้าสู่พิจารณาของคณะกรรมการฯ ตลอดจนแจ้งมติการเปรียบเทียบคดีผู้ต้องหาให้กับพนักงานสอบสวนและสำนักงานเขต เพื่อดำเนินการให้ผู้ต้องหา มาชำระค่าปรับภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยมีการติดตามผลการดำเนินคดีจนถึงที่สุด กลุ่มงานนิติการจึงทำหน้าที่เป็นฐานข้อมูลในการรวบรวมผลการเปรียบเทียบคดีความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เนื่องจากการเปรียบเทียบปรับ โดยคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีมีผลทำให้คดีอาญาเลิกกันตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประกอบกับมติคณะกรรมการฯ ดังกล่าวสามารถนำมาอ้างอิงหรือเทียบเคียงในการพิจารณาเปรียบเทียบปรับคดีต่อไปได้ ตั้งแต่พุทธศักราช 2535 – ปัจจุบัน สำนักเทศกิจในฐานะเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีฯ ทำหน้าที่เก็บรวบรวมเอกสาร หลักฐาน มติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เมื่อประชาชน พนักงานสอบสวน หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องประสานขอสอบถามหรือขอให้ตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมติคณะกรรมการฯ เจ้าหน้าที่มีความยากลำบากในการค้นหาเอกสาร ใช้เวลานาน และไม่ได้รับความสะดวก ขัดแย้งกับเป้าหมายการพัฒนากรุงเทพมหานครในการให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องโปร่งใส่ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) ดังนั้น เพื่อให้สำนักเทศกิจ กรุงเทพมหานครบรรลุเป้าหมายการพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) ในด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องโปร่งใส่และเพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) มีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) สอดคล้องกับนโยบายการขับเคลื่อนประเทศ Thailand ๔.๐ ข้าราชการยุคดิจิทัลพลิกโฉมการทำงานภาครัฐด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ทำให้มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สามารถจัดเก็บสถิติปริมาณงานและการติดตามประเมินผลการดำเนินคดีเป็นไปด้วยความถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ใช้ประกอบการบริหารจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารได้ และที่สำคัญสามารถดำเนินการเป็นงานต้นแบบและประยุกต์ใช้กับระบบงานอื่น ๆ ๑. เพื่อให้สำนักเทศกิจในฐานะของเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีมีการจัดเก็บข้อมูล มติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่สามารถบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ (Database System) และพัฒนาต่อยอดทางกฎหมายด้านอื่น ๆ ต่อไปได้ ๒. เพื่อสร้างช่องทางให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสำนวนคดีความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารที่เกี่ยวข้อง เช่น พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่ฝ่ายการโยธา นิติกรสำนักเทศกิจ เป็นต้น สามารถสืบค้นผลมติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงทางกฎหมายได้๓. เพื่อลดขั้นตอนการสืบค้นมติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ซึ่งเป็นการให้บริการของภาครัฐสำหรับประชาชนและหน่วยงาน รวมถึงเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด ถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้๔. เพื่อให้การจัดเก็บสถิติปริมาณงานและการติดตามประเมินผลการดำเนินคดีเป็นไปด้วย ความถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ใช้ประกอบการบริหารจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารได้ สำนักเทศกิจในฐานะของเลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีได้มีการจัดเก็บข้อมูล มติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่สามารถบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ (Database System) และพัฒนาต่อยอดการจัดระบบข้อมูลทางกฎหมายด้านอื่น ๆ ในส่วนของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาสำนวนคดีความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคารที่เกี่ยวข้อง เช่น พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่ฝ่ายการโยธา นิติกรสำนักเทศกิจ เป็นต้น สามารถสืบค้นผลมติคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงทางกฎหมายได้ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1294 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 การดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1295 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (กสศ.) การพัฒนาและการสร้างชุดข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน โดยจัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูลตามแนวทางธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งนำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอตามรอบระยะเวลาที่กำหนดและสร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล 1. แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและทีมบริกรข้อมูลระดับหน่วยงานและหน่วยงานจัดทำเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงาน 2. นำเสนอชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร และสร้างชุดข้อมูลสำคัญ จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล พร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล 3. นำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลข้อมูลให้มีความถูกต้อง มีความครบถ้วน และมีความเป็นปัจจุบัน 4. สร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล อย่างน้อย 1 ผลงานนวัตกรรม 1. แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและทีมบริกรข้อมูลระดับหน่วยงานและหน่วยงานจัดทำเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงาน 2. นำเสนอชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร และสร้างชุดข้อมูลสำคัญ จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล พร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล 3. นำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลข้อมูลให้มีความถูกต้อง มีความครบถ้วน และมีความเป็นปัจจุบัน 4. สร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล อย่างน้อย 1 ผลงานนวัตกรรม 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1296 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการสร้างระบบมาตรฐานการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทยและเป็นมหานครหนึ่งของโลก การขับเคลื่อนองค์กรในปัจจุบันล้วนพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสำคัญ เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยผลักดันให้กรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (2556 - 2575) ระยะที่ 2 มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมุ่งเน้นให้กรุงเทพมหานครมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กรภายใน และการให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART Service) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART City) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการให้บริการและสนับสนุนการมีการใช้ระบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง และเครือข่ายการสื่อสาร พร้อมโปรแกรมสำเร็จรูป ตลอดจนโครงการติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้งานของสำนักและสำนักงานเขต รวมถึงการให้บริการในเรื่องเกี่ยวกับเทคนิคทางคอมพิวเตอร์แก่ผู้บริหารและทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เพื่ออำนวยความสะดวกให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง เพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและการบริการประชาชน กิจกรรมการสร้างระบบมาตรฐานการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลจัดทำขึ้นเพื่อบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลและลดขั้นตอนการติดต่อประสานงาน 4 ส่วนราชการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบให้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น - เพื่อสร้างมาตรฐานการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลให้สะดวก รวดเร็ว และลดขั้นตอนการติดต่อประสานงาน - เพื่อติดตามและประเมินผลการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล โดยนำมาพัฒนาและปรับปรุงการบริการให้เกิดประโยชน์สูงสุด - มีมาตรฐานการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร - มีระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Management System) เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2021-12-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1297 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (สก.สยป.) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ขับเคลื่อนการดำเนินการด้านยุทธศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้สำเร็จลุล่วงเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ให้เป็นรูปธรรม นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนได้อย่างครอบคลุม เพื่อพัฒนานวัตกรรมให้เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 50.00
1298 0.0.0.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐ มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้หน่วยงานของรัฐต้องเปิดเผยข้อมูลเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะ ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นอกจากนี้ ยังมีพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดทำข้อมูลที่ต้องเปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยต้องให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปเผยแพร่ ใช้ประโยชน์ หรือพัฒนาบริการและนวัตกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ได้ รวมถึงแสดงความโปร่งใสในการดำเนินงาน และสามารถตรวจสอบได้จากทุกภาคส่วน โดยกรุงเทพมหานครได้มีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ 1 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2565 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ซึ่งมีแนวทาง 3 ฉบับ ได้แก่ นโยบาย มาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลของกรุงเทพมหานคร แนทางการกำหนดชุดข้อมูลสำคัญของกรุงเทพมหานคร และนโยบายและแนวทางปฏิบัติการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลที่สามารถเข้าถึงและใช้ได้อย่างเสรี ไม่จำกัดแพลตฟอร์ม ไม่เสียค่าใช้จ่าย เผยแพร่ ทำซ้ำ หรือใช้ประโยชน์ได้โดยไม่จำกัดวัตถุประสงค์ การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐที่มีคุณภาพสูงในด้านคุณภาพชีวิต ด้านความปลอดภัย ด้านการศึกษา ด้านการเงิน ด้านสุขภาพ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-07-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 0.00
1299 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 การใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Leave) กับสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ด้วยยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ว่า ภาครัฐมีความทันสมัย พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัยโดยมีการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความโปร่งใส ยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง นํานวัตกรรม เทคโนโลยี ระบบการทํางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ที่ 7.5.1.2 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้พัฒนาระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Leave) โดยสามารถยื่นลาป่วย ลากิจส่วนตัว และลาพักผ่อนผ่านอินเตอร์เน็ต (http://eleave.bangkok.go.th/public) ซึ่งเป็นข้อสั่งการของปลัดกรุงเทพมหานครที่มอบให้สำนักงาน ก.ก. นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ในการใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์นั้นผู้ลาสามารถยื่นใบลาได้ตลอดเวลา สามารถดูวันลาสะสมได้ตนเอง สะดวกในการค้นคืนข้อมูลการลา ในขณะที่ผู้ตรวจสอบสามารถตรวจสอบและค้นคืนข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้บริหารสามารถเรียกดูรายงานการลาในภาพรวมได้ ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์นี้สามารถลดปริมาณการใช้กระดาษและลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร สำนักงาน ก.ก. ได้นำเรียนปลัดกรุงเทพมหานครรับทราบผลการใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ และเห็นชอบให้สำนักงาน ก.ก. เผยแพร่การใช้งานระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ให้กับส่วนราชการกรุงเทพมหานครรับทราบ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวได้ใช้การลาโดยใช้ใบลาในรูปแบบกระดาษตามแบบแนบท้ายระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 โดยผู้ลาต้องเสนอหรือจัดส่งใบลาในรูปแบบกระดาษขออนุญาตลาต่อผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลาก่อนหรือในวันที่ลา ในบริบทการปฏิบัติงานของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวหากผู้ลาปฏิบัติงานที่ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ หรือปฏิบัติงานนอกสถานที่ทำงานตามมาตรการป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ย่อมไม่มีความสะดวก ต้องเดินทางส่งใบลา ทำให้เกิดความล่าช้า และต้องสอบถามข้อมูลการลาจากผู้ตรวจสอบอีกด้วย นอกจากนี้ ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณในการพิมพ์ใบลา เสียตู้เอกสารใบลาและพื้นที่จัดเก็บแฟ้มใบลา และเจ้าหน้าที่ต้องจัดเก็บใบลาเข้าแฟ้ม รวมถึงผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลาต้องเสียเวลาในการลงนามใบลา จะเห็นได้ว่าการลาโดยใช้ใบลาในรูปแบบกระดาษนั้นไม่เพิ่มผลผลิตให้กับส่วนราชการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว และยังไม่ตอบโจทย์การปฏิบัติงานในยุคดิจิทัลด้วย ดังนั้น หากนำระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวเช่นเดียวกับสำนักงาน ก.ก. ก็จะเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว และอำนวยความสะดวกในการลาของข้าราชการ จึงได้จัดทำโครงการใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Leave) กับสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว เพื่อให้เป็นไปตามข้อสั่งการของปลัดกรุงเทพมหานครที่ให้นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน ในการนี้ ประสานงานไปยังสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลขอใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ 2.1 เพื่อให้สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีการใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว 2.3 เพื่อนำระบบการทํางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีการใช้ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์โดยสามารถยื่นลาป่วย ลากิจส่วนตัว และลาพักผ่อนผ่านอินเทอร์เน็ต (http://eleave.bangkok.go.th/public) 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2021-10-01 00:00:00 2021-11-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1300 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการปรับปรุงเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ด้วยยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ว่า ภาครัฐมีระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อการพัฒนานโยบายและการให้บริการภาครัฐ และพัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัยโดยมีการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความโปร่งใส ยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง นํานวัตกรรม เทคโนโลยี ระบบการทํางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหาร และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กำหนดว่ามีการบริหารจัดการเมืองด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (Smart City) โดยมีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือมีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐและ/หรือภาคเอกชน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลโดยกองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ได้ปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบการทำงานของระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานคร (Web Portal) ให้สามารถเข้าถึงระบบ Social Media และรองรับการทำงานลักษณะ Web Service ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานครแบบเดิมใช้งานมาแล้วมากกว่า 5 ปี ทำให้เกิดปัญหาเรื่องประสิทธิภาพการใช้งาน และเทคโนโลยีการออกแบบที่ล้าสมัย และเว็บไซต์หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีปริมาณข้อมูลข่าวสารที่นำมาเผยแพร่บนเว็บไซต์เพิ่มขึ้นอย่างมาก การเข้าถึงข้อมูลค่อนข้างลำบาก ซับซ้อน และไม่สะดวกรวดเร็ว รวมทั้งไม่สามารถรองรับเทคโนโลยีของอุปกรณ์อัจฉริยะ (Smart Devices) ได้อย่างสมบูรณ์ จึงต้องมีการปรับปรุงระบบบริหารจัดการและการออกแบบเว็บไซต์หน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน มีความทันสมัย ได้รับบริการข้อมูลที่สะดวกรวดเร็ว มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ทั้งนี้ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ได้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานครสำหรับผู้ดูแลเว็บไซต์ของหน่วยงานเมื่อวันที่ 15 - 18 มีนาคม 2564 สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวได้ใช้ระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานครแบบเดิมมาประมาณ 2 ปี พบว่า การจัดการเว็บไซต์มีความยุ่งยาก สลับซับซ้อน ระบบการทำงานบางส่วนใช้งานไม่ได้ และรูปแบบเว็บไซต์ (Template) ขาดความน่าสนใจแม้ว่าจะพยายามออกแบบให้ทันสมัย มีการเพิ่มเนื้อหา (Content) ใหม่ ๆ รวมทั้งการปรับปรุงเว็บไซต์ในบางส่วนไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดจนการเปิดเว็บไซต์ขึ้นมามีลักษณะการตอบสนองล่าช้า ทำให้ไม่ตอบโจทย์การเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ในยุคดิจิทัล หากมีการใช้ระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานครแบบใหม่จะทำให้มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นมาตรฐาน ส่งผลให้การจัดการเว็บไซต์มีประสิทธิภาพ ทำให้การเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีความน่าสนใจ เข้าถึงข้อมูลได้หมด สร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้งาน และมีความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ (Web Accessibility) จึงได้จัดทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวโดยใช้ระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานครแบบใหม่ ในการนี้ ดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบเว็บไซต์ให้ทันสมัยเป็นไปตามมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐ 2.0 และข้อกำหนด Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0 ด้วยองค์ความรู้จากการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานระบบบริหารจัดการเว็บไซต์กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นช่องทางหลักในการสื่อสารกับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมตาม พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และให้สอดคล้องกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) 2.1 เพื่อดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว 2.2 เพื่อให้สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีเว็บไซต์ที่ทันสมัย เป็นมาตรฐาน 2.3 เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ และการเข้าถึงข้อมูลบนเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีเว็บไซต์ที่ทันสมัยเป็นไปตามมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐ 2.0 และข้อกำหนด Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2021-10-01 00:00:00 2022-12-31 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1301 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ สำนักพัฒนาสังคม ในฐานะกำกับดูแลโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง ซึ่งสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพต่าง ๆ ให้ประชาชนผู้ว่างงานที่ต้องการมีงานทำ และผู้ถูกเลิกจ้างงานได้มีโอกาสศึกษาต่อด้านวิชาชีพตามความถนัด ความสามารถ ความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำไปสู่การมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สำนักงานงานการส่งเสริมอาชีพ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้เรียน ประชาชน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร โดยนำกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนด้านวิชาชีพสามารถเลือกเรียนได้ตามความถนัดเพื่อนำไปสู่การมีอาชีพและรายได้ในอนาคต ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1302 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนคร การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความสำเร็จของระบบบริหารราชการ ในการทำงานจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศให้สามารถนำเสนอได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ทันสมัย เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการบริหาร การวางแผนการพัฒนา และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ สำนักงานเขตพระนคร จึงจัดทำโครงการการพัฒนาฐานข้อมูลขึ้น เพื่อพัฒนาและจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลของฐานข้อมูลของหน่วยงาน ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ) เพื่อดำเนินการตามคำรับรองการปฎิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 องค์ประกอบที่ 5.2 สามารถพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1303 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป้าหมายตามแผนผัฒนากรุงเทพมหานครและแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2565 กรุงเทพมหานครจำเป็นต้องมีกลไกสนับสนุนการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เพื่อทำให้สามารถขับเคลื่อนและผลักดันเป้าหมายที่กำหนดไว้ทั้ง 6 มหานครให้บรรลุผล เช่น การบริหารทรัพยากรบุคคล โดยการพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน มีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและงบประมาณที่เป็นมาตรฐานสากลและเกื้อหนุนต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ยิ่งไปกว่านั้นยังมีการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการและมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร เป็นประเด็นสำคัญในการบริหารจัดการกรุงเทพมหานครในภาพรวมให้บรรลุเป้าหมาย 1. เพื่อแต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและทีมบริกรข้อมูลระดับหน่วยงานและจัดทำเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงาน ตามแนวทางของคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อพัฒนาสร้างชุดข้อมูลสำคัญ จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล พร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล (Data cleansing) 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล 1. มีคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและทีมบริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน และเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงาน ตามแนวทางของคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร 2. มีการพัฒนาสร้างชุดข้อมูลสำคัญ จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล พร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล (Data cleansing) 3. มีนวัตกรรมการให้บริการหรือการบริหารจัดการจากชุดข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1304 0.0.0.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำเร็จต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ “ข้อมูล” คือเป็นปัจจัยสำคัญต่อองค์กรและผู้บริหารในการใช้เครื่องมือตัดสินใจต่อการบริหารองค์กรให้ไปสู่เป้าหมายในยุค 4.0 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลจึงเป็นภารกิจประการหนึ่งที่หน่วยงาน องค์กรทุกภาคส่วนจะต้องให้ความสำคัญและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ การทำงานจะต้องมีฐานข้อมูลที่ทันสมัย สามารถนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหรือบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการวางแผนการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ และสนองต่อความต้องการของประชาชน สำนักงานดุสิตเป็นหน่วยปกครองหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ได้ตระหนักและให้ความสำคัญ มีการพัฒนาฐานข้อมูลเดิมให้ถูกต้องทันสมัยยิ่งขึ้นและพยายามพัฒนาข้อมูลและจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนรวดเร็วทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลของฐานข้อมูลของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานครโดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเรื่องธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ) จึงจัดทำโครงการการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตดุสิตขึ้น 2.1 เพื่อพัฒนาและจัดการฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครในรูปแบบที่กรุงเทพมหานครกำหนดจำนวน 9 ขั้น ข้อมูลให้ทันสมัย ทุกเดือน และทุกไตรมาส ผ่านระบบรายงานที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2.2 เพื่อรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2564 ให้เป็นไปตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2564 และพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย จำนวน 22 ฐานข้อมูล พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1305 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน การพัฒนาชุมชนเป็นกระบวนการเคลื่อนไหวไปสู่การเปลี่ยนแปลงเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถพึ่งพาและช่วยเหลือตนเองได้เป็นการยกระดับชุมชนให้ดีขึ้นรวมไปถึงสังคมที่พัฒนาตามมาด้วย 1. ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ 2. การจัดกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชนประสบความสำเร็จประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 3. ชุมชนรู้จักการบริหารจัดการและทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน จากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน ดำเนินการเบิกจ่ายเงินค่าสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนในการจัดกิจกรรมด้านพัฒนาชุมชนในพื้นที่เขตพญาไท จำนวน 22 ชุมชน 1,680,000.00 1,600,000.00 สำนักงานเขตพญาไท 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1306 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพญาไทได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินการจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไท เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานและขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่และสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยเพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำในการพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. สภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไทมีความเข้มแข็งและยั่งยืน เป็นการส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม 2. ให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมสามารถพัฒนาระบบความคิดและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเพื่อเตรียมพร้อมในการเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าพัฒนากรุงเทพมหานครและประเทศไทยต่อไปในอนาคต เด็ก เยาวชนในพื้นที่เขตพญาไท ซึ่งมีความสนใจและขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกของสภาเด็กและเยาวชนในแต่ละสำนักงานเขต 149,800.00 119,328.00 สำนักงานเขตพญาไท 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1307 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมประเพณีและวันสำคัญอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สืบทอดมาช้านานควรแก่การดำรงรักษาอนุรักษ์สืบทอดไว้สำนักงานเขตพญาไทจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยให้ดำรงเป็นเอกลักษณ์ของไทยสืบไป 1. เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย 2. เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นและตระหนักถึงคุณค่าในการรักษาไว้ให้คงอยู่ 3. เพื่อเป็นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งภาครัฐและเอกชน 1. ดำเนินการในวันสำคัญต่าง ๆ จำนวน 7 กิจกรรม 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แก่ ข้าราชการลูกจ้าง เด็กและเยาวชน ประชาชน ผู้สูงอายุในพื้นที่เขตพญาไท 500,000.00 290,835.00 สำนักงานเขตพญาไท 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1308 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร (พญาไท) เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคม รวมทั้งความรู้ความสามารถและส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์อันดีงามจากผู้อาวุโสสู่คนรุ่นใหม่ 1. เป็นศูนย์กลางของการประสานและเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านผู้สูงอายุที่มีทั้งความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ อันจะนำมาช่วยงานของส่วนรวมและของกรุงเทพมหานคร 2. เสริมสร้างความตระหนักในคุณค่าและคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคมโดยส่วนรวมและให้เกิดความเคารพยกย่องผู้สูงอายุ อันนำไปสู่แนวทางการลดปัญหาสังคม 3. เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นหลัง ผู้สูงอายุได้รับการเชิดชูยกย่องภูมิปัญญาจำนวน 1 รายและถ่ายทอดภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นใหม่ 10,000.00 10,000.00 สำนักงานเขตพญาไท 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1309 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของหน่วยงาน เป็นไปตามแผนฯ 2565 สนข.ห้วยขวาง 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1310 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตห้วยขวาง เป็นไปตามแผนฯ สนข.ห้วยขวาง 2565 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1311 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตลาดกระบัง เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านดิจิทัลของ กทม. 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1312 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 เปิดโลกกว้างสร้างเส้นทางสู่อาชีพ (ลาดกระบัง) การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพนักเรียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพครบทุกด้าน สอดคล้องแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มหานครสำหรับทุกคนประกอบกับนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อรองรับยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเทศไปสู่ยุกค Thailand 4.0 และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์พัฒนาทักษาการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ทักษะการทำงาน และการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน 178,000.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2021-06-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1313 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมนำนวตกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเขตจตุจักร การปรับปรุงแก้ไขและหรือเพิ่มความสามารถหรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลและคุณภาพเพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตจตุจักร 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1314 0.0.0.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการเร่งรัดติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม 1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ตินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่นรวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2565) 2. จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2565) 3. งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 5 หมวดรายจ่ายได้แก่ หมวดคำตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2565 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2565) 1. การเบิกจ่ายงบประมาณทั้ง 5 หมวดรายจ่าย ในปีงบประมาณ 2565 ของสำนักงานเขตสาทร เป็นไปตามเป้าหมายของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2. การเบิกจ่ายเงินฝ่ายการคลังเป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงาน งบประมาณในภาพรวมตามเกณฑ์ตัวชี้วัดไม่ต่ำกว่าร้อยละ96 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 99.00
1315 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 จัดทำแผนที่จุดเสี่ยงภัยที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินด้วยระบบ BMA GIS PORTAL จุดเสี่ยงภัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเกิดเหตุภัยต่างๆ จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทันที การทำฐานข้อมูลพิกัดจุดเสี่ยงภัยด้วย BMA GIS PORTAL เพื่อใช้ในการวางแผน เข้าถึงจุดเสี่ยงภัยต่างๆ เมื่อเกิดเหตุจะได้ช่วยเหลือระงับเหตุได้ทันเวลา 1. เพื่อมีฐานข้อมูลจุดเสี่ยงภัยต่างๆ ในเขตสาทร 2. เพื่อนำฐานข้อมูลจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสาทรใช้ประกอบวางแผนแก้ไขจุดเสี่ยงและช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่เกิดเหตุ มีและใช้ฐานข้อมูลฐานข้อมูลจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสาทรใช้ประกอบวางแผนช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่เกิดเหตุ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2022-03-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1316 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของสำนักงานเขตสวนหลวง สำนักงานเขตสวนหลวง ได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีของสำนักงานเขตสวนหลวง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำฐานข้อมูลที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของสำนักงานเขตสวนหลวง ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี (พ.ศ.2556 - 2575) ในการรักษาเสถียรภาพทางการคลังและเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายการคลัง ด้านการบริหารจัดเก็บรายได้และพัฒนารายได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและงบประมาณที่มีความเป็นเลิศและเกื้อหนุนต่อการพัฒนากรุงเทพมหานครในระยะยาว 1. ฐานข้อมูลที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุด ของสำนักงานเขตสวนหลวง ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2. การจัดเก็บภาษีเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม 3. จัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้นตามเป้าหมายการจัดเก็บรายได้ที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-11-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1317 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมศูนย์บริหารราชการ ฉับไว ใสสะอาด 1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ เพื่อนำผลประเมินการให้บริการไปปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1318 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานจัดทำฐานข้อมูลและนำเข้าข้อมูลในระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร (District Catalog) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานคร -รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงาน-พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1319 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ดำเนินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานจัดหาวิธีการและรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยให้หน่วยงานนำเสนอนวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ นวัตกรรมเชิงนโยบาย นวัตกรรมการบริการ และนวัตกรรมการบริหาร/องค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สร้างนวัตกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน จำนวน 1 นวัตกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1320 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ 1. เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้และไม้ใบหญ้า โดยนำมาทำเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) นำมาใช้ประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด 3. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ในการคะดอยดขยะอินทรีย์ 4. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยที่สำนักงานเขตหลักสี่ ต้องจัดเก็บและนำไปทำลาย 1. กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมให้มีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้กระโยชน์ด้วยการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) ให้กับชุมชน วัด หน่วยราชการ สถานศึกษา สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจในพื้นที่เขตและกระชาชนทั่วไป 2. กิจกรรมเทน้ำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ลงในคลองพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อบำบัดน้ำเสีย 50,000.00 49,975.