รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 136 โครงการ

[พิมพ์ไฟล์ PDF (ทั้งหมด)]

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2560 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2560 (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) การประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์และกระบวนการในการปฏิบัติงาน เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกส่วนราชการของสำนักอนามัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และเป็นเครื่องมือช่วยเผยแพร่และรวบรวมผลงานตัวอย่างนวัตกรรมที่ดีของสำนักอนามัย ผ่านสื่อต่างๆ และประชาชนผู้รับบริการ รวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันอย่างกว้างขวาง นำสู่การพัฒนาต่อยอดและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการและบุคลากรในการพัฒนา งานบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชนต่อไป 1. จัดประกวดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2. จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และผลงานวิชาการอื่นๆ เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดประชุมเปิดโครงการ 1 ครั้ง - จัดประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดประชุมคณะกรรมการ 5 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดยมีผู้ร่วมงาน 500 คน - จัดพิมพ์เอกสาร ผลงานนวัตกรรมฯ แจกผู้ร่วมงาน จำนวน 1,000 เล่ม 1,000,000.00 952,785.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 9.0.7.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ 11,219,000.00 3,850,000.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2018-01-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
3 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
6.2. 2561 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2561 (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) การกระตุ้นให้สร้างผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์หรือกระบวนการในการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคมให้เกิดขึ้นในองค์กร เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกส่วนราชการของสำนักอนามัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และเป็นเครื่องมือช่วยเผยแพร่และรวบรวมผลงานตัวอย่างนวัตกรรมที่ดีของสำนักอนามัย ผ่านสื่อต่างๆ และประชาชนผู้รับบริการ รวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันอย่างกว้างขวาง นำสู่การพัฒนาต่อยอดและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ของข้าราชการและบุคลากรในการพัฒนางานบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชนต่อไป 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคิดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2. จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อยอดผลงานนวัตกรรมฯ ตัดสินผลงาน และแสดงผลงานนวัตกรรมระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัย - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดยมีผู้ร่วมงาน 450 คน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยมีการประกวดและตัดสินผลงานในวันจัดงาน ตลอดจนการจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมฯ ปี พ.ศ. 2561 จำนวน 1,000 เล่ม 900,000.00 886,819.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,000,000.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน โดยกองการพยาบาลสาธารณสุข เริ่มการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 มีรายงานจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่จากการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระหว่างเดือน เมษายน-กันยายน 2559 มีจำนวน 4,784 ราย และระหว่างเดือนตุลาคม 2559 -มีนาคม 2560 มีจำนวนถึง 9,273 ราย นับว่าเป็นสถานการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาโปรแกรม การจัดเก็บข้อมูลของผู้ป่วยและผู้สูงอายุเพื่อการดูแลต่อเนื่อง (Home Health Care) นั้น โปรแกรมในส่วนของระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และระบบการให้การพยาบาลในลักษณะ Home Ward ของศูนย์บริการสาธารณสุข ยังมีข้อจำกัดในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน เนื่องจากข้อจำกัดของการพัฒนาโปรแกรม รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล ในปัจจุบันที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงความต้องการในการใช้ข้อมูลทางการรักษาพยาบาลและข้อมูลการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะข้อมูลพยาบาลผู้จัดการสุขภาพ (Nurse Care Manager) ข้อมูลผู้ดูแลช่วยเหลือ (Caregiver) ข้อมูลแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ซึ่งเป็นข้อมูลที่สนับสนุนการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพของการพยาบาล ได้แก่แผนการจัดระบบการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) การพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา เพื่อวางแผนให้การพยาบาลผ่านระบบสารสนเทศ เชื่อมโยง Family doctor เชื่อมโยงการสั่งการรักษาพยาบาลผ่านระบบ Telemedicine เป็นการนำเทคโนโลยีมาช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลเครือข่าย เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางและค่าใช้จ่ายเพื่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล เป็นบริการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ปัจจุบัน กองการพยาบาลสาธารณสุขตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้เกิดระบบงานที่สนับสนุนการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ให้เกิดความรวดเร็ว เพื่อการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของหน่วยบริการปฐมภูมิอย่างเหมาะสมไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวมากเกินไป ให้บริการดูแลด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตามปัญหาสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี เข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้างสังคมแห่งความเอื้ออาทร และสมานฉันท์ กองการพยาบาลสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถช่วยให้กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และส่งมอบบริการที่ดีมีคุณภาพให้กับประชาชนต่อไป 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ในการบริหารจัดการงานการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศให้สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระหว่างหน่วยงาน กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานครโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และ สถานพยาบาลเครือข่าย ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และให้อยู่บนระบบ Cloud ของ กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 4 เพื่อพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ดูแล (Mobile Application for Caregiver) สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 1 ระบบสารสนเทศสามารถใช้งานระบบการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างประสิทธิภาพ โดยมี 1.1 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 1.2 ระบบการรายงาน (Management Report Systems) 1.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Report System) 1.4 ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems) 2 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 3 ระบบสารสนเทศเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านระหว่างหน่วยงาน ได้แก่โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร และอยู่บนระบบ Cloud ของ กทม. 4 ระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 5 โมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile Application for Caregiver) สำหรับผู้ดูแล (Caregiver) สามารถใช้งานสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ระบบ 15,918,258.00 0.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 3 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
7 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-10-01 00:00:00 2022-09-01 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
8 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
9 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภาย ในปี 2562 จำนวน 1,877 คน (ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program)) จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคน เพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุด คือ โรคซิฟิลิส ในปี 2560 มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5 กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3 กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue) ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์?? 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
10 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย - - 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
11 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
12 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
13 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
14 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย - - 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
15 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์มาอย่างต่อเนื่อง โดยแผนยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560 – 2573 โดยมุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ ดังนี้ 1) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ 3) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ โดยผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง กล่าวคือมีกิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง แต่ก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มประชากรดังกล่าวสูงอยู่ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ทำการคาดประมาณว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่ในปี 2562จำนวน 77,558 คน เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 1,190 คน ในจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี จำนวน 628 คน (คิดเป็นร้อยละ 52.8) และมีผู้เสียชีวิตภายในปี 2562 จำนวน 1,877 คน(ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NAP Program))จากสถานการณ์และสภาพปัญหาของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร พบว่าสูงที่สุดของประเทศและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นโดยพบว่าปี 2560 อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 90.02 ต่อประชากรแสนคนเพิ่มเป็น 92.08 ต่อประชากรแสนคนในปี 2561 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุดคือโรคซิฟิลิส ในปี 2560มีอัตราการติดเชื้อ 17.98 ต่อประชากรแสนคนในปี 2560 และเพิ่มเป็น 23.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2561 จากผลการเฝ้าระวังความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพื้นที่กรุงเทพมหานครปี 2561 ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พบว่ากลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM-Hot Spot) ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 13.5กลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM – สถานศึกษา) ร้อยละ 7 กลุ่มชายขายบริการ (MSW) ร้อยละ 4.7 และกลุ่มสาวประเภทสอง (TG) ร้อยละ 17.3กลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ (FSW - Venue)ติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.2 กลุ่มชายที่มาตรวจรักษากามโรค (MSTD) ร้อยละ 6 และกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (PWID) ร้อยละ 16.6 ในขณะที่การติดเชิ้อเอชไอว กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (ANC) ตัวแทนของกลุ่มประชากรทั่วไปมีความชุกการติดเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 0.8 การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. บริการสุขภาพได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ขาดโอกาสและไม่เข้าถึงบริการสุขภาพได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรในพื้นที่ร่วมกันดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
16 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
