รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 157 โครงการ

[พิมพ์ไฟล์ PDF (ทั้งหมด)]

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 7,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,300,000.00 9,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
3 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,400,000.00 23,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 127,283,000.00 127,283,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 50,200,000.00 50,200,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 7,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 22,500,000.00 22,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 20,000,000.00 20,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 23,800,000.00 23,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 17,700,000.00 17,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 4,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,900,000.00 23,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,700,000.00 13,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
14 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,300,000.00 2,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 25,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,300,000.00 16,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
17 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,430,000.00 2,430,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 11,700,000.00 11,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2560 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบึงหนองบอน ซึ่งเป็นบึงขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างไว้ให้เป็นโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริสำหรับรับน้ำในช่วงหน้าฝน ซึ่งปัจจุบันบึงรับน้ำหนองบอนเป็นศูนย์กีฬาทางน้ำ ที่มีเรือหลายชนิดไว้ให้ผู้ที่สนใจกีฬาทางน้ำได้ไปใช้บริการกัน เช่น เรือใบ วินเซิร์ฟ เรือคายัค และพื้นที่โดยรอบยังเป็นที่นิยมของผู้ที่ชอบการปั่นจักรยาน ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน จำนวน 50 ชุด โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอนได้ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,426,000.00 11,426,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
20 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 30,000,000.00 30,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 8,400,000.00 8,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,300,000.00 11,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 4.0.3.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 8,900,000.00 8,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
24 9.0.3.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.2.1 2560 โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 291,233,000.00 289,896,750.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
25 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
26 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 18,300,000.00 13,725,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 26,500,000.00 19,875,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
28 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 19,800,000.00 14,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
29 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 19,275,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 21,900,000.00 16,425,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 5,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 5,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
33 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 48,600,000.00 36,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
34 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 11,250,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
35 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,000,000.00 6,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
36 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,300,000.00 9,975,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
37 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
38 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,000,000.00 1,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
39 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,800,000.00 3,600,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
40 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
41 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 13,870,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
42 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 21,000,000.00 15,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
43 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 35,800,000.00 26,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
44 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
45 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 5,800,000.00 4,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
46 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง บริเวณชุมนุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,100,000.00 3,075,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
47 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 8,800,000.00 6,600,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
48 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,100,000.00 8,325,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
49 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 29,700,000.00 28,896,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
50 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึง กันยายน 2561 11,700,000.00 8,775,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
51 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 โครงการ Application Bangkok2U รู้ทันเหตุการณ์ สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการอำนวยความสะดวกด้านการจราจรที่มีเครือ ข่ายข้อมูลที่สามารถต่อยอดและใช้ประโยชน์เพื่อการบริการข้อมูลการเดินทางและการท่องเที่ยวของประชาชนและผู้มาเยือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิเช่น ข้อมูลจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ข้อมูลจากสำนักระบายน้ำ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รวมถึงข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมอุตุนิยมวิทยา บก.จร. