รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 34 โครงการ

[พิมพ์ไฟล์ PDF (ทั้งหมด)]

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบจากข้อมูลใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 32 ทวิ ประกอบกับกฎกระทรวงกำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ พ.ศ. 2548 กำหนดให้อาคารสาธารณะ 9 ประเภท โดยการพิจารณาคัดแยกจากใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรอื ยผ.4 ที่กองควบคุมอาคารออกระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 โดยฐานข้อมูลมีข้อมูลเลขที่ใบอนุญาต ใบรับแจ้ง ชื่อเจ้าของอาคาร ที่ตั้งอาคาร พิกัดอาคาร ลักษณะและการใช้สอยอาคารเป็นต้น จัดทำฐานข้อมูลอาคารสาธารณะ 9 ประเภท พร้อมผลการประเมินผลความเสื่ยงของอาคาร ร้อยละ 80 ของจำนวนใบอนุญาต อ.1 และใบแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่างปี พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 ที่ได้รับการพิจารณาคัดแยกเพื่อจัดทำฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมสำรวจจัดทำฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 อาคาร 1 และอาคาร 2 เนื่องจากอาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และอาคาร 2 มีปริมาณการใช้อุปกรณ์แสงสว่างเป็นจำนวนมาก และบางจุดมีวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่าทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ จึงดำเนินการสำรวจจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่อไป 1. เพื่อทราบถึงจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างทั้งหมดที่อยู่ภายในอาคาร 1 และอาคาร 2 2. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน มีฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของสาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และ 2 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
3 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2560 โครงการภาคีเครือข่ายดูแลถนน (Best Service ปี 2560) ๑.การซ่อมแซมถนน หรือการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ถนน พบว่ามีความล่าช้า ๒.การไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคใช้พื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานครเช่น ไม่คืนพื้นที่ผิวจราจร ๓.ความล่าช้าของการตอบกลับผู้ร้องเรียน และแจ้งเรื่องราวให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ไข ๔.การตรวจสอบการชำรุด ของถนน สะพานของสำนักการโยธาไม่ครอบคลุมทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕.การสื่อสารผ่านโทรศัพท์ให้ข้อมูลตำแหน่ง รายละเอียดปัญหาได้ไม่ชัดเจน ๖.เพิ่มช่องทางการร้องเรียนผ่าน Line@ Application ๑.เงื่อนไขประกอบการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคเข้าดำเนินการในพื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานคร ๒.การใช้ Line Applicationในการเพิ่มช่องทางการร้องเรียน ส่งรูปภาพ ตำแหน่งปัญหา แจ้งหน่วยงานและติดตามการแก้ไข ๓.การเพิ่มบทบาทให้ภาคประชาชนในการมีส่วนร่วมในการแจ้งปัญหาการชำรุดเสียหายของถนน สะพาน ๑.ดำเนินการเชิงรุกแก้ปัญหาได้รวดเร็ว ๒.ส่งรูป ตำแหน่งเรื่องราวร้องเรียนได้ชัดเจน ๓.ผู้รับบริการ เครือข่าย มีช่องทางการติดต่อที่มากขึ้น 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1.1 2560 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลงนามสัญญาแล้วเสร็จ 5,000,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 16.กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จาก กองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 5.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 15.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ. 2560 จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 7.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560 - กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 14.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท (ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ที่ได้รับ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2561 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 20,000,000.00 24,965,480.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 กิจกรรม การจัดทฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
14 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินดารโครงการแล้วเสร็จ 22,900,000.00 12,947,370.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2562 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบบสารสนเทศ สำนักการโยธา .. .. ร้อยละ 80 279,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 10.00
17 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2561) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรม การจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 15,342,000.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 76.68