17 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 บูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานคร วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับโลกและระดับประเทศ องค์การอนามัยโลกจัดประเทศไทยอยู่ 1 ใน 14 ประเทศของโลก ที่มีปัญหาวัณโรคทั้งสามประการรวมกัน ได้แก่วัณโรคสูง วัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและวัณโรคดื้อยาหลายขนานและเรียกกลุ่มประเทศทั้ง 14 ประเทศนี้เป็น“Central Diamonds”แม้ว่าประเทศไทยจะนำกลยุทธ์ยุติวัณโรค (Ending TB) มาใช้ในการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแต่ยังคงเป็นปัญหาอยู่ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร รับผิดชอบในการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีการดำเนินงานควบคุมวัณโรค โดยดำเนินการตามแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (National Tuberculosis Program: NTP)แต่ผลการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในภาพรวมที่ผ่านมายังไม่บรรลุเป้าหมาย โดยอัตราผลสำเร็จของการรักษาของทุกสถานพยาบาลในกรุงเทพมหานคร ในปี 2560 ร้อยละ78.10ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้คือผลสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท มากกว่าร้อยละ 85 ซึ่งการรักษาวัณโรคให้หายถือว่าเป็นการควบคุมวัณโรคที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด การแก้ปัญหาวัณโรค เป็นกระบวนการที่จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน (Public -Public,Public-Private Mixed) โดยมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การสนับสนุนการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และการพัฒนาระบบข้อมูลโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ การพัฒนาระบบการรายงานรวมถึงระบบการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งต้องมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนแบบยั่งยืน กองควบคุมโรคเอดส์ วันโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานครขึ้น 1.ผู้ปฏิบัติงานด้านวัณโรคมีทักษะ ประสบการณ์ แนวคิดและวิธีการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จของการดำเนินงานควบคุมวัณโรค 2. เครือข่ายดำเนินงานด้านวัณโรคภาครัฐเอกชนและองค์กรเอกชนมีศักยภาพในการ ดำเนินงานควบคุมวัณโรค 3. มีระบบการรายงานข้อมูลวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ 750,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-10-01 00:00:00 2022-07-01 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
18 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่สำคัญที่เป็นปัญหาสาธารณสุข และเป็นสาเหตุสำคัญของการป่วยและการตายในหลายๆประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ในแต่ละปีมีผู้ป่วยใหม่ (Incidence) ประมาณ 9.6 ล้านคน ในจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดและร้อยละ 85 ของผู้ป่วยวัณโรคทั่วโลก จะอยู่บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศที่ติดอันดับ1 ใน 14 ประเทศ ที่เป็น High Burden Country list ที่มีทั้งจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานจำนวนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากผลกระทบของปัญหาเอดส์ในประเทศไทยและการเคลื่อนย้ายของแรงงานผลัดถิ่น แรงงานต่างด้าว ทำให้วัณโรคแพร่กระจายและไม่สามารถติดตามการรักษาให้หายขาดได้ จึงมีผลกระทบในเรื่องของอัตราป่วย อัตราการรักษาครบ อัตราดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) มีแนวโน้มที่สูงขึ้น กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานหลักในการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้จัดโครงการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในพื้นที่กรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเร่งรัดดำเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายการควบคุมป้องกันวัณโรคทั้งสถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ดำเนินงานวัณโรคตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ สอดคล้องกับนโยบายกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่องและบรรลุตามเป้าหมาย 1. สำนักอนามัย ได้รับความร่วมมือดำเนินงานด้านวัณโรค จากภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. ประชาชนได้รับการดูแลรักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ 449,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
19 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 พัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1,122,150.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
20 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย 502,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
21 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 เยาวชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ 478,080.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
22 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 พัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด 299,440.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
23 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 ลดละเลิกการบริโภคยาสูบสำหรับบุคลากรของกรุงเทพมหานคร 334,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
24 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 2,366,700.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
25 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 ก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
26 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
27 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
28 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสนับสนุนและติดตามการดำเนินงานชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สยส.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
29 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา (สยส.) 988,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
30 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดสารเสพติดในชุมชน (สยส.) 896,300.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
31 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ (สยส.) 1,082,075.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
32 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย (สยส.) 502,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
33 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการเยาวชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ (สยส.) 478,080.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
34 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการรณรงค์ ลด เลิก การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเทศกาลสำคัญ (สยส.) 843,700.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
35 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด (สยส.) 479,440.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
36 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการลดละเลิกการบริโภคยาสูบสำหรับบุคลากรของกรุงเทพมหานคร (สยส.) 340,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
37 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในชุมชน (สยส.) 153,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
38 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (สสว.) 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
39 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) 124,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
40 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการติดตามข้อมูลการให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Bangkok Smart Monitoring (กอพ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
41 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้นภายใต้การสังเกตโดยตรง (DOT)(กอพ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
42 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมศูนย์กลางการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค(TB Referral Center) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
43 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (กคร.) 14,750,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
44 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
45 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการพัฒนาสมรรถนะพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ของกรุงเทพมหานคร (สสว.) 163,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
46 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการจัดทำวารสารสุขภาพสำนักอนามัย (สพธ.) 1,750,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
47 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการบริหารแผนงาน โครงการและการติดตามประเมินผลแผนสำนักอนามัย (สพธ.) 118,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
48 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 3 (สพธ.) 3,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
49 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2564) 178,450.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
50 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารสุขภาวะเขตเมือง รุ่นที่ 3 (สพธ.) 823,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
51 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารรสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม (ศบส.58) 337,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 5.00
52 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 โครงการปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา 8,240,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
53 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพคนกรุงเทพฯ (สพธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
54 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2562 กิจกรรมสาระสุขภาพทางสื่อสาธารณะ (สพธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
55 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานการใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามโปรแกรมผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เนท (สยส.) - จากรายงานผลการบำบัดรักษายาเสพติดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 15 ปี ที่ใช้ยาเสพติดครั้งแรกมีจำนวน 1,539 คน คิดเป็นร้อยละ 13.25 มีข้อมูลจากสถานพินิจกรุงเทพมหานครในงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนในสถานพินิจทีมีอายุ 13 - 18 ปี จำนวน 171 คน พบมีการใช้ยาในทางที่ผิด ได้แก่ โปรโคดิล ทรามาดอล จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของเด็กและเยาวชน ในการใช้ยาในทางที่ผิด และจะนำไปสู่การใช้ยาเสพติดอื่นต่อไป นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 12 - 15 ปีจัดอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น (เทคนิคการทำงานของเด็กและเยาวชน : มาดี ลิ่มสกุล,2560) ของวัยรุ่นในช่วงอายุนี้จะมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เป็นความเป็นตัวของตัวเอง อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับให้คนอื่นเห็นคุณค่า บางครั้งเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ให้ความสำคัญกับเพื่อนร่วมวัย ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการใช้ยาในทางที่ผิดและยาเสพติดได้ง่ายขึ้น กรุงเทพมหานคร ตระหนักความสำคัญของปัญหาดังกล่าว สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด จึงร่วมกับกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล พัฒนาแบบประเมินดังกล่าว โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการแปรผลและประมวลผล มีฐานข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อให้นักเรียนได้ประเมินตนเองจากแบบประเมินภูมิคุ้มกันฯ ซึ่งคัดกรองนักเรียนได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภูมิคุ้มกันปกติ กลุ่มภูมิคุ้มกันต่ำ และกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถจัดกิจกรรม ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้รวดเร็วถูกต้อง และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที - 1.เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมานครมีการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 109 โรงเรียน มีการคัดกรองนักเรียนโดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ - 1.เพื่อค้นหาคัดกรองนักเนรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภูมิคุ้มกันต่ำและเสี่ยงต่อการมใช้ยาและสารเสพติดและจัดบริการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม 2.เพื่อัฒนาระบบคัดครองให้มีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