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1321 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อให้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเป็นศูนย์กลางในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกฒตรกร สร้างความรู้ มีส่วนร่วมคิดวิเคราะห์ กำหนดทิศทาง และวางแผนได้ด้วยตนเอง - จัดกิจกรรมการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวงทุ่งสองห้อง ได้แก่ การจัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ - จัดกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ เช่น การประชุมคณะกรรมการ และจัดตั้งจุดสาธิตการเกษตร จำนวน 2 จุด 115,100.00 115,100.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1322 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 1. การตรวจสอบแก้ไขปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน 2. การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการที่ประกอบการ 3. การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค และตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น 4. การดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ หมายถึง การดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน 48 ครั้ง 5. การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 หมายถึง การดำเนินงานโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง จำนวน 35 ครั้ง จำนวนครั้งของการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ และการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 83 ครั้ง 165,100.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1323 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 กิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขต(สะพานสูง) ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ.2563 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 1.รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ.2563 2.พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ.2563 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการและติดตามรายงานผลผ่านระบบ BMA Digital Plans 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2021-10-01 00:00:00 2022-10-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1324 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (One Platform) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ สำนักงานเขตสาทรได้ตระหนักถึงความสำคัญของฐานข้อมูลที่สำนักงานเขตสาทรจัดทำขึ้น ดังนั้นทางสำนักงานเขตสาทรมีโครงการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เพื่อเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าราชการ และประชาชนผู้มาติดต่อราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1325 0.0.0.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
.. 2566 พัฒนาทรัพยากรพื้นฐานดิจิทัลสำหรับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้ถูกพัฒนาและให้บริการแก่หน่วยงานกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี ๒๕๖๓ ซึ่งดำเนินการตามแผนการพัฒนากรุงเทพมหานครระยะที่ ๒ (๒๕๖๑-๒๕๖๕) โดยนำเทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาดว์มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สำหรับใช้ในการบริหารจัดการ การปฏิบัติราชการ และการให้บริการประชาชน รองรับการเป็นบริหารจัดการมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครถูกออกแบบและพัฒนาตามผลการศึกษาออกแบบ ซึ่งสามารถรองรับระบบสารสนเทศได้ประมาณ ๔๐ ระบบ แต่ด้วยสถานการณ์ความต้องการใช้งานระบบสารสนเทศประสิทธิภาพสูงเพื่อตอบสนองการให้บริการประชาชนอย่างรวดเร็ว ทำให้ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ศูนย์ข้อมูลมีระบบสารสนเทศใหม่เข้าติดตั้งภายในศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครมากกว่า ๗๕ ระบบงาน นับว่าเป็นอัตราการเติบโตของปริมาณข้อมูลอย่างก้าวกระโดด จากปัจจัยการขยายตัวของระบบสารสนเทศอย่างรวดเร็วของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร จะทำให้ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร จะประสบปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้บริการภายในปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ ดังนั้นเพื่อให้การบริหารราชการและการบริการประชาชนเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องขยายปริมาณทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร ให้เพียงพอกับความต้องการใช้งานของหน่วยงาน รองรับการเทคนิคการพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน คุ้มค่าการใช้จ่ายงบประมาณ 1.เพื่อจัดหาเครื่องแม่ข่ายประสิทธิภาพสูงเพิ่มทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานแก่ศูนย์ข้อมูล พร้อมระบบบริหารจัดการคลาวด์ครอบคลุมทรัพยากรที่เพิ่มขึ้น 2.เพื่อจัดหาสิทธิ์การใช้งานซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการให้เพียงพอกับเครื่องแม่ข่ายประสิทธิภาพสูง 3.เพื่อจัดหาอุปกรณ์เครือข่ายรองรับเครื่องแม่ข่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ 4.เพื่อจัดหาซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการคลาวด์ 1.สามารถให้บริการทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลได้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในระยะเวลา ๒ ปี 2.มีระบบโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ ที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีการพัฒนาระบบสารสนเทศในปัจจุบัน 47,678,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2023-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 40.00
1326 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2566 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร (BMA PBIS: Performance-based Budgeting Information System) สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดทำงบประมาณและบริหารจัดการ งบประมาณที่สนองต่อนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร โดยรวบรวมประมวลผลสารสนเทศต่าง ๆ ด้านการงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณกรุงเทพมหานครเพื่อใช้ประกอบการพิจารณางบประมาณ การจัดทำเอกสารร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีกรุงเทพมหานคร เอกสารประกอบและแบบรายงานคำชี้แจงต่าง ๆ ซึ่งใช้ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการงบประมาณกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยระบบคำขอตั้งงบประมาณ และระบบบริหารจัดการงบประมาณ (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบ MIS2) ที่พัฒนาขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕53 (เปิดใช้งาน พ.ศ. ๒๕54) โดยที่ผ่านมาได้มีการปรับปรุงและบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่องให้ระบบสามารถใช้งานได้สอดคล้องต่อความเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมขององค์กรทั้งในเชิงนโยบาย ในด้านการปฏิบัติงาน และการอำนวยความสะดวกต่อหน่วยรับงบประมาณ อย่างไรก็ตามระบบงานสำหรับใช้ในการบริหารจัดการงบประมาณกรุงเทพมหานครในปัจจุบันประสบกับปัญหาการพัฒนาและปรับปรุงระบบอันเนื่องมาจากระบบไม่รองรับเทคโนโลยีใหม่ หรือผู้ผลิตประกาศยกเลิกการให้การสนับสนุนทางเทคนิคกับเทคโนโลยีนั้นแล้ว ประกอบกับระบบขาดความยืดหยุ่นไม่รองรับการปรับเปลี่ยนนโยบายและโครงสร้างงบประมาณตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายปีและตามวาระการเปลี่ยนแปลงนโยบายของผู้บริหารในชุดต่าง ๆ รวมถึงการจัดทำโครงสร้างยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังขาดการเชื่อมโยงกับทุกระบบงานของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้ผู้บริหารไม่สามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่ในรูปแบบเชิงบูรณาการ มีปัญหาในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างหน่วยงานเพื่อรวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนที่จะนำมาจัดทำเป็นรายงานสำหรับใช้ในการอนุมัติงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การจัดสรรและติดตามงบประมาณตามยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านมาการแก้ไขปรับปรุงระบบเพื่อรองรับวิธีการนำเข้าข้อมูลด้านงบประมาณที่หลากหลายตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นส่งผลให้โครงสร้างฐานข้อมูลซับซ้อน ใช้ระยะเวลานานในการประมวลผลข้อมูล ไม่ตอบสนองต่อความต้องการใช้งานข้อมูลด้านงบประมาณของผู้ใช้งานได้ในระยะเวลาที่เร่งด่วน สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครจึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร (BMA PBIS: Performance-based Budgeting Information System) ที่ใช้ได้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีในท้องตลาด มีคุณภาพ มีความยืดหยุ่น มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ และรองรับการขยายตัวในอนาคต โดยระบบฯ ต้องครอบคลุมการแก้ปัญหาของระบบปัจจุบัน รองรับความต้องการในการบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการนำเสนอข้อมูลด้านการงบประมาณสำหรับใช้สนับสนุนประกอบการตัดสินใจ สามารถเผยแพร่สารสนเทศด้านการงบประมาณสำหรับผู้สนใจ ตลอดจนรองรับการจัดทำงบประมาณตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยจัดหาระบบและจัดจ้างที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่นเป็นไปตามขอบเขตของงานที่กำหนดไว้ 2.1 เพื่อจัดหาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณ-กรุงเทพมหานคร 2.2 เพื่อจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 3.1 มีระบบสารสนเทศรองรับกระบวนการจัดทำงบประมาณที่มีความเป็นอัตโนมัติและมีมาตรฐาน (Budgeting automation and standardization) 3.2 มีการปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ (Budgeting Process Improvement) 3.3 สามารถบูรณาการกลยุทธ์เข้ากับการวางแผนงบประมาณ (Integrate strategy with budget planning) 3.4 สนับสนุนการบริหารวินัยทางการเงินและความยั่งยืนทางการคลัง (Financial discipline and fiscal sustainability) 3.5 สนับสนุนการนำกรอบงบประมาณระยะปานกลางมาใช้ (Adopt a medium term budget framework) 3.6 สนับสนุนการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance oriented budgeting) 15,900,000.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2020-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1327 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 (66) ป.1/2 ค่าใช้จ่ายในการดูแลบำรุงรักษาโปรแกรมระบบงาน (Software) เว็บไซต์ของสภากรุงเทพมหานคร ในปัจจุบันการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์มีบทบาทสำคัญ และมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สภากรุงเทพมหานครในฐานะที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติของท้องถิ่นมีความจำเป็นในการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และบทบาทของสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งจะช่วยเพิ่มช่องทางให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะข้อคิดเห็นในการพัฒนากรุงเทพมหานครและแจ้งปัญหาความเดือดร้อนผ่านสภากรุงเทพมหานคร โดยคำนึงถึงเป้าหมายหลักตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๗๕) ในการมุ่งสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครได้ดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของสภากรุงเทพมหานคร ผ่านช่องทางเว็บไซต์ www.bmc.go.th มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว และเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการด้านต่าง ๆ ระหว่างสภากรุงเทพมหานครและประชาชนในกรุงเทพมหานคร ในการนี้ เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการดูแลระบบเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีเสถียรภาพ สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครจึงได้ดำเนินโครงการดูแลบำรุงรักษาโปรแกรมระบบงาน (Software) เว็บไซต์ของสภากรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ เพื่อให้การประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้านต่าง ๆ ของสภากรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการประชาสัมพันธ์บทบาทอำนาจหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานคร รวมทั้งข้อมูลข่าวสาร ภารกิจและผลการดำเนินงานของสภากรุงเทพมหานครให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบผ่านช่องทางเว็บไซต์ www.bmc.go.th เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของสภากรุงเทพมหานคร โดยการเสริมสร้างการรับรู้เว็บไซต์ของสภากรุงเทพมหานคร (www.bmc.go.th) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงในวงกว้างและเลือกใช้เป็นช่องทางสื่อสารกับสภากรุงเทพมหานคร 200,000.00 160,000.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1328 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 การพัฒนาระบบ BKK Risk Map โครงการตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงทุกรูปแบบ เพื่อประกอบการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน เช่น การเดินทาง การเลือกโซนที่อยู่อาศัย และการอพยพเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน - เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถจัดการกับจุดเสี่ยงในเมืองได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว - เพื่อให้ส่วนราชการกรุงเทพมหานคร ตระหนักถึงความสำคัญในการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์และเผยแพร่ข้อมูล เพื่อประโยชน์ของประชาชนและกรุงเทพมหานคร ระบบ BKK Risk Map จำนวน 1 ระบบ โดยระยะแรกที่ 1 เผยแพร่แผนที่เสี่ยงภัยจำนวน 5 ด้าน ประชาชน ประกอบด้วย - ด้านอุทกภัย - ด้านอัคคีภัย - ด้านความภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ด้านความปลอดภัยทางถนน - ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2023-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1329 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 การจัดทำแบบจำลองสามมิติจากข้อมูล DSM DTM และอาคารสามมิติ ประกอบข้อมูลจาก Sensor ของหน่วยงาน กทม. โครงการตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำแบบจำลองสามมิติจากข้อมูล DSM DTM และอาคารสามมิติ ประกอบข้อมูลจาก Sensor ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ระบบการแสดงผลข้อมูลเมืองในระบบ 3 มิติ จำนวน 1 ระบบ 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2023-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1330 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานราชการทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับการคำขออนุญาต/บริการจัดตั้งธุรกิจ (Doing Business Platform)รวมถึงกรุงเทพมหานครต้องพัฒนาระบบฯ สำหรับรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Open Data) กับทางศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานภาครัฐระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อกับทางราชการ ในฐานะเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาออกใบอนุญาต/บริการ โดยรับหน้าที่เป็นหน่วยงานรับข้อมูลจากประชาชนที่ติดต่อมาขอรับใบอนุญาต/บริการ ตลอดจนรับ - ส่งส่งต่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบเชื่อมโยง เพื่อส่งต่อข้อมูลของประชาชนให้กับหน่วยงานในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศกลาง สำหรับเป็นศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพหานคร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติฯ ที่กำหนด รวมถึงประชาชนสามารถติดตาม (Monitoring / Tracking) การออกใบอนุญาต/บริการ พร้อมระบบแจ้งเตือน (Alert) เพื่อรายงานสถานะการดำเนินการ และผลการพิจารณาการออกใบอนุญาต/บริการ ให้ประชาชนได้รับทราบ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้แบบเบ็ดเสร็จ 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามสถานะการดำเนินการ และรับทราบผลการพิจารณาใบอนุญาต/บริการ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบออนไลน์ 1. กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต รวมถึงมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับ-ส่งข้อมูลของประชาชนที่มาติดต่อกับทางราชการ ตลอดจนหลักฐานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับศูนย์รับคำขออนุญาตของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการติดต่อกับทางราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร 2. ประชาชนสามาถติดตามสถานะการดำเนินการการขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โดยดำเนินการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ของกรุงเทพมหานคร 83,237,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 88.00
