ลำดับ | ยุทธศาสตร์ 20 ปี | แผนแม่บทไอที | ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | หลักการและเหตุผล | วัตถุประสงค์โครงการ | เป้าหมายโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ | งบประมาณที่ใช้ไป | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | เริ่มโครงการ | สิ้นสุดโครงการ | สถานะโครงการ | คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 | 4.0.4. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
4.2. | 2560 | กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล | เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้ัองตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง | ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้องร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
2 | 4.0.4. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
4.2. | 2560 | กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 | การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
3 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2561 | กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาต ก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล ระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล | เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องตาม ระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง | มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
4 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2562 | ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร.900 | การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.900 ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
5 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
4.2. | 2563 | กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน | ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อนสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และการลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผลระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล | เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง | มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
6 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
4.2. | 2563 | กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตประเวศ | พิจารณาจากกระบวนการในการดำเนินงาน ทั้งการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำ รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน โดยมีวิธีการดำเนินการทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการ ตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญ และพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 โดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 จัดทำรายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 กำหนดแหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 3.4 กำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน 3.5 กำหนดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ซึ่งการดำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด และต้องดำเนินการตามลำดับขั้นตอน โดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง | - จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน | - 1 ฐานข้อมูล | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
7 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
.. | 2564 | ค่าใช้ในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม | กรุงเทพมหานครส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้ถึงการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในด้านการจัดสวัสดิการสังคม การป้องกัน การบรรเทาปัญหาและการพัฒนาฟื้นฟูแก่ประชาชน ผู้ประสบปัญหา จึงได้จัดทำโครงการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมขึ้น เพื่อประสานการทำงานให้อยู่ในรูปแบบการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชนอย่างแท้จริง | ประชาชนผู้ใช้บริการในพื้นที่เขตประเวศ ด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงสวัสดิการของรัฐ และการสังคมสงเคราะห์ เกิดความพึงพอใจในการให้บริการของเขตประเวศ | 1. จ้างอาสาสมัครปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม ประจำสำนักงานเขจประเวศ จำนวน 4 อัตรา ดังนี้ 1.1 อาสาสมัครวุฒิปริญญาตรี จำนวน 2 คน (วุฒิปริญญาตรี) จำนวน 2 อัตรา 1.2 อาสาสมัครช่วยงานสังคมสงเคราะห์ (วุฒิไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 อัตรา 2. กลุ่มเป้าหมายทุกระดับได้รับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ ได้รับสวัสดิการและการสางเสริมพัฒนาอย่างครอบคลุมทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือในกรณีจำเป็นได้รวดเร็ว 3. เกิดเครือข่ายการทำงานด้านสวัสดิการสังคม การให้บริการและการสงเคราะห์ช่วยเหลือแก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส ของทุกภาคส่วนของพื้นที่เขตประเวศ | 585,140.00 | 372,035.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2020-10-01 00:00:00 | 2021-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
8 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
.. | 2564 | โครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร | สำนักงานเขตประเวศตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ ข้างต้น โดยเฉพาะการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถที่นับวันจะถูกลบเลือนหายไปในที่สุด จึงได้จัดทำโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์สืบทอดผลงานและเป็นที่รวบรวมผลงานต่างๆ ของผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ให้แก่เยาวชนรุ่นหลังได้เรียนรู้และคงอยู่ตลอดไป | 1. เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา และสืบทอดผลงานที่สร้างสรรค์ให้คงอยู่ตลอดไป 2. ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้รับการคัดเลือกการแสดงผลงานในพื้นที่ | ดำเนินงาน 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 รับสมัครและคัดเลือกผลงานของผู้สูงอายุและรวบรวมสู่ธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภูมิลำเนาอาศัยในกรุงเทพมหานคร ที่มีความรู้ความสามารถตามประเภทสาขาเกษตรกรรม คหกรรม ศิลปกรรม สาธารณสุข ภาษา วรรณกรรม และอื่นๆ กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้สูงอายุที่ควรอนุรักษ์ ประกอบด้วย ประชาชนทั่วไป และผู้สูงอายุ จำนวนทั้งสิ้น 100 คน | 10,000.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2020-10-01 00:00:00 | 2021-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 80.00 |
9 | 4.0.1. ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
0.0.0 | 2564 | โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 | การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน | 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และ เลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตประเวศ | 2020-10-01 00:00:00 | 2021-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
รวม ->9 โครงการ | 0 | 0.00 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0 | 0 | 0 |