56 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2562 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2562 (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) การประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์หรือกระบวนการในการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคม ให้เกิดขึ้นในองค์กร นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดประกวดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัยผู้สนใจส่งผลงานเข้าประกวด - จัดประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดประชุมคณะกรรมการ 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 450 คน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมฯ ปี พ.ศ.2562 จำนวน 1,000 เล่ม 900,000.00 898,973.25 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
57 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร (กสอ.) (ข้อบัญญัติฯ) กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสําคัญในการควบคุมกํากับดูแลการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายว่าด้วยอาหาร ในสถานประกอบการอาหารในกรุงเทพมหานคร ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตลาด และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอาหารอยู่บ่อยๆ มีทั้งผู้ประกอบการรายใหม่ เลิกกิจการ และเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอื่นๆ โดยเป็นการปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง ๕๐ สํานักงานเขต ประกอบด้วยภารกิจที่ต้องดำเนินการทั้งในส่วนของการตรวจประเมินสุขลักษณะสถานประกอบการ การตรวจเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ การส่งเสริมความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้สัมผัสอาหารตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข การตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปัจจุบันการดำเนินงานดังกล่าวนั้น ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกันอย่างเป็นระบบ ทำให้การปฎิบัติงานมีความยากลำบาก และทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ประกอบกับระบบสารสนเทศอาหารปลอดภัยเดิมได้ใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ มีการเสื่อมสภาพ และเทคโนโลยีไม่รองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้นและความต้องการใช้งานของเจ้าหน้าที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหารขึ้นตามสภาพสังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบเดียว ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน และเป็นการจัดการระบบฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านการสุขาภิบาลอาหารให้มีศักยภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในอนาคตได้ดีขึ้น กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการบริหารจัดการ ควบคุม จัดทำรายงาน วิเคราะห์วางแผนการปฎิบัติงาน และแผนงบประมาณในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร -//- 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานครได้ 2. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการดำเนินงานตามภารกิจด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกองสุขาภิบาลอาหาร และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต -//- พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่มีข้อมูล ครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ-//- 5,750,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
58 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน (สยส.) -- การทำงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงสถานะและสภาพปัญหายาเสพติดในชุมชนในทิศทางที่ดี โดยความสามารถของชุมชนในการดำเนินงานในพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่อง บุคลากรจำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนทักษะที่จำเป็น นำไปสู่การบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ของตนเองได้ สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเห็นความสำคัญ ของการพัฒนาบุคลากร จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน เพื่อพัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีองค์ความรู้และทักษะการเป็นพี่เลี้ยงในชุมชน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้าง ความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองได้อย่างยั่งยืน 492,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-11-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
59 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมาย และมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. ๒๕56 – ๒๕7๕) ตลอดจนการบริหารจัดการและการพัฒนาในทิศทางที่ถูกต้อง และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น โดยมีแผน และกิจกรรมเพื่อการขับเคลื่อนโครงการฯ ดังนี้ ๑. แผนพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ ๑ สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต เป็นกิจกรรมสนับสนุนบทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง 50 สำนักงานเขต ในฐานะหน่วยปฏิบัติการในระดับพื้นที่เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานครและสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัย ในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ โดยตัดโอนเงินให้สำนักงานเขต ๕๐ เขต งานควบคุมอนามัย เป็นเงิน ๘,๒๕๓,๗๕๐ บาท (แปดล้านสองแสนห้าหมื่นสามพัน เจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ดังนี้ กิจกรรมย่อย ที่ 1.1 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต 50 เขต โดยกำหนดขอบเขตดำเนินการ ดังนี้ ๑. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล โดยให้สำนักงานเขตดำเนินการบริหารจัดการเพื่อเบิกจ่ายค่าตอบแทนฯ ได้ตลอดปีงบประมาณ ๒. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน ๓. ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร ๔. ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๕. ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพการควบคุมป้องกันโรคในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๖. ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัดมลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ 1.๒ การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยกำหนดให้มีการจัดประชุมชี้แจง การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน รวมถึงการจัดสรรงบประมาณ ให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ. 2560 กิจกรรมที่ ๒ การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ กิจกรรมย่อย ที่ ๒.1 ส่งเสริมการป้องกันปัญหามลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรม เป็นกิจกรรมส่งเสริมการป้องกันมลพิษปัญหาฝุ่นละลองขนาดเล็ก (PM2.5) จากแหล่งกำเนิดหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม การสร้างความตระหนักและการมีส่วนรวมของผู้ประกอบการให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณภาพอากาศที่ดีของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ ๒.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสถานประกอบการให้ปลอดภัย และมีการพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการ เพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญเรื่องเสียงดังแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง และเป็นการสนับสนุนและส่งเสริม ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครปลอดภัย ปลอดมลภาวะทางเสียง กิจกรรมย่อย ที่ ๒.3 กิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้ประกอบกิจการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ เกี่ยวกับการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข เพื่อควบคุมกิจการดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทั้งในด้านสุขลักษณะ การป้องกันอันตรายหรือเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน ตลอดจนมีการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน คุณสมบัติของพนักงาน ให้เป็นไปตาม ที่กฎหมายกำหนด กิจกรรมย่อย ที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน กิจกรรมที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในอาคารสาธารณะ กิจกรรมย่อย ที่ ๓.1 การส่งเสริมพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในศาสนสถาน (วัดและศาลเจ้า) เป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้วัดและศาลเจ้ามีการจัดการสุขลักษณะของสถานที่ ให้มีความสะอาด ลดการระบาดของโรคติดต่อต่างๆ และลดการปล่อยมลพิษสิ่งแวดล้อมออกสู่ภายนอก โดยเฉพาะฝุ่นละอองและเขม่าควันจากกิจกรรมฌาปนกิจศพและการเผากระดาษเงินกระดาษทองตามประเพณี ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลศาสนสถาน กิจกรรมย่อย ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ใน 12 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร โรงพยาบาล ศาสนสถาน สวนสาธารณะ สถานที่ราชการสถานศึกษา สถานีขนส่ง สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า แหล่งท่องเที่ยว และห้องน้ำริมทาง ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร และจัดกิจกรรมการประกวดสุดยอดห้องน้ำปีของกรุงเทพมหานคร เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและความตระหนักถึงความสำคัญของห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 4 การตรวจวัดการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมจ้างเหมา ตรวจวัด หรือเฝ้าระวังการปนเปื้อนของมลพิษจากกิจกรรมหรือ การประกอบกิจการใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ที่เกินขีดความสามารถของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องของสำนักงานเขต จำเป็นต้องได้รับความรู้ ขั้นตอน วิธีการในการปฏิบัติงานตามกฎหมายและอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรมเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทั้ง ๕๐ สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยจัดทำสื่อเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต และจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขตเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 9.1 อาคารสถานที่ สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย มีสภาวะทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย เหมาะสมต่อความเป็นอยู่การพักอาศัย การทำงาน การประกอบอาชีพ ส่งผลให้ประชาชนมีการดำรงชีพอย่างเป็นปกติสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น 9.2 เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีศักยภาพพร้อมในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ และสามารถดำเนินการจัดการปัญหาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ส่งผลให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 9.3 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ก่อเหตุรำคาญ หรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน สิ่งแวดล้อม และชุมชนที่อยู่โดยรอบสถานประกอบการ 9.4 สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องต่อการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
60 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ) - - 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
61 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีสะอาดปลอดภัย เพิ่มมอีก 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
62 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อ 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
63 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 19,715,505.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2022-03-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
64 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 พัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในชุมชน 860,450.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
65 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 ชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติด 494,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
66 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
67 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
68 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการฏิบัติการพยาบาล 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
69 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
70 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 การให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 14,750,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
71 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 ก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
72 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในสถานประกอบการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
73 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
74 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด (สยส.) 2,798,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