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น ปัจจุบันกรุงเทพมหานครประสบปัญหาด้านการจราจรซึ่งมีสภาพหนาแน่นและติดขัด เนื่องจากปริมาณจำนวนยานพาหนะที่เพิ่มขึ้น มีการก่อสร้างรถไฟฟ้าหลายสาย และปัญหาอีกส่วนหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสภาพการจราจรในกรุงเทพมหานครคือ ปัญหาน้ำท่วมขังผิวการจราจรหลังจากเกิดเหตุฝนตกหรือปริมาณน้ำฝนจำนวนมากที่รอการระบายลงสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ ทำให้เกิดปัญหาสภาพการจราจรที่ติดขัดสะสมเพิ่มมากขึ้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว ทำให้เกิดปัญหาวิกฤตการจราจรเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมง โครงการ Application Bangkok2U เป็นหนึ่งในภารกิจของผู้ว่ากรุงเทพมหานครที่ได้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรุงเทพมหานครในการบริการประชาชนและผู้มาเยือนในเขตกรุงเทพมหานครในทุกๆ ด้าน เพื่อบริหารและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและผู้มาเยือนในการรับข้อมูลข่าวสารจากกรุงเทพ มหานคร เช่น ตรวจสอบสภาพการจราจรรับทราบข้อมูลสภาพอากาศ ข้อมูลสถานการณ์ฝนตก และการระบายน้ำท่วมขังในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แบบเป็นปัจจุบัน (Real Time) และข้อมูลเส้นทางรถและเรือสาธารณะ เป็นต้น นอกจากนี้ทางประชาชนและผู้มาเยือนยังสามารถรับข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร และแจ้งเหตุได้ด้วย ผ่านทาง Application Bangkok2U บนสมาร์ทโพนในระบบ IOS และ Android หรือ คอมพิวเตอร์ชนิดแท็บเล็ต (Tablet) และผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อให้ประชาชนเตรียมตัวได้ทันท่วงที เลือกวางแผนหรือจัดการเส้นทางการเดินทางได้อย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงเส้นทางที่สภาพการจราจรที่หนาแน่น เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางลดพลังงานเชื้อเพลิง ลดมลภาวะทางด้านอากาศและเสียง 1 พัฒนา Application Bangkok2U เพื่อให้ประชาชนและผู้มาเยือนได้มีข้อมูลในการตัดสินใจในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) อาทิเช่น ข้อมูลสภาพฝน สภาพน้ำท่วม สภาพจราจรบนท้องถนน และข้อมูลอื่นที่เป็นประโยชน์ในการเดินทางและการท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร 2 สร้างช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสารและข้อเสนอแนะในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย 32,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
52 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.2.1 2561 โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 415,484,400.00 410,315,400.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
53 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,699,099.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 94.54
54 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 8,400,000.00 6,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
55 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2015-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
56 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 ค่าบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 29,860,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
57 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 – กันยายน 2562 21,500,000.00 21,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
58 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 17,500,000.00 17,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
59 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 19,880,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
60 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 6,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
61 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุการณ์ตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพ บริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในระยะที่ 1 ดำเนินงานแล้วเสร็จปลายปี 2556 สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี ประกอบด้วย สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง เพื่อให้การติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่บริเวณดังกล่าว เพื่อการให้บริการประชาชน ซึ่งเป็นแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร แหล่งพัฒนาความรู้ของเยาวชน และสถานที่ออกกำลังกายตามพื้นที่ต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยระบบจะทำการเก็บบันทึกข้อมูลภาพ ณ ห้องควบคุมระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของแต่ละสถานที่ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง ๓๐ วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครประกอบด้วย สวนสาธารณะ 15 สวน รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 460 กล้อง ๓.๑ เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในบริเวณสวนสาธารณะ ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครให้แก่ประชาชน ๓.๒ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ได้ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี ๓.๓ เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครรวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน ติดตั้งกล้อง CCTV สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง 50,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
62 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 2.2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 2.5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 3.1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 3.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 3.3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 3.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 3.5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
63 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
64 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
65 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
66 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
67 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
68 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณป้อมมหากาฬ เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อีกทั้งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ ป้อมมหากาฬ ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เนื่องจากเป็นสถานที่สำคัญ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประชาชนภายนอกมาใช้บริการกันมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณ ป้อมมหากาฬ กรุงเทพมหานคร จำนวน 36 ชุด และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน พร้อมทั้งเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลต่างๆ จากห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจรศาลาว่าการ-กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพจากศูนย์กลางได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในป้อมมหากาฬ 2.2 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณภายในป้อมมหากาฬกรุงเทพมหานคร โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในภายในป้อมมหากาฬ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 4.1 สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมภายในป้อมมหากาฬ และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 4.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับผู้มาใช้บริการประชาชนที่ใช้บริการป้อมมหากาฬได้ 4.3 สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการ ก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4.5 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 4.6 สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 10,240,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
