รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 11 โครงการ

[พิมพ์ไฟล์ PDF (ทั้งหมด)]

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อย http://203.155.220.217/bangkoknoi หรือ http://www.bangkok.go.th/bangkoknoi เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆและประชาชน ได้สะดวก รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง -ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน -เป็นช่องทางรับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน -เป็นช่องทางตอบคำถามข้อคับข้องใจของประชาชน -เป็นชื่อทางในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารใหักับประชาชน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
3 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาต ก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง สำรวจ จัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตบางกอกน้อย ด้วยกรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่จะมีความจำเป็นในการนำข้อมูลมาใช้ในการปฏิบัติงาน จึงได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ มาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อให้มีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครในระบบสารสนเทศ ๑. มีฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
.. 2564 กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลดลง โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารในปี พ.ศ. 2555-2561 มีแนวโน้มลดลง กล่าวคือ พบการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ ร้อยละ 24.7 26.3 21.2 28.2 24.3 23.4 และ 23.1 ตามลำดับ การปนเปื้อนด้านเคมี พบร้อยละ 0.7 0.7 0.3 0.3 0.32 0.31 และ 0.31 ตามลำดับ โดยพบว่าสาเหตุหลักคือการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์สอดคล้องกับอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มลดลงเช่นกัน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มลดลง แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย มีความยั่งยืน สำนักงานเขตบางกอกน้อย จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕64 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร กำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินการด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 1.ประชาชนได้บริโภคอาหารสะอาดและปลอดภัย 2.สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี 3.ผู้ประกอบการอาหารทุกกลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในการปรุงจำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัย 1.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องหลักการสุขาภิบาลที่ถูกต้อง 2.ตรวจสุขลักษณะทางกายภาพ และตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครอบคลุมสถานประกอบการที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ร้อยละ 100 103,000.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
0.0.0 2564 บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครในปี 2563 (5 มกราคม 2563 – 6 มิถุนายน 2563) พบว่าผู้ป่วยสะสมจำนวน 8,364 ราย อัตราป่วย 147.34 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.06 โดยจำนวนผู้ป่วยที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 5 – 14 ปีรองลงมา ได้แก่กลุ่มอายุ 15 - 34 ปี และ 0 - 4 ปี ตามลำดับ โดยอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกเปอร์เซนต์ ไทล์ที่ 80 (ปี 2557 – 2561) มีค่าเท่ากับ 232.84 ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราป่วยอยู่ในระดับสูงและยังเป็น ปัญหาสาธารณสุขสำคัญในลำดับต้นๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วย เสียชีวิต สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน และความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวม ซึ่งโรคไข้เลือดออกมีปัจจัยสนับสนุนมาจากความหนาแน่น แออัดวิถีชีวิต และการเคลื่อนย้าย ของประชากร ทำให้ไม่สามารถจัดการกับภาชนะแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ตามเป้าหมาย การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วน โดยให้ความสำคัญ กับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดจำนวนยุงลายพาหะนำโรค ซึ่งเป็นมาตรการสำคัญในการ ป้องกันควบคุมโรค ดังนั้น การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จึงมีความสำคัญ และสอดคล้องกับการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ได้มีการรับรองมติ“สานพลังปราบ ยุงลาย โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน” เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาเรื่องไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน เริ่มจากในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน ทำทุกคน ทำทุกที่ จำเป็นต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากหลายภาคส่วนทั้งเครือข่ายความร่วมมือต่างๆ องค์กร ชุมชน สังคม ครอบครัวและบุคคล โดยนำแนวทางจัดการ พาหะนำโรคแบบผสมผสาน (Integrated Vector Management) มาบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ รวมถึงการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ผู้บริหารองค์กร และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและประสาน ความร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตบางกอกน้อย โดยฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป 1.เพื่อเสริมสร้างระบบกลไกในการดำเนินงานด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทุกระดับ ให้เกิดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายในกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ปลอดลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมกรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย 1.ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชนที่จดทะเบียนจำนวน 42 ชุมชน 2.ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 42 ชุมชน ให้มีค่า HI อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 295,600.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 0.00
11 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
.. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การปฏิบัติงานด้านการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี สนับสนุนให้สถานประกอบการต่างๆ และประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการและควบคุมปัจจัยหรือสภาวะแวดล้อมที่เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะกับการดำรงชีพของประชาชน ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัย ในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการ และการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของอาคารที่พักอาศัย และสถานที่ทำงานให้มีสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและ 2. เพื่อปรับปรุง พัฒนามาตรฐานความสะอาดและสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 3. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขลักษณะ รวมถึงด้านอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วยการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ คนงาน ชุมชน และประชาชนทั่วไป 5. เพื่อประชาสัมพันธ์ แนะนำ บังคับใช้กฎหมายที่มีการแก้ไขและประกาศใช้ที่เกี่ยวกับทางด้านสาธารณสุข อาทิ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้น 1. มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตบางกอกน้อย โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 2. สถานประกอบการในพื้นที่บางกอกน้อยได้รับการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 3. สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องได้รับการตรวจสอบ แนะนำ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.๒๕๖๐ และเจ้าหน้าที่ได้บังคับใช้กฎหมายดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม 165,100.00 140,850.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->11 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0