20 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1.1 2563 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) คงไว้ สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัยต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 4.1 นำเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. มีฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา 2. มีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 3. เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ กรุงเทพมหานคร มีถนน ตรอก ซอย อยู่เป็นจำนวนมาก ปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่ทางสาธารณะอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานคร ยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตทางสาธารณะ รวมทั้งการปักเขตทางสาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาถนน ตรอก ซอย สาธารณะ เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินทางสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตทางสาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 ลดข้อพิพาทเกี่ยวกับกรณีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องใช้ข้อมูลเขตทางของถนนหรือซอยสาธารณะในการพิจารณาอนุญาต 9.3 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ เขตที่มีพื้นที่ตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม (สีแดง) และถนน ซอย ที่มีความกว้าง 10 เมตร และ 12 เมตร รวมทั้งซอยที่เกิดกรณีพิพาท มีการร้องเรียนจากประชาชน จำนวน 15 เขต 25 สาย 3,000,000.00 1,202,331.00 สํานักการโยธา 2020-05-01 00:00:00 2021-04-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 การรังวัดตรวจสอบแนวเขตที่สาธารณะที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น รวมทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน ที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง เป็นทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันพลเมืองมีสิทธิเข้าเกี่ยวข้องใช้สอยได้รับประโยชน์ด้วยตนเอง แต่จะใช้สอยคนเดียวมิได้ เป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่มีไว้เพื่อบริการสาธารณะ เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชน และจัดไว้เพื่อประโยชน์ของราชการ โดยกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ที่สำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่เป็นจำนวนมาก ได้แก่ ที่ชายตลิ่ง ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานครยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตที่ดินสาธารณะ รวมทั้งการปักหลักเขตที่สาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาที่ชายตลิ่ง เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตที่ชายตลิ่งที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตที่สาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตที่ดินชายตลิ่งที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยแบ่งตามพื้นที่เขต ดังนี้ 1. เขตบางพลัด เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔๕ ไร่ ๓ งาน ๒๖ ตารางวา 2. เขตบางซื่อ เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๑๐ ไร่ ๑ งาน ๓๖ ตารางวา 3. เขตดุสิต เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔ ไร่ ๒ งาน ๖๙ ตารางวา 4. เขตพระนคร เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๖ ตารางวา 350,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-08-01 00:00:00 2021-01-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
24 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 งานปรับปรุงถนนสมานมิตรพัฒนา ช่วงจากคลองศาลเจ้า ถึงจุดที่ปรับปรุงแล้ว พื้นที่เขตบางขุนเทียน เป็นโครงข่ายถนนที่เชื่อมระหว่างถนนพระราม 2,ถนนพุทธบูชา กับถนนอนามัยงานเจริญ,ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล,ถนนเลียบทางด่วนวงแหวนด้านใต้ ซึ้งสภาพปัจจุบัน ถนนมีระดับต่ำ และไม่มีระบบท่อระบายน้ำ เมื่อฝนตกหนักจะมีน้ำท่วมขัง เป็นปัญหาต่อการจราจร ประชาชนที่สัญจรไป-มา ได้รับความสะดวกและปลอดภัยในการใช้ถนน 18,100,000.00 14,173,017.80 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
25 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี ช่วงจากแยกเตาปูน ถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางซื่อ เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานและเกิดจากการทรุดตัวขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย และก่อให้เกิดอันตรายแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา สมควรที่จะต้องดำเนินการปรับปรุงคันหินและทางเท้าให้อยู่ในสภาพดีมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา อีกทั้งจะก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสวยงามแก่กรุงเทพมหานคร 29,966,000.00 10,975,615.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
26 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนรัชดาภิเษก ช่วงจากสถานีบริการน้ำมันเชลล์ ถึงสะพานข้ามคลองน้ำแก้ว พื้นที่เขตจตุจักร เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนรัชดาภิเษก มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ ใช้งานมานาน ประกอบกับบริเวณดังกล่าวมีสถานที่ราชการ สถานศึกษา และยังเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง ทำให้ประชาชนใช้ทางเท้าในการสัญจรเป็นจำนวนมาก สมควรจำเป็นต้องปรับปรุงให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ทางเท้าได้รับความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า 29,346,000.00 26,844,623.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ข้อมูลถนนเดิม ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธ- มณฑลสาย 3 ถึงบริเวณที่กำหนดให้ ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. เหตุผลและความจำเป็น ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ 98,510,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 88.00