69 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 6,550,000.00 6,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
70 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 7,570,000.00 7,570,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
71 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 19,530,000.00 19,530,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
72 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 40,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
73 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 18,300,000.00 18,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
74 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,500,000.00 16,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
75 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 22,050,000.00 22,050,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
76 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 15,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
77 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
78 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 19,490,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
79 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,400,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
80 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 1,730,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
81 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 12,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
82 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,000,000.00 4,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
83 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้ง บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
84 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 3,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
85 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 10 เดือน 295,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
86 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
87 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 250,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
88 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน 26,570,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
89 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
90 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
91 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม 8 พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่ของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานคร เป็นนโยบายสำคัญที่ต้องดำเนินการ โดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีคนพลุกพล่าน สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดเหตุร้าย เช่น สะพานพระราม ๘ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ภายในบริเวณใกล้เคียงสะพานพระราม ๘ แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ และยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อยและสังเกตสถานการณ์ต่าง ๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดปัญหาการโจรกรรม อาชญากรรม และอัตวินิบาตกรรม ที่เกิดขึ้นในบริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร โดยจะดำเนินการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร ที่กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมไม่สามารถตรวจตราได้ เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่สะพานพระราม ๘ และบริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 30 กล้อง โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปยัง สถานีตำรวจนครบาลบวรมงคล สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตพระนคร เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพปัจจุบันและดูภาพย้อนหลัง รวมทั้งใช้ในการบันทึกภาพ โดยสามารถตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จ้างเหมาจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม ๘ เพื่อดูแลความเรียบร้อย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณสะพานพระราม 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมและเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. เพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,890,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
92 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน 7,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
93 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 9,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
94 2.0.2.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2562 9,770,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
95 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,856,935.52 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
96 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *เป็นโครง Best Service62* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 16,532,000.00 5,370,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
97 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 24,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
98 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ BMA Traffic ผ่านทาง Website และ Application สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
99 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการบูรณาการข้อมูลเชิงแผนที่ของโครงการด้านการจราจร ผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด ทั้งนี้ สำนักการจราจรและขนส่งมีแนวคิดที่จะใช้อุปกรณ์สมาร์ทโฟน เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน โดยการพัฒนา Mobile Application ที่รวบรวมการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ เช่น รถไฟฟ้า, รถไฟ, เรือ, รถเมล์, รถตู้ และรถมอเตอร์ไซด์ เป็นต้น การรายงานสภาพการจราจร การรายงานพื้นที่สภาพน้ำท่วมขังที่มีผลกระทบกับการจราจร การแสดงสถานที่ที่น่าสนใจ เช่น ร้านอาหารอร่อย สถานที่ท่องเที่ยว การรับแจ้งข่าวสารด้านการจราจร และรับแจ้งเหตุ เป็นต้น ทำให้ประชาชนสามารถสื่อสารและรายงานเหตุการณ์ได้จากทุกสถานที่ทุกเวลา เพื่อประชาชนจะได้เตรียมความพร้อมในเรื่องของการวางแผนการเดินทาง หรือการใช้เส้นทางและพาหนะให้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ในเวลานั้น นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปวางแผนการดำเนินงานได้อย่างทันท่วงที เช่น ประชาชนสามารถหลีกเลี่ยงพื้นที่จราจรที่ติดขัดเนื่องจากอุบัติเหตุ หรือ ภาครัฐสามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ทันเวลา เป็นต้น 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำโปรแกรมประยุกต์สำหรับการบูรณาการข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง โดยจัดทำ Platform กลาง เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก 2. จัดทำโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับบริการประชาชน (Mobile Application) เพื่อสร้างช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว ให้กับประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเหตุการณ์ต่างๆ ในด้านการจราจรและขนส่งร่วมกัน และเพื่อให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการเดินทางที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