75 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
76 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ (กสภ.) 514,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
77 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (กสภ.) 634,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
78 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาบริการสุขภาพจิตชุมชน (กสภ.) 1,149,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
79 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมคลินิกครอบครัวอบอุ่น (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
80 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กสภ.) 130,750.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
81 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งผู้ประกอบอาชีพปลอดโรค ปลอดภัยมีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี 479,300.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
82 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบรูณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กคร.) 425,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
83 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนากระบวนการเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค (กคร.) 246,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
84 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (กคร.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
85 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ (กคร.) 161,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
86 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฟื้นฟูศักยภาพผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (กคร.) 262,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
87 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
88 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
89 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 กิจกรรมควบคุมดูแลให้ที่พักพิงสุนัข (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
90 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการทำหมันสุนัขจรจัดปล่อยกลับที่เดิม (สสธ.) 450,480.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
91 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข (กพส.) 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
92 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการพยาบาล (กพส.) 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
93 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนักอนามัย 2564 (กสภ.) 1,800,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
94 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
95 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ (Preventive Long-Term Care) (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
96 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
97 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สุงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
98 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารการพยาบาล (ด้านบริหารอนามัย) รุ่นที่ 21 (กพส.) 4,145,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
99 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward (กพส.) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
100 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการฝึกอบรมปฐมนิเทศบุคลากรสายงานพยาบาลเพื่อสร้างองคืความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติในการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กพส.) 217,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
101 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการคนกรุงเทพฯ รักฟัน (เพื่อเข้าสู่วัยสุงอายุฟันดี) (กทส.) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
102 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอาสาสมัครสาธารรสุขกรุงเทพมหานครร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ (กสภ.) 2,310,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
103 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2562 โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร (กสภ.) 1,815,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
104 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์-สาธารณสุขทุกแห่ง ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึง สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติเพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวกรวดเร็วทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย แผนบริการราชการกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ โดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขในการใช้งานและให้บริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขทุกแห่ง ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขสำหรับใช้งานและให้บริการของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง กอง สำนักงานและผู้บริหารของสำนักอนามัย ผ่านระบบเครือข่าย และมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขเข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศ รวมทั้งความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติการ การบริหารจัดการ และการให้บริการแก้ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขและส่วนราชการของสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 4,120,800.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 98.00
105 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขของสำนักอนามัยเข้าสู่ Cloud (สพธ.) สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อตอบสนองต่อภารกิจ จำนวน 10 ระบบงาน และปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 - 2555 ได้พัฒนาระบบฯ เพิ่มขึ้นอีก จำนวน 13 ระบบงาน รวมเป็น 23 ระบบงาน ซึ่งได้ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ และระบบงานสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ และคลินิกสัตวแพทย์ รวมทั้ง ห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง สำนักอนามัย ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ถูกติดตั้งไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ของแต่ละศูนย์บริการสาธารณสุข และห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง โดยเชื่อมโยงและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน ผ่านโครงข่าย Virtual Private Network (VPN) แบบเช่าใช้บริการจากผู้ให้บริการเอกชน จำนวน ๑๕๑ วงจร ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) หรือเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มีความก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและใช้งานบริการต่าง ๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้เทคโนโลยี Cloud Computing หรือคลาวด์ (Cloud) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหา เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียร ของระบบ สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชน และยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักอนามัยอีกทางหนึ่งด้วย 1. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียรของระบบ 2. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการสาธารณสุขที่มีอยู่ในระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เข้าสู่ Cloud 3. เพื่อจัดหา Cloud สำหรับรองรับการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS)ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุขหน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง ถูกนำเข้าสู่ Cloud สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการ และให้บริการแก่ประชาชน 6,800,000.00 5,610,000.00 สำนักอนามัย 2018-07-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
106 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
6.2. 2563 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2563 (สพธ.) การประกวดและการจัดงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคิดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข แลกเปลี่ยนความคิดเพื่อต่อยอดงานนวัตกรรมฯ ที่ผ่านการตัดสิน และแสดงผลงานนวัตกรรมระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆ ได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัย จำนวน 80 คน - จัดประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 500 คน/วัน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยมีการประกวดและตัดสินผลงาน ตลอดจนการจัดพิมพ์เอกสารฯ แจกผู้ร่วมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 1,000 เล่ม 1,000,000.00 121,098.25 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
107 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาฐานข้อมูล (สพธ.) ตามแนวทางการประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจัดทำฐานข้อมูล โดยสำนักอนามัยมีภารกิจในด้าน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน ดังนี้ 1. ภารกิจด้านสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค 2. ภารกิจด้านรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ภารกิจด้านสาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ 4. ภารกิจด้านป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด 5. ภารกิจด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 47 ตัวชี้วัด เพื่อให้หน่วยงานได้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งมาจากข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย โดยผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อเป็นประดยชน์ต่อการบริหารงานองค์กรและสอดคล้องตามภารกิจของหน่วยงาน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
108 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข เข้าสู่ Cloud (สชส.) สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย เป็นห้องปฏิบัติการกลางของกรุงเทพมหานครที่ให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ผู้ใช้บริการประกอบด้วยศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ๗๖ แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ส่วนราชการในระดับกองและสำนักงานของสำนักอนามัย สำนักงานเขต และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานชันสูตรสาธารณสุขได้นำระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการมาใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน เพื่อให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนงานสนับสนุนน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ในการตรวจวิเคราะห์ให้กับผู้ใช้บริการ โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) จำนวน ๑๐ ระบบงาน และเชื่อมโยงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข กับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถสั่งตรวจวิเคราะห์ และรับทราบผลตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศ สามารถตรวจรับสิ่งส่งตรวจ ลงทะเบียนสิ่งส่งตรวจ บันทึกผล และรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว แพทย์สามารถนำผลการตรวจวิเคราะห์ไปใช้ในการวินิจฉัย รักษาโรค ติดตามการรักษา ตลอดจนการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างทันท่วงที รวมถึงมีระบบการรายงานสถิติ เพื่อใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการและมีระบบบริหารจัดการน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ การเบิก-จ่ายน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ทั้งภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข และระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความก้าวหน้ามากขึ้นทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและ ใช้งานบริการต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ เทคโนโลยี Clouding Computing หรือ Cloud (คลาวด์) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถสนับสนุนระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย สามารถแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีผู้ใช้เข้ามาใช้ระบบหรือมีปริมาณ Transaction เกิดขึ้นในระบบจำนวนมากจนระบบไม่สามารถรองรับได้ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ และส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยที่อาจจะได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ล่าช้า นอกจากนี้การให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการให้กับโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร และสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขต ยังไม่สามารถส่งผ่านข้อมูลการสั่งตรวจและรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศได้ การปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขขึ้นสู่ cloud เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข ทำให้สามารถสั่งตรวจ และรับทราบผลการตรวจวิเคราะห์ได้รวดเร็ว ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ รองรับการเชื่อมโยงการส่งต่อข้อมูลการตรวจวิเคราะห์ของผู้ป่วยระหว่างหน่วยงานบริการทางการแพทย์ และส่งต่อข้อมูลบริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขตในอนาคต รวมถึงเพิ่มความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชนผู้ใช้บริการ ๑. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สำนักอนามัย เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๒. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการของสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๓. เพื่อปรับปรุงและแก้ไขโปรแกรมเชื่อมต่อระบบ เพื่อให้ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สามารถเชื่อมต่อระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) และระบบสารสนเทศที่ใช้ในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข โดยสามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย ถูกนำเข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ และเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง รวมถึงเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศที่ใช้ภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขซึ่งมีทั้งระบบที่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์และไม่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ โดยให้สามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ 496,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
109 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี (สสว.) --สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมีและวัตถุอันตรายของสถานประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์การจัดการสารเคมี และเชื่อมดยงข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการจัดการวางแผนและดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานครให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ --1. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานคร --1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการที่มีข้อมูลครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริการจัดการสารเคมี 5,777,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 24.00
110 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีภารกิจในการบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง รวมถึงส่วนราชการในระดับกองและสำนักงาน จำนวน 13 แห่ง ที่ทำหน้าที่ดูแลและสนับสนุนการดำเนินการด้านต่างๆ โดยมีสถานที่ติดตั้งกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจและให้บริการแก่ประชาชน ใน 4 มิติ ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู รวมทั้งการบริหารจัดการในด้านการบริการสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอกที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกันด้วย สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาตอบสนองต่อภารกิจเพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์ งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึงสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติ เพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาสำนักอนามัย และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ ในปัจจุบันมีการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ คลินิกสัตวแพทย์ ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ รวมถึงกอง สำนักงาน และผู้บริหารของสำนักอนามัย นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว (ที่จะเปิดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ผ่านระบบเครือข่ายและมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายการเข้าถึงและการเรียกใช้ระบบสารสนเทศ รวมถึงความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการให้บริการแก่ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,200,000.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
111 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดประเวศ (สยส.) -- สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย มีหน่วยงานในสังกัดที่ให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2 แห่งคือ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบบริหารจัดการด้านข้อมูล และการให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดเกิดความล่าช้า ประกอบกับการจัดเก็บข้อมูลที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ โดยนำโปรแกรม ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดบริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร โดยผ่านเครือข่ายของสำนักอนามัยและสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณชนิดไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต -- 1. เพื่อติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ 2. เพื่อติดตั้งโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ -- ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดครอบคลุมจุดให้บริการ ของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ 365,900.00 365,900.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
112 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล (สพธ.) ตามแนวทางการประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจัดทำฐานข้อมูล โดยสำนักอนามัยมีภารกิจในด้าน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน ดังนี้ 1. ภารกิจด้านสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค 2. ภารกิจด้านรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ภารกิจด้านสาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ 4. ภารกิจด้านป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด 5. ภารกิจด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 47 ตัวชี้วัด เพื่อให้หน่วยงานได้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งมาจากข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย โดยผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อเป็นประดยชน์ต่อการบริหารงานองค์กรและสอดคล้องตามภารกิจของหน่วยงาน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
113 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 1 สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต)(สสว.) การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น 1. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขลักษณะรวมทั้งด้านอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 2. เพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัยในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดีปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเจ้าหน้าที่สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต 8,253,750.00 8,253,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
114 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย(กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ(กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ)(สสว.) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในด้านการจัดการฝุ่นละออง กรุงเทพมหานครมีแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเภทกิจการ คือ ๑.การผลิตภาชนะด้วยโลหะหรือแร่ การถลุงแร่ ๒.การเลื่อย ซอย ไสไม้ การผลิตสิ่งของเครื่องใช้จากไม้หวาย ๓.การผลิต สะสม แบ่งบรรจุธูป ๔.การเผาถ่านหรือสะสมถ่าน ๕.กิจการที่มีการใช้หม้อไอน้ำ (Boiler) 199,700.00 12,500.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
115 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560)(สสว.) พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.๒๕๖๐ ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 39 ก ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้กำหนดให้กรุงเทพมหานครดำเนินการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และการบำบัดรักษาฟื้นฟูสุขภาพของผู้เสพติดผลิตภัณฑ์ยาสูบ รวมทั้งการดำเนินงานตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง และเมื่อปีงบประมาณ 2561 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการสถานที่ราชการกรุงเทพมหานครปลอดควันบุหรี่ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้สถานที่ราชการของกรุงเทพมหานครทุกแห่งมีสิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่และผู้สูบบุหรี่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่ และปลัดกรุงเทพมหานครได้สั่งการให้ทุกหน่วยงานถือเป็นนโยบายของหน่วยงานที่จะมุ่งมั่นดำเนินการให้สถานที่ราชการกรุงเทพมหานครเป็นเขตปลอดบุหรี่อย่างยั่งยืนต่อไป ในปีงบประมาณ 2562 และปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้รับอนุมัติให้ดำเนินโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ซึ่งได้ดำเนินการตามกิจกรรมสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย ประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่สำนักเทศกิจ สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักอนามัย และสำนักงานเขต 50 เขต ในการนี้ได้มีการจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ และสนับสนุนสื่อรณรงค์การจัดสถานที่สาธารณะให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายประเภทต่างๆ ด้วย 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ 2. เพื่อการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่เจ้าของหรือผู้ดำเนินการสถานที่สถานที่สาธารณะที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ให้ดำเนินการได้อย่างถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ ๘๐ ของสถานที่สาธารณะได้รับการเผยแพร่สื่อรณรงค์การจัดเขตปลอดบุหรี่และเขตสูบบุหรี่ 315,535.00 259,935.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
116 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.3 การพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) (สสว.) กรุงเทพมหานครมีข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดประเภทกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ถูกควบคุมภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งในการประกอบกิจการแต่ละประเภทต้องจัดการสุขลักษณะสถานประกอบการให้ถูกต้อง เหมาะสม ป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้พักอาศัยใกล้เคียง ที่แตกต่างกันไปตามชนิดและประเภทกิจการ ซึ่งกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ และเป็นกิจการที่กำหนดขึ้นใหม่ มีการบริการโดยจัดส่งพนักงานไปทำงานที่บ้านของผู้รับบริการซึ่งมีความเสี่ยงทั้งในด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ เช่น ด้านอาคารสถานที่ ด้านสุขลักษณะ ด้านสภาพจิตใจ ตลอดจนความไว้วางใจของผู้รับบริการต่อพนักงาน ผู้ประกอบกิจการจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบการ ๑. เพื่อควบคุมกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ๒. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๓. เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบกิจการด้านการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ๑. จัดอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการสุขาภิบาลแก่ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ ในสถานประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ จำนวน ๒๐๐ คน เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต จำนวน ๕๐ คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน วิทยากร จำนวน ๒๐ คน รวมทั้งสิ้น ๒๗๐ คน ณ สถานที่เอกชนในกรุงเทพมหานคร แบบไป-กลับ ๑ วัน และมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ผู้ประกอบกิจการที่เข้ารับการอบรม ๒. จัดทำคู่มือเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการ เพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ จำนวน ๕๐๐ เล่ม 333,300.00 90,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