28 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ ซึ่งเป็นวันที่สำคัญยิ่ง นำความปลื้มปิติยินดีมาสู่พสกนิกร หน่วยราชการ องค์กร และประชาชนทุกหมู่เหล่า ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีต่อประชาชนชาวไทยอย่างหาที่สุดมิได้ จึงได้ดำเนินการสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชาภิเษกครบรอบ 2 ปี บริเวณถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติของกรุงเทพมหานคร” เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ 9.1 ประชาชนที่เดินทางและสัญจรไปมา บังเกิดความเป็นสิริมงคลเมื่อผ่านซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ 9.2 ประชาชนได้ร่วมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 9.3 กรุงเทพมหานคร มีซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ อยู่บนถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ” 14,000,000.00 13,999,000.00 สํานักการโยธา 2019-12-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
29 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
.. 2564 โครงการให้คำปรึกษาแนะนำอาคารสำนักงานเขตและอาคารศูนย์บริการสาธารณสุขของกรุงเทพมหานครให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ ตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 (Universal Design) สำนักการโยธามีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบและตระหนักถึงความสำคัญของสภาวะการของประชากรต่อการให้บริการของสถานที่ที่ให้บริการของหน่วยงาน/สถานที่ราชการของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถรองรับการให้บริการกับกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย รวมถึงผู้สูงอายุและคนพิการที่มีแนวโน้มที่จะเข้ามาใช้บริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร โดยจำเป็นที่จะต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน ให้สอดรับกับแนวโน้มของผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังกล่าวในอนาคต ๑. อาคารสถานที่ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร มีสาธารณูปโภคสำหรับผู้สูงอายุและ คนพิการ ที่มีมาตรฐานและเป็นไปตามหลักสากล ๒. ประชาชนได้รับความสะดวก ๓. ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการรับบริการ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
.. 2564 กิจกรรมสำรวจและจัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อรองรับการพัฒนาย่านตลาดน้อย (เจรจาตกลง) การดำเนินการจัดทำแผนงาน โดยประกอบด้วยโครงการที่มุ่งพัฒนาย่านตลาดน้อย ตามผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ที่กำหนดพื้นที่นำร่องในย่านตลาดน้อยเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ และร่วมดำเนินการกับหลายหน่วยงาน พัฒนาฟื้นฟูโครงข่ายถนนทางเท้าในพื้นที่ - เชื่อมโยงการเดินทางภายในพื้นที่ การเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนหลักและรอง - ให้โครงสร้างถนนและทางเท้ามีความร่มรื่นสวยงามจากพรรณไม้ในพื้นที่ - รองรับให้เกิดเส้นทางการเดินทางที่ลดการพึ่งพารถยนต์ในพื้นที่ เช่น ทางจักยาน การเดินเท้า เป็นต้น 1. สำรวจย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า สิ่งอำนวยความสะดวก และอื่น ๆ 2. ทำการวิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ และกำหนดแผนงาน/โครงการตามกรอบผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 3. จัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 4. จัดทำรูปแบบ ประมาณราคา รายละเอียดโครงการของโครงการตามแผนที่กำหนด เพื่อขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 5. ผลักดันโครงการที่ขอจัดสรรงบประมาณในปี พ.ศ.2565 ให้ได้รับงบประมาณ โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้นๆ ฯลฯ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา (โครงการต่อเนื่องปี 64) ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญจนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ - ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าว ชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 - เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนักมีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก - เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา - ทำการยกระดับถนนเพิ่มขึ้นประมาณ 0.60 ม. จาก ระดับถนนเดิม - สร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด ø 1.00 ม. พร้อมบ่อพัก - สร้างทางเท้ากระเบื้องซีเมนต์อัดแรง ขนาด0.30x0.30x0.035 กว้างประมาณ 2.25 ม. - สร้างกำแพงกันดิน - สร้างพื้นทางหินคลุก หนา 0.30 ม. - ถมทรายขยายคันทาง - ปรับปรุงผิวจราจรเป็น ค.ส.ล. หนา 0.25 ม. กว้าง 9.00 ม. - ปรับปรุงและขยายสะพานข้ามคลอง ค.ส.ล. จำนวน 5 แห่ง 98,510,000.00 78,246,619.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2021-12-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
.. 2565 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
33 1.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