1331 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร นโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านเน้นเป้าหมายสูงสุดคือ ให้คนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนาและจัดบริการโดยเน้นคนให้เป็นหลักในการได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ในนโยบายด้านคุณภาพชีวิตของกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มต้องได้รับการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม เพื่อให้ทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข และสร้างสรรค์การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม การส่งเสริมสวัสดิการสวัสดิภาพประชาชนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการร่วมมือในการมีชีวิตอยู่ร่วมกัน การจัดทำระบบกลไก การพิทักษ์ ปกป้องคุ้มครองให้ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและไม่เป็นปัญหาภาระของสังคม เป็นเรื่องจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง สำนักงานเขตหนองจอก มีภารกิจหน้าที่ในการจัดสวัสดิภาพในการพิทักษ์ ปกป้องคุ้มครอง กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสและการดำเนินงานในเชิงพัฒนา กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องจัดสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสม ตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ตลอดจนการสนับสนุน การให้ขวัญกำลังใจและสนับสนุนเครือข่ายองค์กรผู้สูงอายุในพื้นที่เขต การจัดทำคลังสมองคลังปัญญา และการรวบรวมภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดเป็นผลงานสร้างสรรค์ของกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมเผยแพร่ให้สาธารณชนทราบนั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ภาครัฐควรให้ความสนใจ สำนักงานเขตหนองจอก เห็นความสำคัญถึงบทบาทของผู้สูงอายุ จึงจัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้จากภูมิปัญญาผู้สูงอายุแก่ประชาชนในพื้นที่ต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการรวบรวมคลังสมองและภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตหนองจอก 2.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์และสืบทอดให้กับบุคคลทั่วไป จัดบอร์ดเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุปีที่ผ่านมา และเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ให้กับประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน 10,000.00 10,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-11-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1332 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง หน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร และการดำเนินงานต่างๆ แก่ประชาชน เพื่อให้บริการด้านข้อมุล ข่าวสาร และการดำเนินงานต่างๆ แก่ประชาชน สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของหน่วยงานที่มีข้อมูลข่าวสารถูกต้องครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-03-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1333 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัย กรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของประชาชนในการสัญจรทั้งทางบกและทางน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางน้ำ ซึ่งสถิติพบว่าในแต่ละปีมีเด็กจมน้ำตายเป็นอันดับหนึ่งจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่างๆ จึงมีนโยบายให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาต้องว่ายน้ำเป็นด้วยเหตุนี้สำนักการศึกษาจึงจัดทำโครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ปลอดภัยเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครว่ายน้ำเป็น สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 1.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีทักษะว่ายน้ำพื้นฐานและทักษะการเอาชีวิตรอด 2.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง สมบูรณ์ 3.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานสนใจการเล่นกีฬา ห่างไกลยาเสพติด 4.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน 3.1 ด้านปริมาณ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (ป.3 เทอม 2 ปีการศึกษา 2565 หรือ ป.4 เทอม 1 ปีการศึกษา 2566) ได้เรียนว่ายน้ำและมีทักษะ การเอาชีวิตรอด 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลอง 167,700.00 162,500.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1334 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต กรุงเทพมหานคร มีนโยบายในการสร้างชื่อเสียงด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพมาตรฐานวิชาการอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและเทียบเท่าระดับสากล มุ่งหวังพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแสวงหาความรู้ การประกอบวิชาชีพในประชาคมโลก ในปัจจุบัน จึงได้มอบนโยบายให้สำนักการศึกษา สนับสนุนให้สำนักงานเขตคลองสานจัดทำโครงการภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมั่นใจ ได้ตามมาตรฐาน โดยจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบทักษะสัมพันธ์ (ENGLISH INTEGATED SKILLS) บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่น เช่น สุขศึกษา ศิลปศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ จัดหลักสูตรเนื้อหาสาระสู่กระบวนการฝึกทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมทางวิชาการที่สนุกสนาน PLEARN (Play+Learn) การมีส่วนร่วม (Co-Operation) มีความร่วมมือ (Collaboration) ปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ (Critical thinking) นักเรียนจะสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข มั่นใจ นำความรู้ ความสามารถไปใช้พัฒนาตนเองให้ดีขึ้น แสวงหาความรู้ มีเป้าหมายการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มีเป้าหมายในการประกอบอาชีพ สอดคล้องและรองรับในการพัฒนานักเรียนไทยให้ก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนโรงเรียนสังกัดเขตคลองสาน 2.2 เพื่อสร้างความมั่นใจและสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียน 3.1 ด้านปริมาณ - โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสานจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิตโดยเริ่มสอนตั้งแต่ชั้นปฐมวัย ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ยกเว้นห้องเรียนสองภาษา หลักสูตรไทย-อังกฤษ) 3.2 ด้านคุณภาพ - นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสาน ตั้งแต่ปฐมวัยขึ้นไป สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจ ถูกต้องตามมาตรฐานสากล - นักเรียนมีผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสูงขึ้น 3,108,000.00 2,403,600.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 70.00
1335 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานศูนย์วิชาการเขต ศูนย์วิชาการเขตคลองสาน จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน ให้มีมาตรฐานทัดเทียมกัน 1 เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน 2 เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดให้มีมาตรฐานระดับเดียวกัน 3.1 ด้านปริมาณ - โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่สำนักงานเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพครู 3.2 ด้านคุณภาพ - โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่สำนักงานเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานและได้รับการประกันคุณภาพ - ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครู 28,600.00 28,593.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1336 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาจีน ปัจจุบันภาษาจีน กำลังมีอิทธิพลต่อการค้าการลงทุนของเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างมากและ มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคต จึงส่งผลให้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญมากขึ้น ในการติดต่อสื่อสาร ประกอบกับกรุงเทพมหานครเป็นเมืองศูนย์กลางของธุรกิจการค้า ภาษาจีนเป็นภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการติดต่อค้าขาย สำนักงานเขตคลองสานเห็นความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว จึงมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานได้เรียนรู้ภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศอีกภาษาหนึ่งนอกจากภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียนในสังกัดเขตคลองสานได้มีความรู้ด้านภาษาจีน สามารถก้าวทันโลกสากลยุคปัจจุบัน ตลอดจนนำความรู้มาพัฒนาตนเองและประเทศได้ในอนาคต 2.1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม 2.2 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 3.1 ด้านปริมาณ - โรงเรียนที่เปิดสอนระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนต้น โดยเริ่มสอนจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - โรงเรียนที่เปิดสอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเริ่มสอนจากมัธยมศึกษาปีที่ 1 3.2 ด้านคุณภาพ - นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานที่เข้าร่วมโครงการสามารถสื่อสารด้วยภาษาจีนกลางได้อย่างเหมาะสม และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน 1,860,000.00 1,196,400.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
1337 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องเร่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปันความรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถคัดกรองข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินข้อมูลได้อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหา ที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีจริยธรรมทางเทคโนโลยีได้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน จึงต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ผ่านการประยุกต์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากในชั้นเรียนและจากการศึกษาด้วยตนเองได้ สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อการเรียนรู้ เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้าง องค์ความรู้ขึ้นได้เองจากการเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้รับ และ ได้จากการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะทางการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 2.1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถนำนวัตกรรมหรือสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ 2.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเองได้ 3.1 ด้านปริมาณ โรงเรียนในสังกัดเขตคลองสาน จำนวน 8 โรงเรียน มีผลงานของนักเรียนที่เกิดจากการนำนวัตกรรมหรือสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ ตามขนาดของโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 3 ผลงาน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 2 ผลงาน และโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 1 ผลงาน 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานสามารถนำความรู้และทักษะในการใช้นวัตกรรม /สื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างมีคุณภาพ 98,800.00 57,500.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1338 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีปฏิญาณตน และสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานคร กิจการยุวกาชาดได้รับการสถาปนาขึ้นโดย จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2465 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาดมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังให้ยุวกาชาดมีจิตอาสารู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น มีวิสัยทัศน์กว้างไกล อันนำไปพัฒนาซึ่งความเจริญของท้องถิ่นและประเทศชาติ รวมทั้งหลักสูตรแกนกลางทางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กำหนดให้กิจกรรม ยุวกาชาดเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาเห็นว่ากิจกรรมยุวกาชาดสามารถทำให้เยาวชนของชาติได้พัฒนาทางกาย สติปัญญา จิตใจ ความมีระเบียบวินัย ความสามัคคี มีความเสียสละ และบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ ดังนั้น เพื่อเป็นการระลึกถึงวันสำคัญดังกล่าว และเพื่อพัฒนานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ข้างต้น เห็นควรส่งเสริมให้สมาชิกยุวกาชาดได้จัดกิจกรรมร่วมกันได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสมาชิกยุวกาชาดทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สำนักงานเขตคลองสานจึงได้จัดทำโครงการพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาดกรุงเทพมหานครขึ้น 1 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาด รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2 เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาดรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนายุวกาชาดไทย 3 ส่งเสริมและเน้นความสำคัญของกิจกรรมยุวกาชาดให้เป็นแกนนำในการปฏิรูปการเรียนรู้ ๓.๑ ด้านปริมาณ สมาชิกยุวกาชาด และผู้บังคับบัญชายุวกาชาดในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสาน จำนวน 49 คน เข้าร่วมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด ๓.๒ ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถใช้กิจกรรมยุวกาชาดในการพัฒนานักเรียนให้มีจิตสำนึกในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนร่วม 51,600.00 51,600.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1339 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการสัมมนาประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตนเองเป็นทรัพยากรมนุษย์คุณภาพควบคู่กับการมีคุณธรรม สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมและท้องถิ่นของตนเอง อันจะส่งผลให้ประเทศชาติเกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไป พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติถือเป็นกลไกหลักที่จะผลักดันไปสู่การพัฒนาดังกล่าว ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่นในการส่งเสริมการจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้จากสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 9(6) ให้จัดการศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา พัฒนาสถานศึกษาในด้านต่างๆ เช่น ร่วมสนับสนุนกิจกรรม ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษา โดยผ่านความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการศึกษาสอดคล้องกับความหลากหลายทางวัฒนธรรมและท้องถิ่นนั้นๆ ของตนเอง กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางแห่งการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษาของประเทศ ดังนั้นแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานครเน้นการจัดการศึกษาให้มีการพัฒนาในทิศทางดังกล่าว ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2560-2565) ด้านที่ 3 มหานครสำหรับทุกคน มิติ 3.3 การศึกษาสำหรับทุกคน เป้าประสงค์ 3.3.1.1 เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ ดังนั้น เพื่อให้สำนักงานเขตคลองสาน เป็นสำนักงานเขตแห่งการเรียนรู้อย่างหลากหลายทางวัฒนธรรม จึงได้จัดดำเนินการโครงการสัมมนาประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน เพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานขึ้น อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาศึกษาของสำนักงานเขตในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน 2.1 เพื่อให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนภายใต้ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน มีสัมพันธภาพที่ดีโดยได้พบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประสบการณ์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการบริหารงานของคณะกรรมการ 2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพทางด้านการบริหารงานของกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3.1 ด้านปริมาณ ประธานกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมสัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตคลองสาน 3.2 ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองสานทุกโรงเรียนได้รับการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน 18,300.00 28,500.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1340 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการประชุมครู สำนักงานเขตคลองสาน จึงจัดให้มีการประชุมข้าราชการครูเขตคลองสาน เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ข้าราชการครูมีขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานทางการศึกษา ตลอดทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้เข้าประชุมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ได้ซักถามจนเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในการที่นำปฏิบัติในระหว่างข้าราชการครูในสังกัดที่เข้าประชุมร่วมกัน 1 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ทางด้านการศึกษาที่ตนมีส่วนรับผิดชอบ 2 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้รับแนวความคิด ทฤษฎี แนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ทางด้านการศึกษาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน 3 เพื่อให้ผู้เข้าประชุมได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู้บริหารโรงเรียนและครูสายงานการสอน ได้เข้าใจซึ่งกันและกัน 3.1 ด้านปริมาณ ผู้เข้าประชุมเป็นข้าราชการครูกรุงเทพมหานครและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตคลองสาน จำนวน 213 คน 3.2 ด้านคุณภาพ เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าประชุมได้รับความเข้าใจ ตลอดทั้งแนวคิดแนวปฏิบัติทางการศึกษาและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในโรงเรียน 6,400.00 4,600.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1341 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการสอนภาษาญี่ปุ่น ในโลกสังคมปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเป็นสิ่งจำเป็นที่หลีกเหลี่ยงไม่ได้เพราะภาษามิใช่เป็นเพียงเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่ต้องการและเพื่อประกอบอาชีพเท่านั้น ยังสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การเจรจาต่อรองเพื่อการแข่งขัน และความร่วมมือทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศยังช่วยสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้คน เนื่องจากการมีความรู้ ความเข้าใจวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของแต่ละเชื้อชาติจะทำให้สามารถปฏิบัติตนต่อตันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีความเข้าใจและภาคภูมิใจในภาษา และวัฒนธรรมไทย สามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่สังคมโลกได้ ส่วนภาษาที่สามของชาวอาเซียนนั้นก็คือภาษาอื่นในอาเซียนภาษาหนึ่งภาษาใดหรือมากกว่าหนึ่งภาษา เช่น ภาษษามาเลย์ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาจีน ภาษาลาว ภาษาขแมร์ ภาษาเวียนดนาม ภาษาพม่า ภาษาฟิลิปปิโน ภาษาฮินดี และภาษาทมิฬ นอกจากนั้นยังมีภาษาของประเทศนอกภูมิภาคอาเซียนที่เป็นประเทศคู่เจรจาสำคัญของอาเซียนอีกแปดประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย สหรัฐอเมริกา และรัสเซีย ซึ่งหมายความว่าจะต้องเรียนรู้ภาษาที่นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ คือ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษารัสเซีย และภาษาที่ใช้ในอินเดียอีกหลากภาษา (ฮินดี อูรดู ทมิฬ เบงกาลี ฯลฯ) การสอนภาษาต่างประเทศในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานได้ยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรได้กำหนดให้เรียนภาษาอังกฤษในทุกช่วงชั้น ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาในการจัดทำรายวิชาให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ ความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งกรุงเทพมหานครได้มีนโยบายในการเพิ่มโอกาสให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้เลือกเรียนภาษาญี่ปุ่นอีก 1 ภาษา โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีโรงเรียนในสังกัดเขต คลองสาน เข้าร่วมโครงการ 1 โรงเรียน คือโรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม 2.1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจภาษาวัฒนธรรมญี่ปุ่น สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ตามระดับชั้นที่เรียน 2.2 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเขตคลองสานได้ตระหนักและเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3.1 ด้านปริมาณ - โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม ชั้นมัธยมศึกษา (3 ห้อง ) จำนวน 120 คน 3.2 ด้านคุณภาพ - นักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดสุทธารามที่เข้าร่วมโครงการสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารได้ 360,000.00 220,200.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
