ลำดับ | ยุทธศาสตร์ 20 ปี | แผนแม่บทไอที | ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | หลักการและเหตุผล | วัตถุประสงค์โครงการ | เป้าหมายโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ | งบประมาณที่ใช้ไป | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | เริ่มโครงการ | สิ้นสุดโครงการ | สถานะโครงการ | คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2.1 | 2560 | กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักพัฒนาสังคม | ดำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพกิจกรรม ประกาศต่างๆ | หน่วยงานต้องปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด | 1.ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจุจุบัน 2.ภายใน 1 ปี ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้ครบถ้วนทุกรายการตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด (ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารของสำนักพัฒนาสังคม ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5. ติดต่อเรา) | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
2 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2560 | กิจกรรมการจัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม | รายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม มีความถูกต้อง และสามารถตรวจสอบได้ | เพื่อจัดทำรายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม ส่งทันเวลาและถูกต้อง | ตามที่ สนค. กำหนด ค่าเป้าหมาย 5 คะแนน | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
3 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2560 | ค่าใช้จ่ายโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ในการให้บริการแก่ประชาชนโดยสำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจในด้านการสงเคราะห์และสวัสดิภาพสังคม การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนในกรุงเทพมหานครเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การจัดทำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวางกรอบแนวคิด การกำหนดแผนและการจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาระบบคุณภาพชีวิตที่ทำให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่อยู่ในวัยต่างๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประสบการณ์ความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ข้อคิดเสนอแนะและการให้คำปรึกษาได้ในทุกที่ทุกเวลาตามต้องการของผู้สูงอายุและคนทุกวัยในกรุงเทพมหานคร จึงจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและบุคคลทุกวัยสามารถเข้ามาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน การแสดงความรู้สึกและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนทุกวัยในสังคมอย่างเป็นอิสระเพื่อสื่อถึงบรรยากาศความอบอุ่นของครอบครัวที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย ทำให้เกิดช่องทางของการติดต่อสื่อสารด้วยเทคโนโลยีในชนทุกระดับชั้นที่แต่ละชุมชนของกรุงเทพมหานครให้การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในแต่ละชุมชนอย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนเมืองในกรุงเทพมหานครสามารถรองรับความต้องการของประชาชนในชุมชนเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะ Social Network ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com | 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและอินเตอร์เน็ตเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการเพิ่มช่องทางให้ผู้สูงอายุเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่เป็นความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com 3. เพื่อให้มีผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ตามโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร | 1. จัดฝึกอบรมทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น การใช้งานโปรแกรมเว็บบราวเซอร์และการใช้เว็บไซต์ จำนวน 30 รุ่น ให้แก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป รุ่นละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 600 คน 2. จัดจ้างผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ ระยะเวลา 1 ปี | 1,081,000.00 | 1,012,980.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
4 | 3.0.1. ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
4.2. | 2561 | การจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ | 1.แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน (ตามกฎหมายประกันสังคม และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541) (ที่มา : กระทรวงแรงงาน) 2.กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังคมได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดี เช่น กลุ่มวินมอเตอร์ไซต์รับจ้างที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานเขต | เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ | มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
5 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2561 | การดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ | ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ผ่านระบบ และสามารถแก้ไข/ชี้แจงได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของประชาชน | จัดให้มีระบบร้องเรียนหรือรับเรื่องราวร้องทุกข์และการแจ้งกลับผู้ร้องเรียน | ตามที่กองกลางกำหนด | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
6 | 6.0.1. ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre |
4.2. | 2562 | กิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม | - ส่งเสริมให้มีการจัดทำระบบข้อมูลสินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์เพื่อการพัฒนา/เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยจัดเก็บอย่างเป็นระบบและเผยแพร่ผ่านช่องทาง online | - เพื่อให้สินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์ ได้รับการจัดเก็บใน WWW.bangkokbrand2017.com และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน | เพื่อจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
7 | 6.0.1. ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre |
6.2. | 2562 | กิจกรรมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อยกระดับสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม | - พัฒนามาตรฐานและคุณค่าเชิงอัตลักษณ์ (Identity) ของผลิตภัณฑ์ โดยการนำเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ “Bangkok Brand” มาใช้กับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดสรร โดยปัจจุบัน กรุงเทพมหานครมีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์ และเพื่อให้ผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) เป็นที่รู้จักของประชาชนและผู้บริโภคอย่างแพร่หลายเพิ่มมากขึ้น เป็นการ เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายและส่งเสริมการขาย | - เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) ได้นำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อยกระดับสินค้าเชิงนวัตกรรม | ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok brand) | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
8 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2562 | กิจกรรมพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง | สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ภารกิจการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง | 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สำหรับการบริหารจัดการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการของศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล | 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงมีความรวดเร็วและถูกต้องมากขั้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้การให้บริการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์ในการดำเนินการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงต่อไปได้ | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
9 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2.1 | 2562 | โครงการพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) | สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภารกิจการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง | 1. เพื่อพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) สำหรับการบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล | 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้การทำงานระหว่างสำนักพัฒนาสังคมและสำนักงานเขตมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนในภาพรวมต่อไปได้ | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