100 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 6,250,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-12-22 00:00:00 2019-10-21 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
101 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2562 โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) เพื่อเก็บข้อมูลตามโครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง มีฐานข้อมูลและรายละเอียดของการนำสายครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง ของ กทม 35,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
102 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 กรุงเทพมหานครได้มีการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวและเปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยมีระยะทางประมาณ 23.5 กิโลเมตร และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทานการก่อสร้างและการเดินรถกับบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ชื่อในปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการขยายการให้บริการในส่วนต่อขยาย โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้ก่อสร้างงานโยธาและว่าจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด เพื่อดำเนินงานบริหารจัดการและบำรุงรักษา ซึ่งทำให้รถไฟฟ้าสายสีเขียวมีระยะทางที่ให้บริการ ประมาณ 36.25 กิโลเมตร เพิ่มพื้นที่การให้บริการของรถไฟฟ้าสายสีเขียวให้ครอบคลุม และสร้างความสะดวกในการเดินทางของประชาชน ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นผู้ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง - สมุทรปราการ และช่วง หมอชิต - สะพานใหม่ – คูคต เพื่อขยายการให้บริการให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การดำเนินงานและบำรุงรักษาของรถไฟฟ้าสายสีเขียวมีประสิทธิภาพในการจัดการและความต่อเนื่องของสายทาง คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) จึงมีมติเมื่อการประชุม ครั้งที่1/2558 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดังนี้ 1) เห็นชอบในหลักการที่ให้ กทม. เป็นผู้เดินรถส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีเขียว 2) มอบหมายให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาดำเนินการดังนี้ (1) เจรจากับ กทม. ในส่วนการบริหารจัดการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง – สมุทรปราการภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 และช่วงหมอชิต – สะพานใหม่ภายในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558 รวมถึงการเจรจาเงื่อนไขด้านการเงินระหว่างกระทรวงคมนาคมกับ กทม. และนำเสนอ คจร. ต่อไป (2) เจรจาร่วมกับกระทรวงการคลัง กทม. และ รฟม. เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับเงื่อนไขทางการเงิน จากการประเมินข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 กทม. มีภาระในการชำระค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงินรวม 44,429 ล้านบาท ให้กับสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) และค่าจัดกรรมสิทธิ์ ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมเงินกู้ของค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงิน 7,356.๓7 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบไฟฟ้า และเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถ (E&M) (โดยไม่รวมค่ารถไฟฟ้า) จำนวนทั้งหมด 22,373 ล้านบาท และดอกเบี้ย อีก 10 ปี ปีละ 1,000 ล้านบาท รวมเป็นภาระหนี้สินทั้งหมดประมาณ 84,158.37 ล้านบาท ซึ่ง กทม. จะทยอยชำระ คืนส่วนของเงินต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2573 จนถึง พ.ศ. 2585 และชำระค่าดอกเบี้ยของค่าก่อสร้างงานโยธา และดอกเบี้ยค่า งานติดตั้งระบบไฟฟ้าและเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถในช่วงตั้งแต่ พ.ศ. 2562 - 2572 ซึ่งจากการคาดการณ์งบประมาณและรายได้ของ กทม. ในระหว่าง พ.ศ. 2562 - 2572ทาง กทม. จะมีสภาพคล่องไม่เพียงพอต่อการชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยดังกล่าว รวมถึงค่าจ้างบริหารจัดการและบำรุงรักษาตามสัญญาว่าจ้าง เนื่องจากรายได้หลักของรถไฟฟ้าสายสีเขียวสายสีลมและสายสุขุมวิท เป็นของเอกชนทั้งหมดตามสัญญาสัมปทาน และรายได้จากรถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยายไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดของโครงการ เนื่องด้วยเหตุผล ดังนี้ • ข้อจำกัดด้านการเงินของ กทม. • แนวทางในการใช้โครงสร้างอัตราค่าโดยสารตารางเดียวเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่ต้องอาศัยเงินอุดหนุนจาก กทม. • พิจารณาแนวทางการบริหารจัดการและการให้บริการของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวทั้ง 3 แนวเส้นทาง ประกอบด้วยเส้นทางหลักตามสัญญาสัมปทานเดิม เส้นทางส่วนต่อขยาย 1 ที่กรุงเทพมหานครจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด บริหารจัดการเดินรถ และเส้นทางส่วนต่อขยาย 2 ที่รัฐบาลมอบให้กรุงเทพมหานครเดินรถ เพื่อให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและการให้บริการ ดังนั้น เพื่อหาแนวทางการดำเนินโครงการฯ ให้ กทม. สามารถหาแหล่งเงินมาดำเนินโครงการฯ และดำเนินโครงการฯ ตามนโยบายของภาครัฐ ทาง กทม. ได้จัดทำรายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ ตามพระราชบัญญัติการให้ เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 (พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว โดยแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 และขณะนี้อยู่ในระหว่างขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจกรรมของรัฐ กทม. จึงมีความจำเป็นในการว่าจ้างที่ปรึกษา โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 เพื่อประกอบการขออนุมัติการให้เอกชนร่วมลงทุน ต่อไป 1. เพื่อให้การคัดเลือกเอกชนตามขั้นตอนของ พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามในขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด” 2. กรุงเทพมหานครจะมีเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้เอกชนร่วมลงทุนอย่างถูกต้อง 3. กรุงเทพมหานครจะมีแนวทางการบริหารดำเนินงานและกำกับสัญญาได้อย่างชัดเจน กรุงเทพมหานครสามารถได้ที่ปรึกษา เพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวตาม พระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุน พ.ศ.2556 ดังต่อไปนี้ 1. ทำประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมลงทุน ขอบเขตของโครงการ และสัญญาร่วมลงทุนรวมถึงการจัดเตรียมข้อมูลและเอกสารอื่นที่จำเป็นสำหรับการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนเพื่อนำเสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ให้ความเห็นชอบ 2. เพื่อประเมินข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน 3. เพื่อให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะต่อกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ในการเจรจาต่อรองกับผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกรวมถึงการประเมินความเสี่ยงและเสนอแนะแนวทางบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ของคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน 4. เพื่อจัดทำรายงานประเมินข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงกรุงเทพมหานครลงนามสัญญาร่วมทุน 25,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 40.00