1342 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายตามโครงการเรียนฟรี เรียนดี อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งกรุงเทพมหานครได้รับงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียนจำนวนหนึ่ง และจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานครสมทบอีกส่วนหนึ่ง เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ โรงเรียนจะต้องนำงบประมาณที่ได้รับไปบริหารจัดการทุก ๆ ด้าน ทั้งค่าวัสดุ ครุภัณฑ์อาคารสถานที่ ค่าสาธารณูปโภคและในด้านการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนในสังกัดได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมและเสมอภาคกัน 2.1 เพื่อให้โรงเรียนได้รับงบประมาณที่เพียงพอต่อการให้บริการทางการศึกษา แก่นักเรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและเหมาะสมกับความต้องการของผู้ปกครอง 2.2 เพื่อให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมีมาตรฐานทัดเทียมกัน โดยไม่มีข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณที่ต้องระดมทรัพยากรจากภายนอกเข้ามาสนับสนุน 2.3 เพื่อเป็นตัวอย่างของประเทศในการจัดการศึกษาของท้องถิ่น ที่ต้องจัดสรรงบประมาณ สมทบกับที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอ 1.ด้านปริมาณ จัดสรรงบประมาณรายหัวนักเรียนเพิ่มให้กับโรงเรียนที่ได้รับอยู่เดิมอีกหัวละ 600.- บาท จำนวนนักเรียน 3,920 คน 2.ด้านคุณภาพ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในเขตคลองสาน ทั้ง 8 โรงเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2,112,000.00 1,777,702.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1343 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด นายหมู่ลูกเสือและหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด เป็นผู้นำกลุ่มที่ใกล้ชิดผู้บังคับบัญชาลูกเสือและ ยุวกาชาดมากที่สุด มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือควบคุมกำกับดูแลลูกเสือและยุวกาชาด ในการบังคับบัญชา ฝึกอบรม และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้การควบคุมของผู้กำกับ รองผู้กำกับลูกเสือและผู้นำหรือรองผู้นำ ยุวกาชาด ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยฝึกอบรมลูกเสือและยุวกาชาดที่ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการฝึกอบรมให้มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ในการที่จะเป็นผู้นำหมู่ลูกเสือหรือผู้นำกลุ่มยุวกาชาดที่ดีไปทำหน้าที่ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชา ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือ – ยุวกาชาด ซึ่งเป็นการเสริมสร้างภาวะผู้นำให้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีความเป็นผู้นำ ผู้ตาม ตามระบอบประชาธิปไตยอย่างมีประสิทธิภาพ 2.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ตลอดจนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ และรู้จักบทบาทของตนเอง ในฐานะของผู้นำและผู้ตาม 2.3 เพื่อเป็นการพัฒนากิจการลูกเสือและยุวกาชาด ของสำนักงานเขตคลองสาน 2.4 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 3.1 จัดการฝึกอบรมนายหมู่ลูกเสือ จำนวน 80 คน 3.2 จัดการฝึกอบรมหัวหน้าหน่วยยุวกาชาด จำนวน 80 คน 3.3 วิทยากรผู้ให้การฝึกอบรม จำนวน 40 คน 113,000.00 113,000.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1344 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 โครงการค่าใช้จ่ายในพิธีทบทวนคำปฏิญาณ และสวนสนามลูกเสือกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร มีนโยบายชัดเจนที่จะจัดการศึกษาให้เป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ชุมชน และความต้องการของเยาวชนเอง โดยมีวิสัยทัศน์การศึกษาเป็นเป้าหมาย และแนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งระบุตัวชี้วัดและการประเมินมาตรฐานไว้ รวมทั้งใช้เกณฑ์ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของชาติ โดยกลุ่มงานพัฒนาการลูกเสือและยุวกาชาดนำกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาด ขึ้นมาเป็นแกนนำในการพัฒนานักเรียน และให้ลูกเสือและยุวกาชาด กรุงเทพมหานคร เป็นผู้นำในการปฏิรูปการเรียนรู้ เพราะกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รวมทั้งเป็นกิจกรรมที่สามารถผลิตเยาวชน ให้เป็นพลเมืองดีของชาติ มีระเบียบวินัย มีการเสียสละเพื่อส่วนรวม ซึ่งตัวชี้วัดต่างๆ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ นำไปสู่การพัฒนานักเรียน มีประโยชน์ในการ สร้างวินัย และการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนการจูงใจไปสู่การศึกษาที่ดี จึงจัดลูกเสือ เนตรนารี เข้าร่วมกิจกรรมพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์บริเวณโรงเรียน และบริเวณชุมชนใกล้เคียง เช่น การทำความดี การรักษาความสะอาด การปลูกต้นไม้ การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมกันทุกโรงเรียนด้วย 2.1 เพื่อให้ลูกเสือ เนตรนารี รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย และแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์พระประมุขของ คณะลูกเสือแห่งชาติ 2.2 เพื่อรำลึกถึงความสำคัญของวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 1 กรกฎาคมและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจการลูกเสือ เนตรนารีของกรุงเทพมหานคร ออกสู่สายตาประชาชนอย่างกว้างขวาง 2.3 เพื่อส่งเสริม และเน้นความสำคัญของกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ให้เป็นแกนนำ ในการปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างระเบียบวินัยและส่งเสริมการทำความดี ปฏิบัติกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน ทั้งในบริเวณโรงเรียน ชุมชน และสถานที่สาธารณะใกล้เคียง 3.1 ด้านปริมาณ ลูกเสือ เนตรนารี และผู้บังคับบัญชา จำนวน 80 คน ร่วมประกอบพิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม 3.2 ด้านคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีทักษะในการบริหารกิจการลูกเสือของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้กิจกรรมลูกเสือในการปฏิรูปการเรียนรู้ 56,200.00 38,800.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1345 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การพัฒนานวัตกรรม ทั้งนวัตกรรมเชิงนโยบาย นวัตกรรมการบริการ นวัตกรรมการบริหาร/องค์กร เป็นการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน การจัดการองค์กรที่ส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น จึงเห็นควรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ตามที่กทม.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2022-10-01 00:00:00 2023-10-31 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1346 ...
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2566 เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภารกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานคร ให้การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานบรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ กลยุทธ์ที่ 4.1.2.1 มีการบังคับใช้มาตรการทางผังเมืองอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลการใช้ประโยชนที่ดินและผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร โดยอาศัยการทำงานแบบบูรณาการระหว่างสำนักผังเมือง สำนักการโยธาและสำนักงานเขต ซึ่งสำนักผังเมือง โดยกองสำรวจและแผนที่ ดำเนินการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลด้านกายภาพของเมืองผลิตแผนที่ในพื้นที่ในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตให้มีการก่อสร้างและมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อกรุงเทพมหานครสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวมและเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง ทำให้กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม 1.เพื่อปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบัน 2.เพื่อนำเทคโนโลยีด้านภูมิสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการบูรณาการการจัดเก็บข้อมูล การลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและจุดแสดงตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัส ประจำบ้านให้ทันสมัย สะดวกและรวดเร็ว 3.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถนำข้อมูลภูมิสารสนเทศไปใช้ในการบริการ จัดการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตวัฒนา มีข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารในระบบภูมิสารสนเทศศาสตร์ ที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน สำหรับให้บริการหน่วยงานทั้งภายในกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก ตลอดจนประชาชน โดยการทำงานแบบบูรณาการระหว่าง สำนักผังเมือง สำนักการโยธาและสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1347 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 กิจกรรมการพัฒนาข้อมูลที่มีคุณค่าสูงของสำนักงานเขตบางแค (สำนักงานเขตบางแค 66) ฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันของสำนักงานเขตมีจำนวนมาก แต่ยังไม่มีการเก็บรวมรวมไว้อย่างเป็นระบบทำให้การใช้งานข้อมูลไม่ได้รับความสะดวก สำนักงานเขตมีการรวบรวมข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ลงใน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) และมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) อย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการโดยดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ พัฒนาและจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2023-03-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1348 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2566 กิจกรรม 5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงาน (One Platform) ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1349 1.0.3.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 กิจกรรมการเชื่อมโยงข้อมูลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล Hospital information System (HIS) กับระบบ Health Link สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจ หน้าที่เกี่ยวกับการจัดให้มีบริการโรงพยาบาลในการตรวจรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟู สุขภาพและสมรรถภาพ เพื่อลดการบาดเจ็บและการตายจากการเจ็บป่วยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ได้เล็งเห็นความสำคัญของการนำข้อมูลทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด การนำข้อมูลจากระบบสารสนเทศโรงพยาบาลแต่ละแห่งเพียงหน่วยงานเดียว ไม่สามารถใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการแก้ปัญหาได้ในทุกมิติ จึงจำเป็นต้องพัฒนาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการแพทย์กับหน่วยงานอื่น เพื่อนำข้อมูลมาช่วยในการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ และช่วยในการแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการแพทย์ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการวิเคราะห์และบริหารข้อมูลขนาดใหญ่ภาครัฐ (สวข.) หรือ GBDi ได้จัดทำข้อตกลงความร่วมมือโครงการจัดทำระบบดิจิทัลและเทคโนโลยีเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ และได้จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เรื่องการพัฒนาเพิ่มคุณภาพการบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ระหว่างกระทรวงกลาโหม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กรุงเทพมหานคร ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช สภากาชาดไทย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมบางกอก อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ๒ โดยโครงการ Health Link จะทำการเชื่อมข้อมูลสุขภาพของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานครทั้ง ๑๑ แห่งเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลางของ Health Link โดยใช้มาตรฐาน Fast Healthcare Interoperability Resources (FHIR) จากองค์กร Health Level Seven (HL7) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า HL7 FHIR ซึ่งเป็นมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพที่มีผู้ใช้งานทั่วโลก เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากระบบสารสนเทศโรงพยาบาลทั้ง ๑๑ แห่ง เข้ากับโครงการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ (Health Information Exchange: Health Link) ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลได้ตามมาตรฐานที่กำหนดของโครงการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพทั่วประเทศ (Health Information Exchange: Health Link) ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1350 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 นำเข้าข้อมูลอาคาร 9 ประเภท ที่จะต้องจัดให้มีการตรวจสอบอาคารในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ และกลุ่มเขตกรุงธนใต้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร สำนักงานควบคุมอาคาร สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับการอนุญาต ตรวจสอบ และควบคุมการใช้อาคาร รวมถึงอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2548 ที่กระจายตัวอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งอาคารเหล่านี้ประกอบไปด้วย อาคารสูง (อาคารที่มีความสูงเกิน 23 เมตรขึ้นไป) อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (อาคารที่มีพื้นที่ทุกชั้นรวมกันตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป) อาคารชุมนุมคน (อาคารที่ชุมนุมคนได้ตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป หรือเป็นอาคารเพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป) อาคารชุด (ตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวมตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไปต่ออาคาร) โรงมหรสพ โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจำนวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 200 ตารางเมตรขึ้นไป อาคารโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งชั้น และมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่สูงจากพื้นดินตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป หรือป้ายที่ติดหรือตั้งบนหลังคาหรือดาดฟ้าของอาคาร หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 25 ตารางเมตรขึ้นไป ซึ่งอาคารเหล่านี้ หากไม่ได้รับการตรวจสอบความพร้อมด้านความปลอดภัยในการใช้อาคารอาจส่งผลถึงชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนได้ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีฐานข้อมูลของอาคารดังกล่าวที่อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และยกระดับความปลอดภัย เพื่อลดจำนวนอุบัติภัยอันเกิดจากสิ่งก่อสร้างประเภทอาคาร เพื่อบรรลุเป้าหมายการเป็นเมืองที่มีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ และประชาชนรู้สึกมีความเชื่อมั่นในด้านความปลอดภัยในการใช้อาคารในพื้นที่ นำเข้าข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (อาคาร 9 ประเภทตามกฎหมายควบคุมอาคาร) ในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ กลุ่มเขตกรุงธนใต้ จำนวน 6500 อาคาร โดยการลงพื้นที่เพื่อถ่ายรูป เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของอาคาร และสแกนเอกสารอนุญาต รวมทั้งแบบแปลนของอาคาร เข้าสู่ระบบบริหารจัดการงานควบคุมอาคาร เพื่อให้มีฐานข้อมูลอาคารครอบคลุมทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้สำหรับการวางแผนปฏิบัติงานควบคุม ตรวจสอบอาคารที่มีความเสี่ยง และล่อแหลมที่จะทำให้เกิดอุบัติภัยจากการใช้งานอาคาร และสามารถแก้ไขปัญหา ด้านความปลอดภัยต่อการใช้อาคารที่มีความเสี่ยงได้ทันกาล 36,311,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 25.00
1351 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมรอระบายทวีความรุนแรงมากขึ้น เพื่อให้การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์แก่สำนักงานเขตต่าง ๆ ติดตั้งใช้งานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ที่สำนักงานเขตรับผิดชอบ สนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์เป็นไปตามแผนการสนับสนุนประจำปี 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1352 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ โดยใช้เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงต่างๆ เพื่อรองรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดการชำรุดเสียหายจากการใช้งาน เพื่อซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล ให้มีความพร้อมในการนำไปใช้ปฏิบัติงานตลอดเวลา และสำรองเปลี่ยนทดแทนกรณีชำรุดเสียหาย การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1353 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 โครงการพัฒนาระบบประเมินปริมาณฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ (กสน.) ในช่วง ๓-๔ ปี ที่ผ่านมานี้ กรุงเทพมหานครต้องประสบกับปัญหาน้ำท่วมขังจากฝนตกในพื้นที่อยู่บ่อยครั้ง สืบเนื่องมาจาก ๒ ปัจจัยหลัก ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีการขยายตัวของชุมชุนเมืองเพิ่มอย่างรวดเร็ว และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่ทำให้ปริมาณฝนที่ตกมีความเข้มสูงขึ้นมาก ซึ่งทั้งสองปัจจัยทำให้กรุงเทพมหานครจำเป็นต้องมีระบบจัดการระบายน้ำเชิงรุก (Proactive Drainage Management System) สำหรับเป็นเครื่องมือในการติดตาม สั่งการ และรายงานผล ในการจัดการระบายน้ำฝนที่ตกในพื้นที่กรุงเทพมหานครไปสู่ระบบระบายน้ำหลัก (อุโมงค์ระบายน้ำ คลองสายหลัก และสถานีสูบน้ำ) ซึ่งได้มีการจัดทำไว้พร้อมแล้ว เพื่อให้ระบบระบายน้ำหลักที่มีอยู่สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการนำเครื่องมือที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ และโต้ตอบ (Control-Monitor-Forecast-Interact) อันจะส่งผลให้ระบบระบายน้ำของกรุงเทพมหานครทำงานได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและผลกระทบจากการเกิดน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้อย่างยั่งยืน ฝนที่ตกหนักเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการระบายน้ำ โดยกองสารสนเทศระบายน้ำ จึงได้จัดทำโครงการจัดทำระบบประเมินน้ำฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลปริมาณฝนที่ตรวจวัดในอากาศด้วยเรดาร์มาประเมินเป็นปริมาณฝนที่ตรวจวัดได้จริงโดยใช้วิธีการประเมินฝนและพยากรณ์ฝนจากข้อมูลเรดาร์ที่เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ทั้งนี้ระบบการพยากรณ์ฝน ที่พัฒนาขึ้นจะสามารถประเมินปริมาณฝนรายชั่วโมงและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าได้ ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) มีความถูกต้อง แม่นยำ น่าเชื่อถือ สามารถตรวจวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างต่อเนื่องภายใต้รัศมีทำการของเรดาร์ และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลการประเมินฝนและพยากรณ์ฝนเข้ากับระบบบริหารจัดการน้ำท่วมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ๒.๑ เพื่อจัดทำระบบประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ด้วยเรดาร์ตรวจอากาศ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลจากเรดาร์ ๒ สถานีร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วยสถานีเรดาร์หนองจอก และสถานีเรดาร์หนองแขม โดยวิธี Composite Radar Reflectivity ให้สามารถประเมินข้อมูลฝนเชิงพื้นที่ในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานครได้ ๒.๒ เพื่อเชื่อมโยงระบบการประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง เข้ากับระบบบริหารจัดการน้ำท่วมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมแบบ Realtime เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำท่วม การประชาสัมพันธ์และการเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๓.๑ การประยุกต์ใช้ข้อมูลตรวจวัดปริมาณฝนด้วยเรดาร์ตรวจอากาศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๓.๒ มีระบบประเมินปริมาณฝนและคาดการณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมงที่มีความแม่นยำ น่าเชื่อถือ และได้มาตรฐานในระดับสากล 15,000,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 10.00