10 | 3.0.1. ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
4.2. | 2563 | โครงการจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ | แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดีที่สุด | เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ | มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
11 | 6.0.1. ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre |
4.2. | 2563 | โครงการจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน | สำนักงานการส่งเสริมอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม ได้ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการได้มีสถานที่จำหน่ายและแสดงสินค้า รวมถึง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของประชาชนโดยทั่วไป ทั้งนี้จากการดำเนินงานที่ผ่านมายังพบว่าข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยังไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการสืบค้น การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การวางแผน การติดตามประเมินผลและการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงานดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการด้านการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน | 1. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการทำรายงาน สถิติข้อมูล 3. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการบริหารจัดการและพัฒนาผู้ประกอบการ และผลิตภัณฑ์ชุมชน 4. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วมจำหน่ายสินค้าในงานต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และทั่วถึง | จัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการส่งเสริมการจำหน่าย | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
12 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
1.2. | 2563 | โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัลของบุคลากรสายงานสนับสนุนสำนักพัฒนาสังคม (Up skill for Digital Organization) | จากสถานการณ์โลกปัจจุบันกำลังปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมถึงประเทศไทยที่อยู่ในยุคของการปฏิรูปเพื่อ่เข้าสู่การพัฒนาตามแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 ดังนั้น ในทุกภาคส่วนทั้งองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีความสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคดิจิทัล โดยเชื่อมโยงทรัพยากรบุคคล ความรู้ ทักษะนวัตกรรมทางความคิด และเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นหนึ่งเดียวกับการขับเคลื่อนภารกิจเพื่อดูแลและตอบสนองความต้องการของประชาชนกรุงเทพมหานครในศตวรรษที่ 21 ที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซับซ้อน และอ่อนไหวมากขึ้นตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไร้ขีดจำกัด | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัล ให้แก่บุคลากรสายสนับสนุน และนำความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในยุคองค์กรดิจิทัลไปพัฒนาตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ | จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ประกอบด้วย นักจัดการทั่วไป นักประชาสัมพันธ์ เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา นายช่างศิลป์ นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานพัสดุ นิติกร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการสถิติ จำนวน 90 คน วิทยากร จำนวน 3 คน คณะกรรมการอำนวยการ จำนวน 8 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน ดำเนินการแบบไป-กลับ จำนวน 3 วัน ภายในเดือนมิถุนายน 2563 ณ โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร | 272,800.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 10.00 |
13 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | กิจกรรมพัฒนาระบบเรียกดูข้อมูลสถิติของสำนักพัฒนาสังคม | ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ระบบที่สามารถให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สามารถสืบค้นข้อมูลด้านสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม | เพื่อพัฒนานวัตกรรมบริการภาครัฐ เพื่อสนับสนุนงานให้บริการหรือเพิ่มช่องทางทางการให้บริการสำหรับประชาชน | มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้บริการประชาชนและ/หรือเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
14 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | โครงการการจัดการความรู้ (KM) ด้านพัฒนาสังคมเชิงบูรณาการ | สำนักพัฒนาสังคมในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานด้านพัฒนาชุมชนในทุกมิติ ทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม อนามัย และจิตใจ ส่งเสริมให้บุคคลมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในการดำรงชีวิต คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของบุคคล ส่งเสริมและจัดสวัสดิการสังคมแก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมของกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักพัฒนาสังคม โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาความรู้ในการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่าจุดอ่อนของสำนักพัฒนาสังคมที่สำคัญและเห็นสมควรนำมาแก้ไขเป็นลำดับแรก คือ แนวทางการปฏิบัติงาน ขาดการถ่ายทอดความรู้ การรับรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างส่วนราชการ ขาดการบูรณาการในการทำงานร่วมกัน บุคลากรจะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน รู้เฉพาะงานในหน้าที่ของตนเอง | 1.เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน โดยสนับสนุนให้ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดสำนักพัฒนาสังคม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการทำงานของแต่ละส่วนราชการ บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองโดยการหมุนเวียนงานได้ เป็นการขจัดความซ้ำซ้อนของงาน สามารถนำมาจัดกิจกรรมบูรณาการการทำงานด้านพัฒนาสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการอย่างแท้จริง 2.เพื่อให้เกิดระบบการจัดเก็บความรู้ที่มีประสิทธิภาพโดยบุคลากรสังกัดกรุงเทพมหานคร และประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ผ่านทาง Social Media ช่องทางต่างๆ เช่น ทาง Website Page หรือ Facebook ของสำนักพัฒนาสังคมและสามารถบูรณาการความรู้สู่หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร | ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
15 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ Bangkok Brand สู่ Online Market Place | สำนักพัฒนาสังคมได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล และพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม นับเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในระดับอาเซียนและก้าวไปสู่ความเป็นสากล | 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานครให้เป็นผู้ประกอบการเชิงธุรกิจดิจิตอล | - | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
16 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักพัฒนาสังคม | ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data File) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร | เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม | ปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเพื่อสนับสนุนการทำงานตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
17 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
.. | 2565 | กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ | สำนักพัฒนาสังคม ในฐานะกำกับดูแลโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง ซึ่งสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพต่าง ๆ ให้ประชาชนผู้ว่างงานที่ต้องการมีงานทำ และผู้ถูกเลิกจ้างงานได้มีโอกาสศึกษาต่อด้านวิชาชีพตามความถนัด ความสามารถ ความต้องการของผู้เรียน เพื่อนำไปสู่การมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สำนักงานงานการส่งเสริมอาชีพ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้เรียน ประชาชน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร โดยนำกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนด้านวิชาชีพสามารถเลือกเรียนได้ตามความถนัดเพื่อนำไปสู่การมีอาชีพและรายได้ในอนาคต ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ | 0.00 | 0.00 | สํานักพัฒนาสังคม | 2021-10-01 00:00:00 | 2022-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 | ||
รวม ->17 โครงการ | 0 | 0.00 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0 | 0 | 0 |