103 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,100,000.00 1,975,016.16 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
104 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 7,827,300.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-12-22 00:00:00 2020-10-21 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
105 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
3.1. 2563 งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงสำหรับ เชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สวนสาธารณะ, ศูนย์เยาวชน, ศูนย์กีฬา, ห้องสมุดประชาชน, สถานศึกษา, สถานีสูบน้ำ, สำนักงานเขตทั้ง 50 สำนักงานเขต, สถานีตำรวจ ทั้ง 88 สถานี, กองบังคับการตำรวจนครบาลทั้ง 9 แห่ง, ศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์, ศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์, ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) ฯลฯ เพื่อบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
106 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 งานบำรุงรักษาระบบวิทยุสื่อสารแบบดิจิตอลกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 34,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
107 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่มาใช้งาน บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู่มาใช้ บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 121,119,000.00 82,355,477.83 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
108 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพิ่มความปลอดภัยของ บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 33,504,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
109 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 43,925,100.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
110 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 43,670,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
111 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพดหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ 13,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
112 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 38,945,300.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
113 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 41,040,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
114 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง สำนักงานเขตดุสิต สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตพระนคร สำนักงานเขตวังทองหลาง สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ สำนักงานเขตราชเทวี สำนักงานเขตห้วยขวาง - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
115 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดลัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรบัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรห้ศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพตะร้นออก 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
116 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ สำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตดอนเมือง สำนักงานเขตสายไหม สำนักงานเขตจตุจักร สำนักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ พร้อมเพื่อเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพเหนิอ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
117 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ต่อการเกิดอาชญากรรม กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,365,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
118 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือเพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 122,394,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
119 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
120 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงาน บริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมระบบบริหารการจัดการบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกัน ต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในปัจจุบันระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ จำนวน 34 กล้อง ซึ่งมีความละเอียดของภาพที่ระดับ D๑ (๗๐๔x๕๗๖ Pixels) เท่านั้น รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV), อุปกรณ์บันทึกภาพ (DVR Recorder), UPS ขนาด 1 KVA, Edge Switch, Distribute Switch, เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับดูกล้อง CCTV, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบันทึกภาพ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก, ตู้ใส่อุปกรณ์ Network, กล่องสวิตซ์ตัดตอน มีอายุการใช้งานที่มากกว่า 10 ปี เริ่มเสื่อมสภาพจากการใช้งานและล้าสมัย ทำให้ภาพที่ได้จากการตรวจจับมีความละเอียดไม่เพียงพอที่จะระบุตัวตนของผู้ก่อเหตุ ระบุรูปพรรณสัณฐานของผู้ต้องสงสัย หรือเหตุการณ์ที่จะนำไปสู่การก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุความรุนแรงได้ ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ระบบโทรทัศน์วงจรปิดดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความทันยุคทันสมัยกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน สำนักการจราจรและขนส่งจึงมีความต้องการที่จะปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม ให้สามารถใช้งานได้อย่างเป็นปกติมีประสิทธิภาพ ทดแทนระบบเก่าที่เสื่อมสภาพและล้าสมัย และเพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย ป้องปราม ติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดทัยบริเวณภายใน เขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐาน วังเทเวศร์ 10,982,400.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
121 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณ แบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สำนักการจราจรและขนส่งได้จัดซื้อกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยและอำนวยการจราจรการจัดกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ “ปั่นเพื่อพ่อ Bike for Dad” ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ และสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ก็สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งยังมีความสามารถในการส่งข้อมูลภาพเหตุการณ์ปัจจุบันไปยังศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร และสามารถเรียกภาพดูย้อนหลังได้ 30 วัน อันเป็นประโยชน์ในการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยช่างผู้ชำนาญการ 2. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานตำรวจในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว 3. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ใช้งานได้อย่างทันท่วงที ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ตลอด 24 ชั่วโมงและสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วนได้อย่างทันท่วงที เป็นระยะเวลา 12 เดือน 3,050,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
122 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อเป็นการใช้สำหรับป้องปราม และรักษาความปลอดภัยระวังเหตุร้าย รวมทั้งประกอบเป็นหลักฐานในกรณีที่มีเหตุไม่ปกติเกิดขึ้น บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ต 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