117 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะเสริมสร้างความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการให้บริการสุขภาพเชิงรุกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อจัดบริการสุขภาพให้เข้าถึงผู้ที่ขาดโอกาส ไม่เข้าถึงบริการสุขภาพและมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี และแก้ไขปัญหาเอดส์ แบบบูรณาการทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และค้นหาผู้ติดเชื้อรายใหม่ให้เข้าสู่บริการสุขภาพ 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงานเขต, ศูนย์บริการสาธารณสุขและองค์กรภาคประชาสังคม ร่วมกันจัดบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์) กิจกรรมที่ 1 ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน 68 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 80คน กิจกรรมที่ 2 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุกในกลุ่มเป้าหมายพนักงานบริการชาย-หญิงและประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิง และจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง กิจกรรมที่ 3 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมายชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิงและจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง 157,600.00 9,260.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
118 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดกรุงเทพมหานคร (สยส.) สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ขับเคลื่อนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครผ่านระบบสาสนเทศ ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า นักเรียนมีภูมิคุ้มกันปกติ จำนวน 4,534 คน ภูมิคุ้มกันต่ำ จำนวน 5,172 คน และมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 45.70 ,52.12 , 2.18 ตามลำดับ เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนปกติ และป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนกลุ่มที่ภูมิคุ้มกันต่ำ และเสี่ยง ให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้โดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดจึงจัดกิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดแก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย จึงได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 109 โรงเรียน 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
119 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สยส.) ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมและลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ ลดความเสี่ยงของการบริโภค ทั้งในมิติปริมาณ รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภค จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ พ.ศ. 2561 – 2563. โดยกำหนดให้ต้องพัฒนากลไกระบบการทำงานในระดับต่างๆ รวมถึงพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และจากแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติ ฉบับที่สอง พ.ศ.2559-2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การควบคุมยาสูบของประเทศมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น กำหนดให้พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ให้มีความรู้ สมรรถนะ และทักษะในการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 มีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมการบริโภค การผลิต และการบังคับใช้กฎหมาย โดยมีพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายทั้ง 2 ฉบับนี้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดียวกัน ดังนั้นสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความสามารถในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามกฎหมาย โดยการใช้หลักสูตรเพื่อพัฒนาศักยภาพ หน่วยปฏิบัติการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ (Alcohol and Tobacco Control Operation Unit - ATCU) ของศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหลักสูตร 2 ระดับ โดยในการจัดฝึกอบรมครั้งนี้ใช้หลักสูตรการฝึกอบรมในระดับเบื้องต้น (Basic) ส่วนในระดับสูง (Advance) จะจัดฝึกอบรมในปีต่อไป เพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ จัดฝึกอบรมและฝึกภาคปฏิบัติเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 112 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน 78 คน ดังนี้ - ประเภทวิชาการ ตำแหน่ง นักวิชาการสุขาภิบาล เจ้าพนักงานเทศกิจ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ - ประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าหน้าที่เทศกิจ ระดับปฏิบัติงาน – อาวุโส 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 15 คน 2) วิทยากร จำนวน 19 คน ๔. ลักษณะของโครงการ 604,560.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 65.00
120 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 กิจกรรมการปฏิบัติงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กคร.) ตามที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) กระจายไปยังหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร ประกอบกับเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประเมินสถานการณ์ดังกล่าวแล้วพบว่า เหตุการณ์การระบาดในครั้งนี้เป็นการระบาดที่แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว จึงประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าว เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public health emergency of international concern (PHEIC)) และต่อมากระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ลำดับที่ 14 1 เพื่อเตรียมพร้อมด้านทรัพยากร ระบบการปฏิบัติ ทั้งหน่วยปฏิบัติการหลักและหน่วยสนับสนุน ให้สามารถดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อกำหนดกรอบการปฏิบัติงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาภัย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบและบูรณาการ 3 เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบทางสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม ของประชาชนที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3,162,250.00 747,700.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
121 1.0.4.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) (สสว.) สถิติเรื่องร้องเรียนในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปีงบประมาณ 25๖2 มีการร้องเรียน 12,791 ครั้ง โดยจำแนกเรื่องร้องเรียนมากที่สุดอันดับแรก คือ เรื่องเสียง 5,157 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36 รองลงมา คือ เรื่องกลิ่น 2,923 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 20 เมื่อพิจารณาแหล่งก่อเหตุรำคาญ พบว่าอาคารอยู่อาศัยเป็นแหล่งก่อเหตุลำดับแรก 4,941 ครั้ง รองลงมาเป็นสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ๒,862 ครั้ง เป็นประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทค คาราโอเกะ หรือตู้เพลง หรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ถูกร้องเรียนถึง 342 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเรื่องเสียงรบกวน โดยผู้รับผิดชอบในการจัดการปัญหาเหตุรำคาญคือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตพื้นที่ สาเหตุของการร้องเรียนส่วนใหญ่เกิดจากผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการประกอบการให้มีมาตรฐานความปลอดภัยและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีตามหลักเกณฑ์ที่กรุงเทพมหานครกำหนด ดังนั้น สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในฐานะหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ จึงจัดทำโครงการฯ เพื่อให้เกิดการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการและเพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง 1. เพื่อควบคุมระดับเสียงจากการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทก คาราโอเกะหรือตู้เพลงหรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ให้อยู่ในมาตรฐานที่กำหนด 2. เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครในการควบคุมระดับเสียงจากการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ รับทราบแนวทางปรับปรุงด้านสุขลักษณะให้ถูกต้อง เพื่อลดมลภาวะทางเสียง 171,400.00 13,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
122 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว (สพธ.) จากการเข้าสู่สังคมสูงวัย ประกอบกับสถิติคนพิการ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ยังเข้าไม่ถึงบริการและฟื้นฟูสภาพมีจำนวนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องได้รับสวัสดิการสังคมตามสิทธิพื้นฐาน โดยมีการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวสามารถดำรงชีวิตได้อย่างเป็นปกติและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาและป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนหรือรุนแรง จึงมีการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย สอดคล้องกับความต้องการและจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายที่มีความแตกต่างกัน 1. เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวให้แก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว 2. เพื่อให้การสงเคราะห์คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ประสบปัญหา และมีความต้องการจำเป็น 3. เพื่อประชุมชี้แจงผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุในการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกวิธี 1. จัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ สำหรับคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 660 คน 2. จัดประชุมชี้แจงผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในการฟื้นฟูสุขภาพในการใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว นักพัฒนาสังคม สำนักงานเขต นักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 300 คน 1,826,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
123 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการจัดเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการร์ครอบครัวในปัจจุบัน (สพธ.) สถานการณ์ด้านประชากรของประเทศไทย เข้าสู่การเป็น “สังคมสูงวัย (Aging Society) ทำให้ช่วงวัยทำงาน ต้องทำหน้าที่ในการดูแลกลุ่มประชากรวัยพึ่งพิง ทั้ง เด็ก เยาวชน และผู้สูงอายุที่ไม่สามารถดูแลตนเอง เมื่อวัยทำงานต้องแบกรับภาระการดูแลผู้สูงอายุในสัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น ย่อมส่งผลต่อคุณภาพที่ลดน้อยลงในการเลี้ยงดูเด็กและเยาวชน ทำให้ครอบครัวจำนวนหนึ่งมีความเปราะบางมากขึ้น เช่น ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุเลี้ยงดูเด็กตามลำพัง ครอบครัวที่มีเฉพาะเด็กอยู่ตามลำพัง ครอบครัวที่ต้องดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วยหรือพิการ สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ต้องขัง หรือครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว เป็นต้น ทำให้เกิดช่องว่างความเข้าใจในปัญหาเด็กและเยาวชน รวมถึงพ่อแม่ขาดทักษะและความรู้ในการเลี้ยงลูก มีส่วนผลักดันให้เด็กเข้าสู่ความเสี่ยงจากภัยทางสังคม ทั้งในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม การถูกทอดทิ้ง ฯลฯ สมาชิกในครอบครัวขาดภูมิคุ้มกันต่อปัญหาสังคมอื่น ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการงานระหว่างส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยที่มีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน เฝ้าระวัง รักษา และบำบัดฟื้นฟู รวมถึงการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้แทนองค์กรภาคเอกชนและภาคประชาชน ในการร่วมกันกำหนดรูปแบบการดำเนินงานให้สอดคล้องในทุกมิติด้านครอบครัวและเป็นไปในทิศทางเพื่อให้ผู้เข้าร่วมเสวนาฯ ได้รับทราบนโยบายการดำเนินงาน กรอบแนวทางการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพครอบครัวของสำนักอนามัยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 1. แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และแนวทางการดำเนินงานที่ช่วยให้ครอบครัวที่มีคุณภาพในสถานการณ์ปัจจุบัน 2. เพื่อกำหนดมาตรการและแนวทางการปฏิบัติงานกับครอบครัวตามประเด็นปัญหาทางสังคมในมิติสุขภาพครอบครัวของสำนักอนามัย ผู้เข้าร่วมงานเสวนาฯ ประกอบด้วย บุคลากรส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัยที่จัดบริการมิติสุขภาพครอบครัวองค์กรภาคเอกชนที่ดำเนินงานด้านครอบครัวในกรุงเทพมหานคร องค์กรชุมชนหรือผู้แทนภาคประชาชนกลุ่มเขตพื้นที่ 6 กลุ่มเขตๆ ละ 5 คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสำนักอนามัย (ระดับบริหารต้น - อำนวยการสูง) และเจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวนรวมทั้งสิ้น 120 คน 194,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 33.00