.. 2566 นำเข้าข้อมูลอาคาร 9 ประเภท ที่จะต้องจัดให้มีการตรวจสอบอาคารในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ และกลุ่มเขตกรุงธนใต้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร สำนักงานควบคุมอาคาร สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับการอนุญาต ตรวจสอบ และควบคุมการใช้อาคาร รวมถึงอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2548 ที่กระจายตัวอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งอาคารเหล่านี้ประกอบไปด้วย อาคารสูง (อาคารที่มีความสูงเกิน 23 เมตรขึ้นไป) อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (อาคารที่มีพื้นที่ทุกชั้นรวมกันตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป) อาคารชุมนุมคน (อาคารที่ชุมนุมคนได้ตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป หรือเป็นอาคารเพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป) อาคารชุด (ตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่อาคารรวมตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไปต่ออาคาร) โรงมหรสพ โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจำนวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 200 ตารางเมตรขึ้นไป อาคารโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งชั้น และมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้ายที่สูงจากพื้นดินตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตรขึ้นไป หรือป้ายที่ติดหรือตั้งบนหลังคาหรือดาดฟ้าของอาคาร หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 25 ตารางเมตรขึ้นไป ซึ่งอาคารเหล่านี้ หากไม่ได้รับการตรวจสอบความพร้อมด้านความปลอดภัยในการใช้อาคารอาจส่งผลถึงชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนได้ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีฐานข้อมูลของอาคารดังกล่าวที่อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และยกระดับความปลอดภัย เพื่อลดจำนวนอุบัติภัยอันเกิดจากสิ่งก่อสร้างประเภทอาคาร เพื่อบรรลุเป้าหมายการเป็นเมืองที่มีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ และประชาชนรู้สึกมีความเชื่อมั่นในด้านความปลอดภัยในการใช้อาคารในพื้นที่ นำเข้าข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (อาคาร 9 ประเภทตามกฎหมายควบคุมอาคาร) ในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ กลุ่มเขตกรุงธนใต้ จำนวน 6500 อาคาร โดยการลงพื้นที่เพื่อถ่ายรูป เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของอาคาร และสแกนเอกสารอนุญาต รวมทั้งแบบแปลนของอาคาร เข้าสู่ระบบบริหารจัดการงานควบคุมอาคาร เพื่อให้มีฐานข้อมูลอาคารครอบคลุมทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้สำหรับการวางแผนปฏิบัติงานควบคุม ตรวจสอบอาคารที่มีความเสี่ยง และล่อแหลมที่จะทำให้เกิดอุบัติภัยจากการใช้งานอาคาร และสามารถแก้ไขปัญหา ด้านความปลอดภัยต่อการใช้อาคารที่มีความเสี่ยงได้ทันกาล 36,311,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 25.00
34 7.0.2.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 สำรวจจัดสร้างและปรับปรุงหมุดหลักฐานทางดิ่งและทางราบในบริเวณกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครได้กำหนดมาตรฐานในการก่อสร้างในส่วนที่เกี่ยวกับระดับความสูงของสิ่งก่อสร้าง เช่น ระดับผิวจราจรของถนนโดยเปรียบเทียบกับค่าระดับน้ำทะเลปานกลางของประเทศไทย (รทก.) ที่บริเวณเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยจัดสร้างหมุดอ้างอิงในบริเวณกรุงเทพมหานคร กระจายอยู่ทั่วไปเพื่อใช้อ้างอิงในการก่อสร้างในแต่ละบริเวณของพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยในอดีตก่อนปี พ.ศ. 2522 มีการจัดสร้างหมุดอ้างอิงไว้ตามโครงการต่าง ๆ กระจายอยู่ทั่วไป ไม่มีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ทำให้ยากต่อการใช้งานและไม่มีโอกาสตรวจสอบและปรับแก้หมุดหลักฐานเหล่านี้อย่างเป็นระบบ จึงพิจารณาเห็นว่าควรทำการตรวจสอบค่าระดับของหมุดอย่างสม่ำเสมอ กล่าวคือควรทำทุกรอบ 5 ปี ถ้าหากนานมากกว่า 5 ปีแล้ว ข้อมูลค่าระดับต่าง ๆ ของหมุดจะเริ่มมีความคลาดเคลื่อนผิดไปจากเดิม หากไม่ดำเนินการปรับปรุงใหม่และทิ้งระยะเวลาไว้นานดังเช่นในอดีต ก็จะเกิดความคลาดเคลื่อนสูงมากขึ้น หากนำไปใช้จะก่อให้เกิดความเสียหายมาก และจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในปลายปี พ.ศ. 2554 มีเสียงเรียกร้องจากประชาชนผ่านสื่อมวลชนต่าง ๆ ต้องการจะทราบว่าน้ำจะท่วมสูงกว่าหลังถนนเท่าใด ทำให้ไม่สามารถที่จะวางแผนการป้องกันน้ำท่วมได้ ซึ่งโดยข้อเท็จจริง สำนักการโยธาได้ดำเนินการทำแผนที่ค่าระดับหลังถนนสายหลัก ๆ ไว้แล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 และได้ติดตั้งป้ายบอกค่าระดับแล้วในปี พ.ศ. 2557 แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วกรุงเทพมหานครและระดับหลังถนนดังกล่าวมีการทรุดตัวไปตามระยะเวลา ค่าระดับหลังถนนจึงไม่เป็นปัจจุบัน ในการปรับปรุงหมุดหลักฐานใหม่ในครั้งนี้จะได้ทำแผนที่ค่าระดับหลังถนนต่าง ๆ และป้ายบอกค่าระดับให้มากขึ้น รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันปัญหาน้ำท่วมในอนาคต เพื่อปรับปรุงค่าระดับของหมุดควบคุมทางดิ่งที่มีอยู่ให้มีค่าที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริงและซ่อมแซมหมุดหลักฐานทางดิ่งที่เสียหายให้สามารถใช้งานได้ จัดสร้างหมุดหลักฐานทางราบ จำนวน 5 คู่ (10 หมุด) 6,200,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2022-10-01 00:00:00 2024-03-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 35.00
รวม ->34 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0