123 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐาน สถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกันต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณที่สำคัญ บริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง โดยรอบเขตพระราชฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ คือ พระบรมมหาราชวัง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วังสระปทุม วังเลอดิส วังเทเวศร์ วังทวีวัฒนา วังศุโขทัย โครงการส่วนพระองค์ 904 พระที่นั่งอัมพรสถานและบริเวณซอยทวีวัฒนา 22 กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 6,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
124 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 13,364,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
125 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 27,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
126 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 17,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
127 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 587 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 218 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 267 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 123 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 390 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 96 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 990 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.15 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.16 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 120 กล้อง 11,400,000.00 5,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
128 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 9,300,000.00 4,650,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
129 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน ๗ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางขุนเทียน, สำนักงานเขตหนองแขม, สำนักงานเขตบางแค, สำนักงานเขตทุ่งครุ, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สำนักงานเขตบางบอน และสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 55 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 107 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 154 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 780 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 381 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 208 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 134 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 44 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 45 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 95 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 51 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 กล้อง 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.15 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.16 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.17 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 84 กล้อง 10,700,000.00 5,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
130 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 20,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
131 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 28,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
132 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 14,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
133 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 23,900,000.00 11,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
134 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 370 กล้อง 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 16,900,000.00 8,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
135 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 17,100,000.00 8,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
136 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลางตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 56,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
137 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กทม ต้องการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ให้ใช้งานได้ตลอดเวลา 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
138 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (เกิน) 1 1 1 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
139 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพหนือ 16,193,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
140 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 16,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
141 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 13,900,000.00 6,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
142 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 จำนวน 2,840 จุด 7,500,000.00 5,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
143 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) สำนักการจราจรและขนส่งที่เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบ เกี่ยวกับระบบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และระบบจราจร ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการเพิ่มความสะดวกสบายด้านการจราจรและเพิ่มความปลอดภัยให้กับประชาชนตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยติดตั้งระบบบริการจุดรับส่งปลอดภัย บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 48 จุด ที่สำคัญ และมีประชาชนใช้เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทาง โดยสามารถตอบสนองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครด้านมหานครปลอดภัย คือผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการที่มีการรับ-ส่งผู้โดยสาร บริเวณจุดรับส่งปลอดภัย สามารถมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้ และสามารถตอบสนองตามแผนนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านสะดวก โดยเดินทางสะดวก ใช้ชีวิตสะดวก ข้อมูลสะดวก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 48 จุด รวม 144 กล้อง พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) เพื่อบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีการใช้จุดเปลี่ยนถ่ายนี้ในการเดินทาง โดยสามารถตรวจสอบรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของบุคคล เช่น เพศ สีผิว รูปร่าง เสื้อผ้าที่สวมใส่ เป็นต้น พร้อมสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการวางวัตถุต้องสงสัยและรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของวัตถุได้ และสามารถตรวจสอบแผ่นป้ายทะเบียนยานพาหนะ กรณีที่มีการจอดรับ-ส่งผู้โดยสารหรือประชาชน - ติดตั้งระบบเรียกรถบริการสาธารณะอัจฉริยะ โดยระบบสามารถบันทึกภาพของผู้ใช้บริการและทะเบียนรถบริการสาธารณะที่ให้บริการ ซึ่งหากเกิดเหตุอันไม่พึงประสงค์ของผู้โดยสารหรือผู้ให้บริการ ระบบสามารถติดตามผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดีได้ หรือกรณีลืมสัมภาระ สิ่งของบนรถบริการสาธารณะ ก็สามารถติดตามคืนได้ 1. เพื่อจัดระเบียบรถบริการสาธารณะที่จอดกีดขวางช่องทางจราจรและให้ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการสามารถเรียกใช้และให้บริการรถสาธารณะได้อย่างสะดวกและมีความปลอดภัย 2. เพื่อใช้เทคโนโลยีมาอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าตำรวจในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย ในการตรวจสอบผู้กระทำผิด 1. ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) จำนวน 48 จุด 2. เชื่อมโยงข้อมูลของระบบฯ เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) 18,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
