ลำดับ | ยุทธศาสตร์ 20 ปี | แผนแม่บทไอที | ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | หลักการและเหตุผล | วัตถุประสงค์โครงการ | เป้าหมายโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ | งบประมาณที่ใช้ไป | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | เริ่มโครงการ | สิ้นสุดโครงการ | สถานะโครงการ | คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2.1 | 2560 | โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย | ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน | 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน | ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
2 | 4.0.4. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
4.2. | 2560 | กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร | ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
3 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2561 | กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร | ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
4 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2561 | โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย | ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน | 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน | ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย 1 ปฏิทินกิจกรรม 2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3 ข่าวสาร 4 การให้บริการ 5 ติดต่อเรา | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
5 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2562 | กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร | ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
6 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
4.2. | 2563 | โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น | 1.เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 2.เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ | เพื่อให้มีข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล และประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแก่ผู้ประกอบการเป้าหมาย | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
7 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2563 | กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร | ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
8 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | กิจกรรมจัดทำระบบฐานข้อมูล | ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีกำรรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่ำงๆ ในสื่อต่ำงๆ ฐำนข้อมูล (Database) หมำยถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่ำข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลำยๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ควำมส�ำเร็จของกำรพัฒนำฐำนข้อมูล หมำยถึง กำรจัดกำรฐำนข้อมูล (Database) โดยกำรน�ำเข้ำข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีกำรแบ่งปันกำรใช้งำนข้อมูล ตำมแผนกำรพัฒนำฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และเกิดประโยชน์ต่อกำรพัฒนำกำรปฏิบัติงำนตำมภำรกิจหลักของหน่วยงำน และภำพรวมของกรุงเทพมหำน | เพื่อจัดทำฐานข้อมูลฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 | ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงำนทบทวนสถำนะข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล หรือฐำนข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่น�ำไปประกอบกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยของผู้บริหำรกรุงเทพมหำนคร โดยพิจำรณำ จำกนโยบำย แผนพัฒนำกรุงเทพมหำนคร มำตรฐำนบริกำรสำธำรณะของกรุงเทพมหำนคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงำนน�ำข้อมูลตำมขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจ�ำเป็นตำมภำรกิจหลักมำจัดล�ำดับควำมส�ำคัญ และพิจำรณำคัดเลือกภำรกิจหลัก ที่จะด�ำเนินกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล จ�ำนวน 1 ฐำนข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่ำนกำรพิจำรณำจำกส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงำนต้องจัดท�ำแผนพัฒนำ ฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และส่งให้ส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลภำยในเดือนมกรำคม 2563 โดยมีรำยละเอียด อย่ำงน้อย ดังนี้ 3.1 จัดท�ำรำยละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องกำรจัดเก็บ 3.2 ก�ำหนดแหล่งข้อมูลในกำรจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบกำรจัดเก็บข้อมูล 3.4 ก�ำหนดผู้รับผิดชอบในกำรจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงำน 3.5 ก�ำหนดเครื่องมือในกำรจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดท�ำปฏิทินกำรด�ำเนินงำนเพื่อให้เป็นไปตำมระยะเวลำที่ก�ำหนขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานด�ำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานน�ำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มน�ำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือน มิถุนายน 2563 ซึ่งการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละความส�ำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทิน ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด และต้องด�ำเนินการตามล�ำดับขั้นตอนโดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
9 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
.. | 2564 | ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด | ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชน และการพัฒนาประเทศ กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในระดับรุนแรง รวมทั้งเป็นทางผ่านการนำเข้า การส่งออก และเป็นจุดพักยาเสพติด จึงจำเป็นต้องใช้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดำเนินงาน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด และมอบหมายให้ทุกหน่วยงานดำเนินการแบบบูรณาการทั้งแผนงาน งบประมาณ และการปฏิบัติการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งมีเป้าหมายในการลดระดับปัญหา ให้เห็นเป็นรูปธรรม เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่เศรษฐกิจ มีการย้ายถิ่นของแรงงานจากต่างจังหวัด และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเป็นประชากรแฝงในพื้นที่เป็นจำนวนมาก จึงยากต่อการควบคุม ดูแล ซึ่งผลการปราบปรามทั้งผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สามารถจับกุม ผู้กระทำความผิดพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ได้เป็นจำนวนมาก กรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดนโยบายเร่งด่วน ประกอบกับการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ซึ่งกำหนดมาตรการสนับสนุนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน ให้กระจายครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้เห็นความสำคัญของการดำเนินงานดังกล่าว จึงจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ขึ้น เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ | 3.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 3.2 เพื่อสนับสนุนการดำเนินการงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด | ร้อยละ 65 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการค่าใช้จ่ายอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด | 42,200.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2020-10-01 00:00:00 | 2021-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 40.00 |
10 | 1.0.5. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
.. | 2564 | กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | ด้วยกรุงเทพมหานครได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งมีการดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครพบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารดีขึ้นโดยลำดับ และเพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืน และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครให้มีความต่อเนื่อง ทั้งยังส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ ได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัย ในพื้นที่ ให้ได้รับการคุ้มครองสุขภาพ จากการบริโภคอาหารปลอดภัย | 3.1.1 เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐาน ด้านสุขลักษณะในสถานประกอบการอาหาร 3.1.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการอาหาร 3.1.3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจ ในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภั | 3.2.1 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 95 3.2.2 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ร้อยละ 100 3.2.3 สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 | 71,000.00 | 0.00 | สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ | 2020-10-01 00:00:00 | 2021-10-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
รวม ->10 โครงการ | 0 | 0.00 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0 | 0 | 0 |