124 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (สพธ.) สำนักอนามัย ได้ดำเนินการพัฒนาระบบบริการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปี 2559 ด้วยการจัดตั้งศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข (Primary Front Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง โดยภารกิจของกลไกดำเนินงานดังกล่าว ได้แก่ การคัดกรอง การป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ถูกกระทำหรือผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในรูปแบบทีมสหวิชาชีพ โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการให้ความช่วยเหลือ ได้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวให้ได้รับการบำบัดฟื้นฟูสภาพ รวมถึงการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในชุมชน เพื่อเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรงในครอบครัว นอกเหนือจากการดำเนินงานผ่านศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข (Primary Front Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุขแล้ว ยังมีภาคีเครือข่ายการดำเนินงานในพื้นที่ของศูนย์บริการสาธารณสุขแต่ละแห่ง อาทิเช่น สำนักงานเขต โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีตำรวจ องค์กรภาคเอกชน และภาคประชาชนในพื้นที่ ในการป้องกันและช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบางต่างๆ ไม่ให้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงด้วย 1. เพื่อให้เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบางที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือและ/หรือส่งต่อไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อป้องกันผู้ที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวไม่ให้ถูกกระทำซ้ำ ให้ความช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง ที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือและ/หรือส่งต่อไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยนักสังคมสงเคราะห์และทีมสหวิชาชีพของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
125 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม (ศบส.58) ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักเสน สังกัดสำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่แขวงบางปะกอก เขตราษฏร์บูรณะและเขตอื่นที่ใกล้เคียง ปัจจุบันศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักเสน อยู่ระหว่างก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่ ตามหนังสือที่ กท 0713.58/583 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เป็นโครงการต่อเนื่อง 3 ปี อาคารที่ทำการเป็นอาคาร 5 ชั้น มีกำหนดแล้วเสร็จ ในวันที่ 9 เมษายน 2564 จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการ โดยผ่านระบบเครือข่ายภายในเป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยอำนวยความสะดวกของศูนย์บริการสาธารณสุขหลายด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น แม้มีจำนวนบุคลากรจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถ ในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม 377,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
126 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 กิจกรรมการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี (สก.สนอ.) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเบิกจ่ายงบประมาณ 1. เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการดำเนินงานของส่วนราชการในสังกัด 2. เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 1. เพื่อให้การเบิกจ่ายเงินเป็นไปอย่างถูกต้อง และรวดเร็วตามเป้าหมายที่กำหนด 2. เพื่อเร่งรัด ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 3. เพื่อให้การใช้จ่้ายเงินกิดประสืิทธิภาพมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
127 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการเพิ่มพูนความรู้ด้านทันตกรรม (กทส.) วิชาชีพทันตกรรมเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การพัฒนาองค์ความรู้จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและไม่อาจจะหลีกเลี่ยงหรือนิ่งเฉยไปได้ การศึกษาต่อเนื่องของทันตแพทย์นั้น เป็นประโยชน์กับทั้งตัวของทันตแพทย์เองที่จะได้พัฒนาศักยภาพ เพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้เท่าทันต่อเทคโนโลยี และงานวิชาการ และยังเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้เข้ารับการรักษาที่จะได้รับบริการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ๑. เพื่อให้ทันตแพทย์เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการและวิทยาการทางด้านทันตกรรม ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ในการให้บริการด้านทันตกรรม กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ถึงระดับเชี่ยวชาญ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 55 คน รวม 110 คน 189,800.00 125,950.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
128 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการสัมมนาและดูงานการบริการสาธารณสุข (สก.สนอ.) สำนักอนามัยเป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ความผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุน การจัดบริการด้านรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพอนาม้ย และป้องกันโรค รวมทั้งการดำเนินการตามกฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยผู้รับผิดชอบนอกจากผู้ให้บริการประชาชนโดยตรงแล้วยังประกอบด้วยผู้ปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนงานด้านวิชาการและปฏิบัติการ ร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจดังกล่าวให้ประชาชนหรือผู้รับบริการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งด้านสุขภาพอนามัย การศึกษา จิตใจ คุณธรรม ความพร้อมในการดำรงชีวิต รวมถึงการพัฒนาในทุกๆช่วงของชีวิต ซึ่งเมื่อประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีก็สามารถลดภาระงบประมาณในการดูแลรักษา และสามารถนำงบประมาณในส่วนนี้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ จีงได้กำหนดให้มีการสัมมนาและดูงาน เรื่อง "การบริการสาธารณสุข" เพื่อให้บคุลากรและข้าราชการมีความรู้ความเข้าใจและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และได้รับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานที่มีผลงานดีเด่นด้านการบริการงานด้านสาธารณสุข สามารถนำความรู้และประสบการณ์มาเป็นแนวคิดประยุกต์หรือบูรณาการในการพัฒนาระบบบริการของสำนักอนามัยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการพัฒนาการให้บริการด้านสาธารณสุข สามารถนำประสบการณืที่ได้รับจากการสัมมนาและดูงานไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการซึ่งเป็นบุคลากรกรุงเทพมหานครดีเด่นของสำนักอนามัยได้มีการพัฒนาศักยภาพการทำงานของตนเองจากประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการสัมมนา โครงการสัมมนาและดูงานการบริการสาธารณสุขมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 122 คน ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 101 คน ดังนี้ 1. บุคลากรกรุงเทพมหานคร จำนวน 81 คน 2. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ชำนาญงาน และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการ จำนวน 20 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 21 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 18 คน 2. วิทยากร จำนวน 3 คน 987,125.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
129 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) (สพธ.) สำนักอนามัยเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุข 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกบำบัดยาเสพติด สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) จำนวน 21 ระบบงาน เพื่อตอบสนองภารกิจการจัดเก็บข้อมูลการรักษา ประวัติของผู้มารับบริการ และใช้ออกบัตรผู้ป่วย รวมถึงงานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข ตลอดจนงานบริการในชุมชน สถานศึกษา และสถานประกอบการ ผ่านระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) อันก่อให้เกิดประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ และสามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้วย เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีการโยกย้าย สับเปลี่ยนตำแหน่ง รวมถึงการรับบุคคลใหม่เข้ามาปฏิบัติงาน ทำให้เกิดปัญหาอุปสรรคต่อการใช้งานระบบฯ ขาดความรู้ความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) จึงมีความจำเป็นในการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการใช้งานระบบสารสนเทศ และสามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมมาใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ได้ถูกต้อง เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) อย่างมีประสิทธิภาพ จัดฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 2,647 คน กลุ่มเป้าหมายจำนวน 2,647 คน แบ่งตามจำนวนระบบงานได้เป็น 21 ระบบงาน จำนวน 38 รุ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานถึงระดับชำนาญงาน ที่ปฏิบัติงานของศูนย์บริการสาธารณสุข และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสังกัดสำนักอนามัย รวมจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 75 คน (รวมทุกรุ่น) ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ดำเนินการ รุ่นละ 2 คน รวมทุกรุ่น รวมจำนวนกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 2,722 คน 128,400.00 25,865.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
130 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ (ศบส.3) ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตบางซื่อและเขตอื่นที่ใกล้เคียง โดยจัดบริการสุขภาพประชาชนทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชน ได้ทำการสร้างอาคารใหม่ 5 ชั้น และอาคารสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน 2 ชั้น จึงมีจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริการ สร้างปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ของสำนักการจราจรและขนส่งตามระบบ CCTV และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทะิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ 1.ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ 2. ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคาร ชั้น 1-2 ของอาคารสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน 492,170.00 492,170.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
131 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง (ศบส.47) ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง เปิดทำการตั้งแต่ปี พ.ศ.2561 เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในแขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ ให้บริการสาธารณสุข ครอบคลุม 4 มิติ คือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ โดยเขตภาษีเจริญมีประชากรทั้งสิ้น 75,413 คน โดยพื้นที่รับผิดชอบ 1,046 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบัน ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง มีที่ทำการตั้งอยู่ในพื้นที่จำกัดเพียง 372 ตารางวา ลักษณะเป็น อาคาร 2 ชั้น ได้แก่ - ห้องเวชระเบียบ แบ่งพื้นที่ทำงานร่วมกับทีมลงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของศูนย์บริการสาธารณสุข และสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติและทีมคลินิกเบาหวาน - ห้องตรวจโรค ห้องที่ 1 แบ่งพื้นที่สำหรับคลินิกส่งเสริมสุขภาพสตรี ร่วมกับคลินิกกายภาพบำบัดและห้องตรวจพัฒนาการสำหรับเด็ก - ห้องตรวจโรค ห้องที่ 2 แบ่งพื้นที่สำหรับคลิกนิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี และแบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับวางอุปกรณ์สำหรับคลินิกกายภาพบำบัดเครื่องตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า - ห้องปฏิบัติการพยาบาล แบ่งพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับดำเนินการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน พื้นที่อีกส่วนหนึ่งสำหรับดำเนินงานทำให้ปราศจากเชื้อสำหรับเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ และพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นหน่วยสำรองและเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ - บริเวณรอตรวจ มีพื้นที่ขนาดเล็กไม่เพียงพอสำหรับรองรับประชาชนผู้มารับบริการ ทำให้ประชาชนผู้มารับบริการ ต้องนั่งรอบริเวณบันไดทางขึ้นบ่อยครั้ง กีดขวางทางเดินบันได ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มบริเวณบันได - ห้องทำงานธุรการและการเงิน - ห้องทำงานสำหรับทีมเภสัชกร แบ่งพื้นที่สำหรับจัดเก็บคลังยาใหญ่ และคลังยาย่อมของศูนย์ฯ - ห้องวางแผนครอบครัว - ห้องชันสูตร - ห้องสังคมสงเคราะห์และคลินิกบำบัดบุหรี่และยาเสพติดให้โทษ ทำให้มีปัญหามีปัญหาในการให้คำแนะนำที่ต้องการความเป็นส่วนตัว เพื่อรักษาความลับของผู้ป่วยก่อให้เกิดความล่าช้าในการให้บริการทางการแพทย์ ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจในการให้บริการ - ห้องน้ำหญิงและห้องน้ำชาย ชั้น 2 ประกอบ ด้วย - ห้องทันตกรรม แบ่งพื้นที่ทำงานร่วมกับทีมลงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์และบริเวณรอตรวจหน้าห้องฟัน - บริเวณรอตรวจทันตกรรม มีพื้นที่ขนาดเล็กไม่เพียงพอสำหรับรองรับประชาชนผู้มารับบริการ - ห้องอนามัยโรงเรียน อนามัยชุมชน - ห้องพัสดุชั้นบน - ห้องหัวหน้าพยาบาล - ห้องประชุม - ห้องผู้อำนวยการศูนย์ - ห้องน้ำเจ้าหน้าที่ ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คอลงขวาง จึงจัดทำโครงการก่อสร้างที่ทำการใหม่ขึ้นเพื่อให้เป็นสถานพยาบาลของรัฐ สังกัดกรุงเทพมหานครในแขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ มราสามารถพัฒนาศักยภาพในการดูแลคุณภาพชีวิตของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น 1. เพื่อเป็นพื้นที่ให้บริการประชาชน 2. เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาและบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพในการดูแลตนเองให้แก่ประชาชนอันมีผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. เพื่อประชาชนที่มารับบริการได้รับความสะดวกและปลอดภัย ก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข ค.ส.ล. 6 ชั้น และก่อสร้างอาคารหน่วยงานสนับสนุน ค.ส.ล. 2 ชั้นงานภูมิทัศน์ งานผังบริเวณและสิ่งก่อสร้างประกอบอื่นๆ งานจัดครุภัณฑ์ งานรื้อถอนอาคารเดิม - รื้ออาคารศูนย์บริการสาธารณสุข ค.ส.ล. 2 ชั้น หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง - รื้ออาคารชมรมผู้สุงอายุ ค.ส.ล. 1 ชั้น หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง - รื้อรั้วตาข่ายเหล็กด้านข้าง และด้านหลัง รื้อรั้วอิฐบล็อกด้านหน้า พร้อมประตูทางเข้าศูนย์ฯ ด้านหลัง - รื้อถอนที่จอดรถยนต์หลังคาโครงเหล็กมุงกระเบื้องลอนคู่ 1 หลัง 1,000,000.00 1,000,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