144 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
145 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทาำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 19,600,000.00 9,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
146 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 25,100,000.00 12,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
147 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ โดยแบ่งตามพื้นที่ 6 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ศูนย์จตุจักรและศูนย์บางเขน) กลุ่มกรุงเทพกลาง (ศูนย์ราชเทวีและศูนย์ห้วยขวาง) กลุ่มกรุงเทพใต้ (ศูนย์พระโขนงและศูนย์บางคอแหลม) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ศูนย์มีนบุรีและศูนย์บึงกุ่ม) กลุ่มกรุงธนเหนือ (ศูนย์บางพลัดและศูนย์จอมทอง) กลุ่มกรุงธนใต้ (ศูนย์บางบอนและศูนย์ราษฎร์บูรณะ) เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการปรับปรุงระบบบริหารจัดการการเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพ ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า รวมทั้งการดำเนินติดตั้งระบบบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และบริหารจัดการแบบรวมศูนย์เพื่อแสดงภาพ ควบคุม ตรวจสอบเรียกดูภาพย้อนหลัง และปรับปรุงระบบ Multimedia ภายในห้องควบคุมเพื่อสะดวกและง่ายต่อการแสดงผล ติดตามการเคลื่อนไหวที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบตลอดเวลาและการติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพไว้ พร้อมทั้งกำหนดให้มีพนักงานประจำศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทั้ง 13 ศูนย์ สำหรับให้บริการประชาชนในการติดต่อขอสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ย้อนหลัง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ ดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 36,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
148 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
0.0.0 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ฝ่ายธรรมยุต ซึ่งเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 7 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งเป็นวัดแห่งเดียวของกรุงรัตนโกสินทร์ที่เป็นวัดประจำรัชกาลของพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์ และยังเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช องค์พระประมุขแห่งคณะสงฆ์ไทย 2 พระองค์ คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (หม่อมเจ้าภุชงค์ ชมพูนุท สิริวฑฒโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2464 – 2480 และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2517 – 2531 และเคยเป็นที่พำนักของสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะหลายรูป ซึ่งในปัจจุบันในหลวงรัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “สมเด็จพระมหามุนีวงศ์” (อัมพร อมฺพโร) เจ้าอาวาส วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 โดยจัดให้มีพิธีสถาปนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 และใช้พระนามว่า “สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ” กรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร เล็งเห็นความสำคัญในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน ป้องปราม และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ชุมชน รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ จึงจะดำเนินจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธ และเส้นทางต่อเนื่อง จำนวน 284 กล้อง โดยจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ความละเอียด 1080P ณ จุดติดตั้งไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพทั้งหมดเข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลสำราญราษฏร์ เพื่อบันทึกภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อความปลอดภัยโดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง 65,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
149 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการจราจร (ม.2.3.2.2.4) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการบริหารจัดการจราจรบริเวณจุดทางแยกสำคัญๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 238 กล้อง และจอแสดงผล จำนวน 50 จอ เพื่อใช้ในการตรวจสอบสภาพจราจร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะทำการส่งข้อมูลภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบการเชื่อมโยงสัญญาณข้อมูล และระบบเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มายังศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยงข้องของงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาลสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาโดยช่างผู้ชำนาญการ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน 22,400,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
150 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร (ม.2.3.2.2.3) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. เพื่อให้มีการแสดงภาพการจราจรที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) บริเวณทางแยกต่างๆ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลการจราจรเพื่อประกอบการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการจราจร 1. ปรับปรุง บำรุงรักษา ตรวจสอบและแก้ไขระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร จำนวน 498 กล้อง และอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง ให้สามารถใช้งานได้ดีและมีประสิทธิภาพ 2. เชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งแสดงเส้นสีที่แจ้งถึงระดับการติดขัด 29,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
151 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
152 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *รองรับมิติที่ 4.1 ตามคำรับรองฯ* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 11,022,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
153 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) ดำเนินการตามโครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินของการไฟฟ้านครหลวงบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) และเชื่อมโยงระบบเชื่อมโยง ของกล้อง CCTV และทรั้ง เรดิโอ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง และตามแผนงานของการไฟฟ้าที่จะนำเสาสายไฟลงใต้ดิน นำสายสื่อสารของ สจส. ลงดินบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) 29,720,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