1354 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 โครงการปรับระดับหมุดหลักฐานทางดิ่ง พร้อมติดตั้งแผ่นวัดระดับน้ำที่อาคารบังคับน้ำ (กสน.) สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร มีภารกิจหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลจากสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ จุดวัดน้ำ แ ละบ่อสูบน้ำที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้บริหารจัดการ และวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม การวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหา ต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำ โดยเฉพาะข้อมูลทางด้านระดับน้ำ เพื่อจะได้รู้ถึงค่าความสูงของระดับน้ำ ปริมาณน้ำ จึงจำเป็นต้องมีค่าระดับหมุดหลักฐานทางดิ่งที่เป็นปัจจุบันพร้อมแผ่นวัดระดับน้ำ (STAFFGUAGE) จากการเปลี่ยนแปลงทางด้านธรณี แผ่นดินทรุดต่อเนื่องในทุก ๆ ปี จึงต้องปรับค่าระดับที่ติดตั้ง ตั้งแต่ปี 2552 พร้อมค่าระดับหมุดหลักฐานใหม่ กองสารสนเทศระบายน้ำ สำนักการระบายน้ำ จึงได้ดำเนินการโครงการปรับระดับหมุดหลักฐานทางดิ่ง พร้อมติดตั้งแผ่นวัดระดับน้ำ (STAFFGUAGE) โดยดำเนินการรังวัดค่าระดับในลักษณะเป็นวงรอบเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และทำการปรับแก้ค่าระดับทั้งหมด ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร แล้วจึงดำเนินการติดตั้งแผ่นวัดระดับน้ำ (STAFFGUAGE) ให้เป็นไปตามค่าหมุดหลักฐานที่ได้รังวัดไว้จะทำให้ได้ข้อมูลระดับน้ำที่ถูกต้องเป็นปัจจุบันทั้งระบบทั่วพื้นที่กรุงเทพมหานครเพื่อการบริหารจัดการน้ำในการป้องกันและแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ 2.1 สำรวจปรับระดับหมุดหลักฐานทางดิ่ง ค่าระดับน้ำ รทก. (ระดับน้ำทะเลปานกลาง) ให้มีค่าที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันพร้อมติดตั้งแผ่นวัดระดับน้ำที่สถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ จุดวัดน้ำและบ่อสูบน้ำ 2.2 เพื่อให้มีข้อมูลในการเฝ้าระวังและตรวจสอบระดับน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และมีค่าระดับน้ำที่จำเป็นได้ทั่วถึงในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้เป็นในแนวทางระดับมาตรฐานเดียวกัน 3.1 ติดตั้งหมุดหลักฐานทางดิ่ง (BM) ที่สถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ จุดวัดน้ำและบ่อสูบน้ำ จำนวน 700 จุด 3.2 ติดตั้งแผ่นป้ายทองเหลืองบอกค่าระดับ จำนวน 1,300 แผ่น 3.3 ถ่ายค่าระดับจากหมุดหลักฐานติดตั้งแผ่นโลหะเคลือบวัดระดับน้ำ (STAFFGUAGE) จำนวน 1,300 จุด 20,224,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 64.00
1355 0.0.0.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในเรื่องต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมรวมทั้งวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยมต่างๆ ทำให้คนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และห่างเหินวัฒนธรรมประเพณีไทยที่ถือปฏิบัติกันมายาวนาน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทยห่างหายไปจากความทรงจำของชาวไทย สำนักงานเขตหนองจอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ และวิถีชีวิตของความเป็นชาติไทย รวมถึงความเป็นอยู่ของคนไทยที่ยึดเหนี่ยวให้คนในสังคมมีความกตัญญู โอบอ้อมอารีต่อกัน ยึดถือประเพณีไทยในการดำรงความเป็นอยู่ จึงได้กำหนดการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ให้คงอยู่สืบไป 2.1 เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของไทยให้เยาวชนรุ่นหลังได้สืบสานต่อไป 2.2 เพื่อให้ประชาชนได้ ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณีและช่วยกันอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 2.3 เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของไทยเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 2.4 เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงวันสำคัญของชาติ และร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จัดทำโครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี จำนวน 4 กิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ 3.2 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ประจำปีพุทธศักราช 2567 3.3 กิจกรรมประเพณีแห่เทียนพรรษา ประจำปี 2567 3.4 กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจำปีพุทธศักราช 2567 500,000.00 202,570.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1356 0.0.0.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
.. 2566 ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา สุขภาพอนามัยเป็นสิ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งหากมีสุขภาพอนามัยที่ดี สมบูรณ์ แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว จะทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น และเป็นทรัพยากรหลักในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกช่วงวัยได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ จึงเป็นกิจกรรมพื้นฐานเบื้องต้นที่ทำให้ประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทำให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุกทุกประเภท ตลอดจนเป็นการฝึกฝนพัฒนาตนเองจากกีฬาขั้นพื้นฐานก้าวสู่ความเป็นเลิศทางการกีฬาได้อีกด้วย กรุงเทพมหานครได้ใช้ยุทธศาสตร์ด้านกีฬาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยกำหนดให้แต่ละแหล่งชุมชนมีพื้นที่เพื่อใช้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และประกอบกิจกรรมของประชาชนตามโอกาสต่างๆ โดยส่งเสริมให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมและส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านกีฬาและนันทนาการที่เหมาะสมให้แก่ประชาชน ดังนั้นสำนักงานเขตหนองจอกซึ่งเป็นส่วนราชการหนึ่งของกรุงเทพมหานครจึงเล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน จึงได้มีการจัดตั้งลานกีฬาตามพื้นที่ชุมชนและตามสถานศึกษาต่างๆ ให้ครอบคลุมสำหรับให้ประชาชนได้มีสถานที่การออกกำลังกาย เล่นกีฬา และจัดกิจกรรมต่างๆ โดยมีอาสาสมัครลานกีฬาเป็นผู้ดูแลร่วมกับคณะกรรมการบริหารลานกีฬา และมีสโมสรกีฬาหนองจอกร่วมกันขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านกีฬาของเขตหนองจอก ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจกรรมสโมสรกีฬาและลานกีฬา ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬา รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก ซึ่งกิจกรรมต่างๆ ของโครงการที่จัดขึ้นนั้น ล้วนเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และนันทนาการ รวมถึงจัดหาวัสดุอุปกรณ์กีฬาให้เพียงพอ และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสุขภาวะที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจของประชาชนอย่างแท้จริง 2.1 เพื่อเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก 2.2 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมและดำเนินงานของสโมสรกีฬาหนองจอก 2.3 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก 2.4 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการ และสุขภาพ ของคนทุกเพศทุกวัย สนับสนุนเป็นค่าตอบแทนของอาสาสมัครลานกีฬาเขตหนองจอก จำนวน 17 คน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนกันยายน 2566 โดยปฏิบัติงานทุกวัน (ไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์), สนับสนุนกิจกรรมและการดำเนินงานของสโมสรกีฬาหนองจอก และสนับสนุนกิจกรรมพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานของลานกีฬาเขตหนองจอก 3,365,400.00 3,277,373.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1357 0.0.0.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในศูนย์กลางธุรกิจและความทันสมัยอย่างครบวงจรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวติดอันดับโลกที่ผู้คนจากทั่วโลกสนใจอยากเดินทางมาท่องเที่ยวท่ามกลางความทันสมัย กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่สีเขียวของภาคการเกษตร ถึง 26 เขต มีพื้นที่การเกษตรประมาณ 120,000 ไร่ จากพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมด 980,460 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว สวนผลไม้ สวนผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ หญ้าสนาม การเลี้ยงสัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ผลผลิตที่ได้เป็นแหล่งการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการผลิต การเพิ่มผลผลิต การยกระดับมาตรฐานสินค้าให้มีคุณภาพ การปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ทันสมัยมากขึ้น ที่สำคัญที่สุดได้น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาจัดทำเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตหนองจอก เป็นหน่วยงานหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่ได้น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเจ้าเพื่อให้เกษตรกรและประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีชีวิตแบบพอเพียง จึงได้จัดทำโครงการอบรมตามหลักสูตรของเกษตรทฤษฎีใหม่ขึ้นเพื่อให้เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อเป็นการต่อยอดแก่เกษตรกรได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าให้มากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อเป็นการสนองแนวพระราชดำริโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ นำเกษตรกรเข้าสู่วิถีชีวิตพอเพียง ซึ่งจะทำให้มีความยั่งยืนอย่างแท้จริง 2.3 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่เขตหนองจอก ได้ฝึกอบรมด้านการเกษตรเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริมให้แก่ครอบครัว 2.4 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะอาชีพด้านการเกษตร ให้แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 2.5 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่เขตหนองจอก 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริฯ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการเกษตร ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรให้แก่เกษตรกร ยุวเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจทั่วไป 3.2 จัดฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพเพื่อพัฒนาเกษตรกร อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ด้านเกษตรต่างๆ ให้กับเกษตรกร นักเรียน ประชาชน และผู้ที่สนใจทั่วไป จำนวน 5 หลักสูตร 46 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 1,380 คน โดยจัดอบรมแบบไป-กลับ ณ ศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ฯ เขตหนองจอก และศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำแขวง 8 ศูนย์ หลักสูตรที่ 1 การปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ จำนวน 15 รุ่นๆละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 2 การเพาะเห็ดเพื่อการค้า จำนวน 15 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 450 คน หลักสูตรที่ 3 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 4 การขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อการค้า จำนวน 8 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน หลักสูตรที่ 5 การแปรรูปผลผลิตการเกษตร จำนวน 4 รุ่นๆ ละ 30 คน รวม 120 คน 358,000.00 334,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1358 0.0.0.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานครเขตหนองจอก เป็นแหล่งรวบรวมคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่แสดงให้เห็นถึงประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นมาและวิถีชีวิตของแต่ละชุมชน สร้างจิตสำนึกให้เกิดการรักและหวงแหนท้องถิ่นที่ตนอาศัย และชุมชนสามารถถ่ายทอดเรื่องราวในอดีตจากรุ่นสู่รุ่นได้ เพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นสืบไป สำนักงานเขตหนองจอกได้พิจารณาแล้วเห็นว่า พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นนั้นมีคุณค่าและควรได้รับการส่งเสริมให้สาธารณชนได้รับทราบถึงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นจึงได้จัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเขตหนองจอกขึ้น ซึ่งเนื้อหาที่ได้จัดแสดงไว้ครอบคลุมองค์ความรู้หลัก 4 ประการ คือประวัติศาสตร์ที่สำคัญในท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาและวิถีชุมชนท้องถิ่น ของดีและแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างความรู้สึกจิตสำนึกรักในบ้านเกิดกระตุ้นให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าและมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตน ตลอดจนสามารถนำไปเผยแพร่ และสามารถนำไปประพฤติปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 2.1 เพื่อเป็นแหล่งเก็บรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ความเป็นมาในอดีต วิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.2 เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมท้องถิ่น คุณค่าและความหมายของท้องถิ่นที่สืบทอดจากอดีตถึงปัจจุบัน และตระหนักถึงคุณค่าที่ควรรักษาไว้ 2.3 เพื่อใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของคนในท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ ตลอดจนนักท่องเที่ยวทั่วไป 2.4 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม 3.1 กิจกรรมที่ 1 ให้บริการ แนะนำ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์ฯ แก่ เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว และสถาบันการเรียนรู้ต่าง ๆ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566 ณ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก 3.2 กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมพิเศษของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือน ธันวาคม 2565 – กันยายน 2566 อย่างน้อย 1 ครั้ง เช่น การจัดเสวนา/สัมมนาวิชาการ กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นระดับเขต กิจกรรมด้านการประชาสัมพันธ์ การศึกษาดูงานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 853,800.00 778,191.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1359 0.0.0.
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้(สะพานสูง) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องเร่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี เพื่อการค้นคว้า การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปันความรู้กับผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สามารถคัดกรองข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินข้อมูลได้อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีจริยธรรมทางเทคโนโลยีได้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนจึงต้องจัดกิจกรรม การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ผ่านการประยุกต์ความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับจากในชั้นเรียนและจากการศึกษาด้วยตนเองได้ สำนักงานเขตสะพานสูง โดยฝ่ายการศึกษาจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสะพานสูง จำนวน 6 โรงเรียน จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับความรู้และประสบการณ์จากการปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ โดยการใช้สารสนเทศอันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะทางการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ในสังกัดทั้ง 6 โรงเรียน อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 2.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถนำนวัตกรรม หรือ สื่อ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ 2.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเองได้ 3.1 ด้านปริมาณ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสะพานสูงทุกโรงเรียนมีการผลิตสื่อการเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ ตามขนาดของโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 3 ผลงาน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 2 ผลงาน และโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 1 ผลงาน เช่น สื่อการเรียนรู้ประเภทสิ่งพิมพ์ ประเภทหลายมิติ วิดิทัศน์ เพื่อการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ฯลฯ 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนสามารถนำความรู้และทักษะในการสร้างผลงานการเรียนรู้และทักษะในการใช้นวัตกรรม/สื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างมีคุณภาพ 78,600.00 78,600.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1360 3.0.4.