132 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) (สสธ.) - ก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) สร้างขี้นเพื่อรองรับสุนัขที่ถูกจับออกจากพื้นที่สาธารณะ ตามข้อร้องเรียนของประชาชน โดยนำสุนัขมาทำหมันและเลี้ยงดู ซึ่งสุนัขจะได้รับการฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้น โดยมีขั้นตอนการกักกันโรค ตรวจสุขภาพ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และนำไปเลี้ยงดูจนหมดอายุขัยที่ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดกรุงเทพมหานคร (อุทัยธานี) ทั้งนี้ จะได้ลดจำนวนสุนัขไม่มีเจ้าของและลดการเกิดปัญหาเป็นต้นว่า ปัญหาสภาพแวดล้อม สิ่งปฏิกูล ปัญหาความปลอดภัยของประชาชนผู้ใช้พื้นที่สาธารณะและสิ่งสำคัญที่สุดปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า - เพื่อปรับปรุงศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) - เพื่อสร้างคอกสุนัขต้นแบบของการพักพิงสุนัขอย่างถูกสุขลักษณะ - เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับสุนัข - เพื่อการคัดกรองโรคก่อสร้างต่อไปยังศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดกรุงเทพมหานคร (อุทัยธานี) - รองรับสุนัขจรจัดที่สร้างความเดือดร้อนรำคาญตามที่ได้รับข้อร้องเรียนจากประชาชน 1,000,000.00 1,000,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
133 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี (ศบส.34) ศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี สำนักอนามัย รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตพระโขนง โดยจัดบริการสุขภาพประชาชนทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชนในปีงบประมาณที่ผ่านมาศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ได้ทำการก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่เป็นอาคาร 5 ชั้น ตั้งอยู่ในพื้นที่ข้างอาคารเดิมของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ได้ตรวจรับแล้วเสร็จ ในวันที่ 10 สิงหาคม 2563 และมีแผนการเปิดให้บริการประชาชนในเดือนมกราคม 2564 นี้ จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งได้พัฒนาและนำโปรแกรมระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดการให้บริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร ผ่านโครงข่ายสายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ของสำนักการจราจรและขนส่งตามระบบ CCTV และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต 1. เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนการปฏิบัติงานได้ครอบคลุมทุกภารกิจของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารครอบคลุมจุดให้บริการชั้น 1-5 ของศูนย์บริการสาธารณสุข 34 โพธิ์ศรี 420,000.00 420,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
134 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศ เพื่อปรับปรุงและทดแทนระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สำนักอนามัยในฐานะเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดประเวศ คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขทุกแห่ง ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ตลอดจนกองและสำนักงานที่สนับสนุนดำเนินงานตามภารกิจด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การรับ - ส่งต่อผู้ป่วย การฟื้นฟูและเยียวยา รวมทั้งได้ให้บริการเชิงรุกเข้าไปดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน ปัจจุบันมีระบบสารสนเทศ-ศูนย์บริการสาธารณสุข (Health Center Information System : HCIS) มาสนับสนุนสำหรับการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการให้บริการแก่ประชาชน ตั้งแต่ปี พ.ศ.255๑ ซึ่งยังพบปัญหาในการพัฒนา Application ใหม่ ๆ บนระบบเดิมค่อนข้างทำได้ยาก ซึ่งทำให้การทำงานของผู้พัฒนาโปรแกรมล่าช้า ต้องมีการแก้ไขตลอดเวลา การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบไม่เสถียร เนื่องจากระบบเดิมไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง อีกทั้งระบบฐานข้อมูลไม่สามารถรองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้น รวมถึงระบบเดิมยังไม่สามารถเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบในทุกกลุ่มภารกิจของสำนักอนามัย และการเชื่อมโยงกับระบบของหน่วยงานภายนอก เช่น ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักอนามัยในฐานะหน่วยงานที่เป็นผู้จัดหาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) และดูแลรักษาระบบ พิจารณาแล้วเห็นว่าการพัฒนาระบบใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงระบบ เพื่อให้รองรับกับพระราชบัญญัติ กฎระเบียบ หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่เปลี่ยนไป ทำให้มีผลกระทบกับการจัดเก็บข้อมูล การสืบค้นข้อมูล และการออกรายงานต่าง ๆ ของระบบงาน ประกอบกับความต้องการของผู้ใช้งานที่เปลี่ยนแปลงและมีเพิ่มขึ้น ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลเป็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย พ.ศ. 2559 - 2561 องค์ประกอบที่ 1 การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เข้าสู่ยุคแห่งเทคโนโลยี “Digital Transformation” ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดีและรวดเร็วขึ้น จำเป็นต้องมีการศึกษา วิเคราะห์และออกแบบการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสุขภาพ สำนักอนามัยสู่องค์กรดิจิทัลแทนระบบเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ต้องมีการโอนย้ายข้อมูลจากระบบเดิมไปยังระบบใหม่ และต้องมีการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศต่าง ๆ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีรายละเอียดในการดำเนินการที่ซับซ้อน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผลและไม่กระทบต่อการดำเนินงานในปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและมีความเข้าใจในภารกิจของสำนักอนามัย เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาระบสารสนเทศสาธารณสุขให้สามารถสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสุขภาพสู่องค์กรดิจิทัลในทุกกระบวนการรวมถึงการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลได้ตามกลุ่มภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 23,223,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-09-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ยกเลิก 8.00
135 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2565 กิจกรรมสำรวจเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบเครือข่ายและระบบอินเทอร์เน็ตศูนย์บริการ สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักอนามัย โดยกลุ่มสถิติและสารสนเทศสาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยวกับการวางรูปแบบและพัฒนาระบบการเก็บข้อมูล การจัดทำฐานข้อมูล การรวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักอนามัย ซึ่งได้รับมอบหมายรับผิดชอบโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามแผนพัฒนาสำนักอนามัย 4 ปี (พ.ศ. 2565 – 2568) เรื่อง Smart PHC Department of Health โดยมีเป้าประสงค์ให้ศูนย์บริการสาธารณมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงานและประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้วยระบบเทคโนโลยีของศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบและจัดหาระบบสารสนเทศ เพื่อปรับปรุงและทดแทนระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้รองรับสภาพแวดล้อมเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและการขยายตัวของการใช้งานในอนาคต รวมถึงสามารถเชื่อมโยงระบบในทุกกลุ่มภารกิจของสำนักอนามัย และเชื่อมโยงกับระบบของหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบครือข่ายและระบบอินเทอร์เน็ตของศูนย์บริการสาธารณสุขเหมาะสมกับการปฏิบัติงานและพร้อมในการใช้งานในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนนั้น มติที่ประชุม คณะทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันพุธที่ 17 พฤศจิกายน ๒๕6๔ ให้ดำเนินการโครงการให้บริการแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข (Service at the Public Health Center : SPHC) กรุงเทพมหานครครบทุกศูนย์บริการสาธารณสุข ภายในปีงบประมาณ 2565 1 เพี่อสำรวจและตรวจสอบสถานภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ระบบเครือข่ายเละระบบอินเทอร์เน็ตศูนย์บริการสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพพร้อมในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ประชาชน 2 เพื่อติดตามประเมินผลปัญหาจากการใช้งาน และความต้องการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลนำมาวิเคราะห์ปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 3 เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขมีแนวทางการดำเนินการปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ ระบบเครือข่ายเละระบบอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2021-11-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
136 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 โครงการจัดหาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ ศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม รับผิดชอบการจัดบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะและเชตที่ใกล้เคียง โดยจัดบริการสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลปฐมภูมิ และการฟื้นฟูความสามารถของร่างกาย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจากภาครัฐและเอกชน อีกทั้งศูนย์ฯ 58 ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารที่ทำการใหม่เป็นอาคาร 5 ชั้น พร้อมส่งมอบพื้นที่และอาคารโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ฯ 58 ที่ดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยศูนย์ฯ 58 ได้เปิดให้บริการ ณ ที่ทำการศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม ในวันที่ 4 ตุลาคม 2564 และมีความประสงค์จะจัดหาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข ของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์ฯ 58 และเพื่อเพิ่มความสะดวกให้ผู้รับบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเพื่อสนับสนุนการให้บริการและป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 ที่เน้นการจัดให้บริการอย่างเหมาะสมตามหลัก Social Distancing ส่งผลให้มีความจำเป็นต้องจัดสถานที่นั่งรอเรียกคิวตรวจแบบเว่นระยะห่างเพิ่มที่ ด้านนอกอาคาร ทำให้ผู้ป่วยส่วนหนึ่งไม่ได้ยินเสียงเรียกให้บริหาร จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จึงได้จัดทำโครงการจัดหาระบบระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ 1. เพื่อเป็นการพัฒนาระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม และเพื่อเพิ่มความสะดวกให้ผู้รับบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสนับสนุนการให้บริการและป้องกันการติดเชื้อในกลุ่มผู้ใช้บริการ สอดคล้องกับการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่เน้นการจัดให้บริการอย่างเหมาะสมตามหลัก Social Distancing ติดตั้งระบบคิวอัตโนมัติของศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม จำนวน 1 ระบบ 227,990.00 0.00 สำนักอนามัย 2022-03-01 00:00:00 2022-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->136 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0