154 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แบบอัตโนมัติ พร้อมระบบสนับสนุนการซ่อมการบำรุง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) ด้วยกรุงเทพมหานครได้มีการสำรวจและมีการเก็บข้อมูลลงบนฐานข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างเป็นระบบและจุดเดียว ทำให้สามารถทราบข้อมูลของเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างละเอียด เช่น แนวการเดินสายเคเบิลเส้นใยนำแสง, จำนวนสาย และจำนวน Core ของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แต่ละเส้นทาง, ระยะทางสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic), จุดเชื่อมต่อ, จำนวน cores ที่ใช้งาน จำนวน cores ที่ว่างของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) จากข้อมูลที่จัดเก็บดังกล่าว ทำให้ ระบบสามารถประเมินค่า Loss ของสายสัญญาณได้, ช่วยหาเส้นทางการติดตั้งสายสัญญาณที่สั้นที่สุด, สามารถช่วยในการวิเคราะห์ และแสดงผลกระทบโดยตรงกับผู้ใช้รายใดบ้าง เป็นต้น แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับประกันว่าข้อมูลจะเป็นปัจจุบัน ถ้าไม่ได้นำซอฟต์แวร์บริหารจัดการสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มาอยู่ในกระบวนการการติดตั้ง กระบวนการซ่อมบำรุง สายเคเบิลเส้นใยนำแสง ดังนั้นกรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มากที่สุด เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว เพื่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงเป็นปัจจุบันตลอดเวลา รวมทั้งผู้ดูแลระบบสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ทันทีเมื่อมีปัญหา จึงจัดหาซอฟต์แวร์สำหรับสนับสนุนการติดตั้งใหม่, การติดตั้งเพิ่มเติม, การบำรุงรักษา และจัดหาอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร เป็นปัจจุบันตลอดเวลา - เพี่อสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง และทำให้ลดเวลาในการซ่อมสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง ของกรุงเทพมหานครให้สามารถใข้ประโยชน์ในการส่งข้อมูล ของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร และเพี่อการรักษา ความปลอดภ้ยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการแกํไขปัญหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพี่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบในอนาคตได้ - เพี่อจ้ดทำระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิล เส้นใยนำแสง และระบบสน้บสนุนการซ่อมการบำรุง 29,533,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
155 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
3.1. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายสำนักการจราจรและขนส่ง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) เนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบยังคงปรากฏในหลายพื้นที่และกระจายเป็นวงกว้าง กรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่เป้าหมายสำคัญอีกแห่ง เนื่องจากเป็นเมืองหลวงของประเทศและมีผู้คนอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสถานการณ์ก่อความไม่สงบบางส่วนได้เกิดขึ้นแล้วในบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร ก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตของผู้คน รวมทั้งส่งผลต่อธุรกิจท่องเที่ยวและเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากสถานการณ์ความไม่สงบดังกล่าวแล้ว การที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนเป็นจำนวนมาก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เพิ่มขีดความสามารถในด้านการดูแลรักษาสวัสดิภาพของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร โดยได้แบ่งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ออกเป็น 2 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ 1. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับรักษาความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งใช้เฝ้าระวัง ตรวจจับ ตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งใช้ในการป้องปราม การก่อความไม่สงบโดยวิธีการก่อวินาศกรรมหรือภัยคุกคามต่อสวัสดิภาพของประชาชน ทำให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับการแก้ไขปัญหาการจราจร รวมทั้งปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาน้ำท่วม อุบัติเหตุบนท้องถนน การจัดระเบียบทางเท้า อาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร มีกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ติดตั้งและใช้งานด้านสังเกตการณ์สภาพจราจร และปัญหาน้ำท่วมกระจายอยู่ตามทางแยกต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่ง กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้แก่ เครื่องเรียกดูภาพจากกล้องฯ, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบริหารจัดการระบบ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก และเน็ตเวิร์คสวิตซ์ ติดตั้งกระจายอยู่ตามศูนย์ควบคุมฯ, ศูนย์บริหารจัดการ และห้องควบคุมกล้องฯ เป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบางส่วน ที่ติดตั้งในตู้ใส่อุปกรณ์ Network กระจายตามพื้นที่กรุงเทพมหานคร เช่น ทางแยก สะพานลอย ซอยอันตราย ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยต่างๆ ประตูระบายน้ำ โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน สถานีตำรวจ กองรักษาการณ์ประจำพระราชฐาน เป็นต้น ซึ่งเป็นการยากที่จะมีการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และในปัจจุบันมีผู้ใช้งานทั้งจากภายในและจากภายนอกสำนักการจราจรและขนส่ง ตลอดจนภัยคุกคามระบบเครือข่ายจากภายนอกมีเพิ่มมากขึ้น การแทรกแซงเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถทำได้ง่าย ทั้งจากบุคคลภายนอกและบุคคลภายใน อีกทั้ง จากการทำงานปัจจุบันพบว่าอุปกรณ์ที่ใช้บริหารจัดการในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) มีฐานเวลาไม่ตรงกัน ทำให้การ Synchronized เรื่องเวลาและเหตุการณ์คลาดเคลื่อน มีการเข้าถึงได้จากหลากหลายช่องทาง โดยไม่มีการควบคุม ที่ดี การเข้าถึงอุปกรณ์เครือข่ายหลักทางกายภาพเป็นไปโดยง่ายและไม่มีการตรวจสอบ และการติดตามหาผู้กระทำมารับผิดชอบได้ยาก แก้ไขเปลี่ยนการตั้งค่าการทำงานของอุปกรณ์ผิดพลาดทำให้ระบบมีปัญหาได้ อีกทั้ง ปัจจุบันระบบของกรุงเทพมหานครขยายใหญ่ขึ้น โดยไม่มีการจัดระเบียบหรือปรับปรุงการใช้งาน IP Address ให้มีประสิทธิภาพตาม เนื่องจากยังไม่มีระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค (Security Network) - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโครงสร้างพิ่นฐานด้านระบบ เครือข่ายของกรุงเทพมหานคร โดยศึกษา ออกแบบ และแกํไข ระบบเครือข่ายภายในกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ถูกต้อง ตามหล้กมาตรฐาน - เพี่อฟ้องทันและรักษาความปลอดทัยของระบบเครือข่าย เทคโนโลยีและข้อมูลของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบในการเฝัาระวังรักษาความปลอดทัย ของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค สามารถปฏิบตการความมั่นคง ปลอดทัย และเฝัาระวังความปลอดทัยด้านระบบเครือข่ายพร้อมเครี่องมีอ ในการบริหารวัดการ Hardware และ Software ที่เป็นมาตรฐาน สากล สามารถรองรับการเฝัาระวังและตอบสนองฟ้ญหาด้าน ความปลอดทัยของระบบเครือข่ายได้ตลอด 24 ชั่วโมง - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย สำนักการจราจรและขนส่ง 19,757,800.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
156 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2565 การดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
157 7.0.1.
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
.. 2566 การดำเนินการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน พัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2022-10-01 00:00:00 2023-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->157 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0