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ –การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน กรุงเทพมหานครมีนโยบายส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไปเพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้มีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตละเรียนรู้วิทยาการด้านต่างๆที่ทันสมัยขยายการบริการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆได้แก่ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ห้องสมุดเคลื่อนที่ บ้านหนังสือ เพื่อสนับสนุนโครงการรณรงค์ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งการอ่าน (Bangkok Read For Life) ด้วยเห็นว่าวัฒนธรรมการอ่านเป็นสิ่งสำคัญจำเป็นต้องสร้างให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวัง ที่จะสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่ยั่งยืนให้กับคนกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครได้รับการคัดเลือก จากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็นเมืองหนังสือโลก ในปี 2556 (World Book Capital 2013) สำนักงานเขตหนองจอก เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอ่านและการศึกษาค้นคว้า จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่าน การศึกษาค้นคว้า ความบันเทิง และความจรรโลงใจ เพื่อนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างพัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม ปลูกฝังให้เด็ก เยาวชนและประชาชน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนนำประสบการณ์และความรู้ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป 2.1 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน มีนิสัยรักการอ่าน และการศึกษาค้นคว้า 2.2 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.3 เพื่อส่งเสริมให้สถาบันครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันอันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัวต่อไป 2.4 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ณ บ้านหนังสือเขตหนองจอก 5 แห่ง ได้แก่ บ้านหนังสือ นูรุสสลาม บ้านหนังสือเคหะหนองจอก บ้านหนังสืออิบรอฮีม บ้านหนังสือชุมชนแผ่นดินทองบ้านกระทุ่มราย บ้านหนังสือมูลนิธิตระกูลกอดีรี และชุมชนบริเวณรอบๆ บ้านหนังสือ 3.2 กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็ก เยาวชน และประชาชน ที่มาใช้บริการบ้านหนังสือ 5 แห่ง และชุมชนบริเวณบ้านจำนวน 1,250 คน 200,000.00 200,000.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1361 7.0.5.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 โครงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีผู้ปฏิบัติงานในองค์กรจำนวนมาก ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานคร ลูกจ้างชั่วคราว และบุคลากรกรุงเทพมหานคร ในการเป็นองค์กรกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องมีข้อมูลด้านบุคคลของผู้ปฏิบัติงานอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัยสามารถนำมาจัดทำเป็นสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการด้านการวางแผนกำลังคนและการบริหารงานบุคคลเพื่อให้ผู้บริหารของกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านบุคคลได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารทรัพยากรบุคคลได้สูงสุด พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 กำหนดให้สำนักงาน ก.ก. มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคน ของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางข้อมูลทรัพยากรบุคคล ของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร และดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียน-ประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ร่วมกับหน้าที่อื่น ๆ แต่เนื่องจากปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังไม่มีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถรวบรวมข้อมูลทางด้านบุคคลเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลในภาพรวมและจัดทำเป็นสารสนเทศสำหรับ การตัดสินใจของผู้บริหาร คณะกรรมการ หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้ สำนักงาน ก.ก. เห็นความสำคัญของการมีข้อมูลด้านบุคคลของกรุงเทพมหานคร ที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลในยุคการเปลี่ยนแปลงสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 นับเป็นภารกิจสำคัญของสำนักงาน ก.ก. ที่จะสร้างฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของผู้ปฏิบัติงานในกรุงเทพมหานครและสร้างระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานด้านบุคคล ซึ่งจะต้องมีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครขึ้น 1. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีข้อมูลสารสนเทศด้านบุคคลสำหรับใช้ในการตัดสินใจเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร 11,125,900.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2022-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
1362 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 สำรวจจัดสร้างและปรับปรุงหมุดหลักฐานทางดิ่งและทางราบในบริเวณกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้กำหนดมาตรฐานในการก่อสร้างในส่วนที่เกี่ยวกับระดับความสูงของสิ่งก่อสร้าง เช่น ระดับผิวจราจรของถนนโดยเปรียบเทียบกับค่าระดับน้ำทะเลปานกลางของประเทศไทย (รทก.) ที่บริเวณเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยจัดสร้างหมุดอ้างอิงในบริเวณกรุงเทพมหานคร กระจายอยู่ทั่วไปเพื่อใช้อ้างอิงในการก่อสร้างในแต่ละบริเวณของพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยในอดีตก่อนปี พ.ศ. 2522 มีการจัดสร้างหมุดอ้างอิงไว้ตามโครงการต่าง ๆ กระจายอยู่ทั่วไป ไม่มีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ทำให้ยากต่อการใช้งานและไม่มีโอกาสตรวจสอบและปรับแก้หมุดหลักฐานเหล่านี้อย่างเป็นระบบ จึงพิจารณาเห็นว่าควรทำการตรวจสอบค่าระดับของหมุดอย่างสม่ำเสมอ กล่าวคือควรทำทุกรอบ 5 ปี ถ้าหากนานมากกว่า 5 ปีแล้ว ข้อมูลค่าระดับต่าง ๆ ของหมุดจะเริ่มมีความคลาดเคลื่อนผิดไปจากเดิม หากไม่ดำเนินการปรับปรุงใหม่และทิ้งระยะเวลาไว้นานดังเช่นในอดีต ก็จะเกิดความคลาดเคลื่อนสูงมากขึ้น หากนำไปใช้จะก่อให้เกิดความเสียหายมาก และจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในปลายปี พ.ศ. 2554 มีเสียงเรียกร้องจากประชาชนผ่านสื่อมวลชนต่าง ๆ ต้องการจะทราบว่าน้ำจะท่วมสูงกว่าหลังถนนเท่าใด ทำให้ไม่สามารถที่จะวางแผนการป้องกันน้ำท่วมได้ ซึ่งโดยข้อเท็จจริง สำนักการโยธาได้ดำเนินการทำแผนที่ค่าระดับหลังถนนสายหลัก ๆ ไว้แล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 และได้ติดตั้งป้ายบอกค่าระดับแล้วในปี พ.ศ. 2557 แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วกรุงเทพมหานครและระดับหลังถนนดังกล่าวมีการทรุดตัวไปตามระยะเวลา ค่าระดับหลังถนนจึงไม่เป็นปัจจุบัน ในการปรับปรุงหมุดหลักฐานใหม่ในครั้งนี้จะได้ทำแผนที่ค่าระดับหลังถนนต่าง ๆ และป้ายบอกค่าระดับให้มากขึ้น รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันปัญหาน้ำท่วมในอนาคต เพื่อปรับปรุงค่าระดับของหมุดควบคุมทางดิ่งที่มีอยู่ให้มีค่าที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริงและซ่อมแซมหมุดหลักฐานทางดิ่งที่เสียหายให้สามารถใช้งานได้ จัดสร้างหมุดหลักฐานทางราบ จำนวน 5 คู่ (10 หมุด) 6,200,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2022-10-01 00:00:00 2024-03-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 35.00
1363 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 การดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1364 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Desktop Management) หน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครได้จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย มาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครสำหรับใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ เช่น ระบบ MIS ระบบงาน 50 สำนักงานเขต และระบบงานอื่น ๆ ที่พัฒนามาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานและให้บริการประชาชน ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย มากกว่า 25,000 เครื่อง ที่เชื่อมต่อใช้งานเข้ากับระบบเครือข่ายสื่อสารดังกล่าว ซึ่งจากจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายที่มีจำนวนมาก จึงส่งผลให้การดูแลบำรุงรักษา และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายจำเป็นต้องดำเนินการในเชิงป้องกันและในกรณีที่เกิดเหตุขัดข้องขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายจำเป็นต้องแก้ไขโดยรวดเร็ว เพื่อให้หน่วยงานสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่มีผลกระทบต่อผู้ใช้งานและประชาชนที่มาใช้บริการจึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบควบคุมและบริหารจัดการเครื่องลูกข่ายเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบสถานะ และแก้ไขให้ Hardware และ Software ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น รวมถึงช่วยลดเวลา ลดขั้นตอนในการแก้ไขปัญหากับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายที่ใช้ตามหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อไปแก้ไขปัญหาที่หน่วยงานและเป็นการวางแนวทางการกำหนดนโยบายการจัดการระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เพื่อเป็นการปรับปรุงให้บริการแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายของหน่วยงานกรุงเทพมหานครให้เป็นจุดบริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ สามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องของเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายได้รวดเร็ว และครอบคลุมปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ มีความสะดวกรวดเร็วในการปรับแต่งระบบโปรแกรม หรือติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อนำมาใช้งานตามความประสงค์ของหน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานเขต 50 เขต สำนักการคลัง และผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จัดหาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Desktop Management) ของกรุงเทพมหานครเพื่อให้มีเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและระบบโปรแกรมที่ใช้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานของกรุงเทพมหานครโดยสามารถดำเนินการและบริหารจัดการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายได้จากส่วนกลาง ซึ่งจะลดเวลาในการแก้ไขปัญหา เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว และสร้างความเชื่อถือให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 11,548,800.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
1365 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 โครงการจัดทำระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) ดำเนินการโครงการจัดทำระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning : ERP) ของกรุงเทพมหานคร สำหรับทดแทนระบบ MIS 2 ให้สามารถรองรับกับระเบียบ นโยบาย และแผนการปฏิบัติราชการที่เปลี่ยนแปลง สำหรับการปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และระบบทรัพย์สินของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร ขยายขอบเขตการใช้งานหรือให้บริการได้อย่างครอบคลุม มีเสถียรภาพ สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีข้อมูลที่สามารถสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ๑ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรของกรุงเทพมหานคร ๒ เพื่อจัดทำระบบให้รองรับมาตรฐานผังบัญชีและการบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามแนวทางการบัญชีภาครัฐ ๑ มีระบบสารสนเทศที่รองรับการปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และทรัพย์สินของกรุงเทพมหานครได้อย่างครอบคลุม ครบถ้วน ๒ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการบริหารจัดการ และติดตามงานในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 218,035,400.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 30.00
1366 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 จ้างที่ปรึกษาจ้างบริการวิชาการในด้านดิจิทัลเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ดิจิทัลในการพัฒนากรุงเทพมหานคร การบริหารงานของกรุงเทพมหานครมีการประยุกต์นำเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนา และปฏิรูปกระบวนการทำงานให้ทันสมัย ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นเครื่องมือกำหนดยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ผู้บริหารสามารถเห็นภาพรวมการเชื่อมโยงของข้อมูล และสามารถวางแผนการพัฒนาเมือง และบริการสาธารณะ รวมทั้งกำหนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัติ ด้านดิจิทัลในการพัฒนากรุงเทพมหานคร และการสร้างนวัตกรรมบริการใหม่ ๆ เพื่อให้บริการกับประชาชน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีพันธกิจในการกำหนดนโยบาย เป้าหมายการจัดทำและพัฒนาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยการแปลงยุทธศาสตร์ เป็นแผนนำไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล การดำเนินการ รวมทั้งการบริหารจัดการพัฒนา และให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อผลักดันให้กรุงเทพมหานครเป็นรัฐบาลดิจิทัล จึงเสนอโครงการนี้เพื่อศึกษาการวิเคราะห์ด้านดิจิทัล เพื่อการขับเคลื่อนนโยบาย และยุทธศาสตร์ดิจิทัลในการพัฒนากรุงเทพมหานคร และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่ใช้กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์เชิงรุก และข้อเสนอแนะการเปิดเผยข้อมูลศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร (Open Bangkok) รวมทั้งความพร้อมและต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัล โดยข้อมูลที่ได้ จากการวิเคราะห์ จะเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อน การพัฒนาเมือง และเพิ่มศักยภาพ ของกรุงเทพมหานคร ให้พัฒนาไปสู่ การเป็นมหานครชั้นนำ ของเอเชียต่อไป 2.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทาง การพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อนนโยบาย และยุทธศาสตร์ดิจิทัล ในการพัฒนากรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ 2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลตามภารกิจ ข้อมูลขนาดใหญ่ ข้อมูลเปิดของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร และข้อมูลของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกรุงเทพมหานครในการจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สามารถนำมาใช้กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์เชิงรุกที่สามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งข้อเสนอแนะการเปิดเผยข้อมูลศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร (Open Bangkok) 2.3 เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยศึกษาความพร้อมและความต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งครอบคลุมในส่วนของการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการปฏิบัติงาน การบูรณาการบริการและข้อมูลภาครัฐ การให้บริการภาครัฐ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการประชาชนผ่านช่องทางดิจิทัลได้อย่างเบ็ดเสร็จและไร้รอยต่อ 2.4 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครให้มีความพร้อม และความรู้ด้านข้อมูลดิจิทัลและด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจ กรุงเทพมหานครมีการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ดิจิทัลในการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยมียุทธศาสตร์และการวางแผนกลยุทธ์ในการบริหารจัดการเมืองและบริการสาธารณะ เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนและประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 14,142,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 70.00
1367 7.0.4.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ระบบป้องกันไฟฟ้าสำหรับเครือข่ายสื่อสารข้อมูล กรุงเทพมหานครได้นำระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลมาใช้ในงานบริหารจัดการ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ รวมถึงการให้บริการประชาชนผ่านระบบงานสานสนเทศต่างๆ เช่น ระบบงาน MIS ระบบงาน 50 เขต ระบบงานทะเบียนราษฎร และระบบงานสารสนเทศต่างๆ ของหน่วยงาน ปัจจุบันเครือข่ายสื่อสารข้อมูลมีเพียงเครื่องสำรองไฟฟ้าเท่านั้นที่ทำหน้าที่ป้องกันไฟฟ้ากระชากเข้ามาในระบบเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งทำหน้าที่ได้ไม่เหมาะสม ทำให้เวลามีเหตุการณ์จากฟ้าผ่า หรือ ไฟฟ้ากระชากจากนอกอาคารเหนี่ยวนำ เข้ามา ไม่สามารถป้องกันได้อย่างรวดเร็วพอ ทำให้อุปกรณ์ของระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลเสียหายอย่างมาก และทำให้บริหารจัดการ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ รวมถึงการให้บริการประชาชนผ่านระบบงานสารสนเทศต่างๆ ไม่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ ทั้งนี้การป้องกันความเสียหายซึ่งนำไปสู่การแก้ไขปัญหา เชิงรุก และรักษาป้องกันอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารให้สามารถใช้งานได้ตลอดโดยไม่มีผลกระทบดังกล่าว จึงจำเป็นต้องติดตั้งระบบอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าตามหน่วยงาน ที่ติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลัก จำนวน 70 หน่วยงาน เพื่อป้องกันความเสียหายต่ออุปกรณ์ที่มีมูลค่าสูง และสร้างเสถียรภาพการทำงาน ของระบบ โดยระบบจะมีการส่งข้อมูลเหตุการณ์ จากการเกิดไฟฟ้ากระชาก มายังส่วนกลางเพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการ และดำเนินการป้องกันอย่างยั่งยืนต่อไป เพื่อป้องกันไฟฟ้ากระชาก ป้องกันความเสียหายต่ออุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลดความสูญเสียจากปัญหาระบบไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ต่อระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล มีระบบป้องกันไฟฟ้ากระชากที่เกิดขึ้น และก่อความเสียหายให้กับระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล พร้อมระบบบริหารจัดการข้อมูลในการตรวจสอบ และวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13,013,875.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2023-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
1368 7.0.3.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 กิจกรรมการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน 1. แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและคณะทำงานบริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน จัดทำบัญชีรายการข้อมูลทั้งหมด และจัดทำแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณภาพสูงของหน่วยงาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 - 2569) 2. จัดทำและปรับปรุงข้อมูลตามแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณภาพสูงของหน่วยงาน และเผยแพร่บนศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร พร้อมคำอธิบายข้อมูลดิจิทัล และพจนานุกรม 3. นำเข้าข้อมูลที่ได้จัดทำพัฒนาเป็น Dashboard ที่แสดงผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจตามภารกิจของหน่วยงาน 1. แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลและคณะทำงานบริกรข้อมูลระดับหน่วยงาน จัดทำบัญชีรายการข้อมูลทั้งหมด และจัดทำแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณภาพสูงของหน่วยงาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 - 2569) 2. จัดทำและปรับปรุงข้อมูลตามแผนพัฒนาข้อมูลที่มีคุณภาพสูงของหน่วยงาน และเผยแพร่บนศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร พร้อมคำอธิบายข้อมูลดิจิทัล และพจนานุกรม 3. นำเข้าข้อมูลที่ได้จัดทำพัฒนาเป็น Dashboard ที่แสดงผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจตามภารกิจของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2023-10-01 00:00:00 2024-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
1369 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการจัดทำและปรับปรุงเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครเป็นเมืองศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวที่มีความโดดเด่นแห่งหนึ่งของโลก เป็นเมืองจุดหมายปลายทางที่มีเสน่ห์ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวจำนวนมากนิยมเดินทางมาท่องเที่ยว ด้วยความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี สถาปัตยกรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน อาหาร และความคุ้มค่าในการท่องเที่ยว เป็นสิ่งที่สร้างความประทับใจและจูงใจให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวยังกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา ส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีข้อจำกัดด้านการเดินทางมาท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร จึงทำให้รูปแบบและความต้องการด้านท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม นั่นคือนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มพฤติกรรมเดินทางท่องเที่ยวด้วยตนเองมากขึ้น และมีความต้องการท่องเที่ยวแบบเว้นระยะห่างและลดการสัมผัสเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ประกอบกับนักท่องเที่ยวมีความต้องการค้นหาประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ต้องการการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้โดยง่าย เพื่อประกอบการวางแผนเดินทางท่องเที่ยวได้ด้วยตนเอง ส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ตระหนักถึงการเตรียมความพร้อมเพื่อให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครให้นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกและมีความน่าสนใจ ทางหน่วยงานจึงได้ดำเนินโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดทำและปรับปรุงเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ที่สามารถตอบสนองต่อทุกความต้องการของนักท่องเที่ยว เช่น สถานที่ท่องเที่ยว ร้านอาหาร/ภัตตาคาร ที่พัก ความปลอดภัยในการเดินทาง คำแนะนำด้านการท่องเที่ยว ฯลฯ ผ่านเว็บไซต์ที่มีความน่าสนใจ ทันสมัยและมีการออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นผู้ใช้งานเป็นศูนย์กลาง (User-centered design) โดยพัฒนาเว็บไซต์ให้ผู้ใช้งานเข้าใจและใช้งานได้ง่าย เพื่อเป็นสื่อในการจูงใจนักท่องเที่ยว และสร้างภาพลักษณ์ที่ดี กระตุ้นให้นักท่องเที่ยวเกิดความต้องการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวยังกรุงเทพมหานคร อีกทั้ง เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านการท่องเที่ยวของเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครให้อยู่ในระดับสากล ๒.๑ เพื่อรวบรวมข้อมูล ปรับปรุง และนำเสนอข้อมูลด้านการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร ที่น่าสนใจและเป็นปัจจุบันผ่านทางเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ๒.๒ เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงข้อมูลหรือแหล่งท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๒.๓ เพื่อกระตุ้นและดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครมากยิ่งขึ้น ๒.๔ สนับสนุนแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๗๕) ยุทธศาสตร์ที่ ๖ มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ย่อยที่ ๖.๓ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวระดับโลก ๒.๕ เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว ตามแนวคิด “กรุงเทพฯ เมืองยิ้ม” หรือ “Bangkok Smiles” ดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ รวบรวมข้อมูลด้านการท่องเที่ยวในเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร www.bangkoktourist.com หรือชื่ออื่นที่กรุงเทพมหานครกำหนด ให้มีข้อมูลด้านการท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหาร/ภัตตาคาร ที่พัก กิจกรรมการท่องเที่ยว คำแนะนำ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว จัดทำและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งนำเสนอให้เกิดความน่าสนใจ โดยจัดทำเนื้อหาในเว็บไซต์เป็น ๓ ภาษา (ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน) และนำเทคโนโลยีอื่น ๆ มาร่วมนำเสนอเพื่อให้เว็บไซต์มีความน่าสนใจ เพิ่มการรับรู้เกี่ยวกับกรุงเทพมหานครในมิติต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ เข้ามาท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครเพิ่มมากขึ้น 2,500,000.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1370 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมประเพณีและวันสำคัญอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สืบทอดมาช้านานควรแก่การดำรงรักษาอนุรักษ์สืบทอดไว้สำนักงานเขตพญาไทจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยให้ดำรงเป็นเอกลักษณ์ของไทยสืบไป 1. เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย 2. เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นและตระหนักถึงคุณค่าในการรักษาไว้ให้คงอยู่ 3. เพื่อเป็นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งภาครัฐและเอกชน 1. ดำเนินการในวันสำคัญต่าง ๆ จำนวน 7 กิจกรรม 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แก่ ข้าราชการลูกจ้าง เด็กและเยาวชน ประชาชน ผู้สูงอายุในพื้นที่เขตพญาไท 500,000.00 324,110.00 สำนักงานเขตพญาไท 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1371 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชน การพัฒนาชุมชนเป็นกระบวนการเคลื่อนไหวไปสู่การเปลี่ยนแปลงเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถพึ่งพาและช่วยเหลือตนเองได้เป็นการยกระดับชุมชนให้ดีขึ้นรวมไปถึงสังคมที่พัฒนาตามมาด้วย 1. ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ 2. การจัดกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชนประสบความสำเร็จประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 3. ชุมชนรู้จักการบริหารจัดการและทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน จากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน ดำเนินการเบิกจ่ายเงินค่าสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนในการจัดกิจกรรมด้านพัฒนาชุมชนในพื้นที่เขตพญาไท จำนวน 22 ชุมชน 1,680,000.00 1,554,800.00 สำนักงานเขตพญาไท 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1372 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร (พญาไท) เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคม รวมทั้งความรู้ความสามารถและส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์อันดีงามจากผู้อาวุโสสู่คนรุ่นใหม่ 1. เป็นศูนย์กลางของการประสานและเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านผู้สูงอายุที่มีทั้งความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ อันจะนำมาช่วยงานของส่วนรวมและของกรุงเทพมหานคร 2. เสริมสร้างความตระหนักในคุณค่าและคุณประโยชน์ที่ผู้สูงอายุมีต่อสังคมโดยส่วนรวมและให้เกิดความเคารพยกย่องผู้สูงอายุ อันนำไปสู่แนวทางการลดปัญหาสังคม 3. เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นหลัง ผู้สูงอายุได้รับการเชิดชูยกย่องภูมิปัญญาจำนวน 1 รายและถ่ายทอดภูมิปัญญาที่มีอยู่แก่คนรุ่นใหม่ 10,000.00 10,000.00 สำนักงานเขตพญาไท 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1373 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพญาไทได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินการจัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไท เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานและขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่และสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยเพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำในการพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. สภาเด็กและเยาวชนเขตพญาไทมีความเข้มแข็งและยั่งยืน เป็นการส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มของเด็กและเยาวชนให้มีการแสดงออกในแนวทางที่เหมาะสม 2. ให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมสามารถพัฒนาระบบความคิดและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเพื่อเตรียมพร้อมในการเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าพัฒนากรุงเทพมหานครและประเทศไทยต่อไปในอนาคต เด็ก เยาวชนในพื้นที่เขตพญาไท ซึ่งมีความสนใจและขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกของสภาเด็กและเยาวชนในแต่ละสำนักงานเขต 180,000.00 170,414.00 สำนักงานเขตพญาไท 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1374 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 กิจกรรมการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล ตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
1375 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับร้านอาหารให้จัดเก็บไขมัน (องค์ประกอบที่ 4 นวัตกรรม) ปัจจุบันเขตวัฒนามีร้านอาหาร จำนวน 1,445 แห่ง ถึงแม้ว่าตามกฎหมายร้านอาหารต้องติดตั้งถังดักไขมันทั้งหมด เพื่อดักไขมันจากน้ำทิ้งก่อนระบายออกท่อระบายน้ำสาธารณะ แต่ก็ยังพบว่ามีไขมันในท่อระบายน้ำ ทำให้ท่อระบายน้ำอุดตัน ระบายน้ำได้ไม่ดี พอฝนตกน้ำระบายได้ช้าเกิดน้ำท่วมขัง น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) เป็นสารอาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติได้มาจากพืชและสัตว์ น้ำเสียจากร้านอาหารที่มีน้ำมันและไขมันปนเปื้อนส่วนใหญ่มาจากการประกอบอาหาร ได้ก่อให้เกิดปัญหาน้ำมันและไขมันปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมเป็นจำนวนมาก โดยอาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนสู่ดินและแหล่งน้ำผิวดินโดยตรง ถังดักไขมัน เป็นอุปกรณ์สำหรับแยกไขมันไม่ให้ไหลปนไปกับน้ำทิ้ง ช่วยรักษาสภาพน้ำในขั้นต้น ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติหรือ ท่อระบายน้ำทิ้ง การจัดการน้ำมันและไขมันโดยใช้ถังดักไขมันเป็นวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียจากร้านอาหารและ ภัตตาคาร สาเหตุหนึ่งที่มีปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่กรุงเทพมหานคร คือ ไขมันที่มาจากร้านอาหาร ซึ่งอาจจะปล่อยให้ไหลล้นบ่อดักไขมันหรือขาดการดูแลที่ดีเพียงพอก่อนปล่อยน้ำทิ้งลงสู่ท่อระบายน้ำ บ่อยครั้งที่เจ้าหน้าที่ระบายน้ำลงพื้นที่เพื่อขุดลอกท่อระบายน้ำพบก้อนไขมันหนาและแข็งตัวสะสมอยู่ในท่อ ส่งผลต่อการระบายน้ำได้ ปัญหาไขมันในท่อระบายน้ำ ทำให้ท่อระบายน้ำอุดตัน ระบายน้ำได้ไม่ดี พอฝนตกน้ำระบายได้ช้าเกิดน้ำท่วมขัง ซึ่งร้านอาหารเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทหนึ่งที่มีไขมันจำนวนมาก ตามกฎหมายร้านอาหารต้องติดตั้งถังดักไขมัน เพื่อดักไขมันจากน้ำทิ้งก่อนระบายออกท่อระบายน้ำสาธารณะ นอกจากนี้ยังส่งผลแก่การกำกับร้านอาหารให้ดูแลบ่อดักไขมันอย่างทั่วถึง เนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่สามารถเข้าตรวจสอบการปฏิบัติของร้านอาหารว่ามีการตักไขมันและเศษอาหารออกจากถังดักไขมันเป็นประจำหรือไม่ ด้วยเหตุผลดังกล่าว สำนักงานเขตวัฒนา จึงได้คัดเลือกโครงการการเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับร้านอาหารให้จัดเก็บไขมันผ่าน google form เพื่อลดปัญหาไขมันอุดตันในท่อระบายน้ำ และการพัฒนาวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในการกำกับดูแลร้านอาหารของเจ้าหน้าที่โดยใช้ google form 1. เพื่อสร้างระบบรายงานการจัดเก็บไขมันของร้านอาหาร 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการจัดการไขมันและการบำบัดน้ำเสียเบื้องต้นก่อนปล่อยสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ มุ่งเน้นลดปัญหาไขมันอุดตันในท่อระบายน้ำ ซึ่งเป็นสาเหตุของน้ำท่วมขัง น้ำรอระบาย โดยการกำกับดูแล ควบคุมการจัดการไขมันและเศษอาหารของร้านอาหารในพื้นที่เขตวัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->1375 หน่วยงาน 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0