รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 303 โครงการ

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 1.0.1. 4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบจากข้อมูลใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 32 ทวิ ประกอบกับกฎกระทรวงกำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ พ.ศ. 2548 กำหนดให้อาคารสาธารณะ 9 ประเภท โดยการพิจารณาคัดแยกจากใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรอื ยผ.4 ที่กองควบคุมอาคารออกระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 โดยฐานข้อมูลมีข้อมูลเลขที่ใบอนุญาต ใบรับแจ้ง ชื่อเจ้าของอาคาร ที่ตั้งอาคาร พิกัดอาคาร ลักษณะและการใช้สอยอาคารเป็นต้น จัดทำฐานข้อมูลอาคารสาธารณะ 9 ประเภท พร้อมผลการประเมินผลความเสื่ยงของอาคาร ร้อยละ 80 ของจำนวนใบอนุญาต อ.1 และใบแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่างปี พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 ที่ได้รับการพิจารณาคัดแยกเพื่อจัดทำฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 1.0.1. 4.2. 2560 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ (กสน.) กรุงเทพมหานครประสบปัญหาน้ำท่วมขังจากฝนตกในพื้นที่อยู่บ่อยครั้ง ทั้งท่วมขังในซอยต่างๆ และในถนนสายหลัก ซึ่งในปัจจุบันสำนักการระบายน้ำได้มีการจัดทำระบบติดตามตรวจวัดสภาพน้ำครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งข้อมูลปริมาณฝน ระดับน้ำ อัตราการไหล และระดับน้ำท่วมบนถนน แต่ยังขาดเครื่องมือประมวลผล วิเคราะห์และสั่งการ สำรหับการจัดการระบายน้ำที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นสำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำแผนหลักการพัฒนาระบบจัดการการระบายน้ำเชิงรุก เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการนำเครื่องมือทีมีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ได้ เพื่อจัดหาระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักการระบายน้ำ ซึ่งส่งผลต่อภารกิจด้านการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้มีประสิทธิภาพ มีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
3 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 7,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,300,000.00 9,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,400,000.00 23,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 127,283,000.00 127,283,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 50,200,000.00 50,200,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 7,400,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 22,500,000.00 22,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 20,000,000.00 20,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 23,800,000.00 23,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 17,700,000.00 17,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 4,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
14 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,900,000.00 23,900,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,700,000.00 13,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,300,000.00 2,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
17 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 25,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-11-07 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,300,000.00 16,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,430,000.00 2,430,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
20 1.0.1. 3.1. 2560 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 11,700,000.00 11,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 1.0.1. 3.1. 2560 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบึงหนองบอน ซึ่งเป็นบึงขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างไว้ให้เป็นโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริสำหรับรับน้ำในช่วงหน้าฝน ซึ่งปัจจุบันบึงรับน้ำหนองบอนเป็นศูนย์กีฬาทางน้ำ ที่มีเรือหลายชนิดไว้ให้ผู้ที่สนใจกีฬาทางน้ำได้ไปใช้บริการกัน เช่น เรือใบ วินเซิร์ฟ เรือคายัค และพื้นที่โดยรอบยังเป็นที่นิยมของผู้ที่ชอบการปั่นจักรยาน ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน จำนวน 50 ชุด โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอนได้ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,426,000.00 11,426,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 1.0.1. 3.1. 2560 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบอาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักและรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้อำนวยการเขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 1.0.1. 3.1. 2560 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานครกำหนดแผนปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภาระกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานครให้การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานบรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2560 ด้านที่ 9 เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานโดยการส่งมอบบริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชน ซึ่งโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร มุ่งสนองต่อความต้องการของประชาชนในสังคมยุคใหม่ให้สู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ(Best Service Organization) ด้วยการลดระยะเวลาการให้บริการอย่างรวดเร็ว ถูกต้องทั่วถึงและเป็นธรรม 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์การชั้นเลิศด้านการบริการ 2. เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการประชาชนที่มารับบริการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎร 3. เพื่อให้ผู้มาติดต่อขอรับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. ผู้มารับบริการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ระยะเวลาการให้บริการลดลงร้อยละ 30 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
24 1.0.1. 4.2. 2561 16.กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จาก กองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
25 1.0.3. 4.2. 2561 5.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
26 1.0.1. 3.1. 2561 15.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ. 2560 จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 1.0.1. 4.2. 2561 7.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560 - กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
28 1.0.1. 3.1. 2561 14.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท (ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ที่ได้รับ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
29 1.0.1. 6.2. 2561 โครงการศึกษาวิจัยพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) สวนสาธารณะเป็นสถานที่พักผ่อนที่ประชาชนจำนวนมากเข้ามาใช้บริการ เพื่อประกอบกิจกรรมในด้านต่างๆ เช่น การออกกำลังกาย การพบปะสังสรรค์ หรือชุมนุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น ซึ่งทางผู้รับผิดชอบต้องมีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ห้องน้ำ และสถานที่จำหน่ายอาหารไว้รองรับผู้มาใช้บริการ อีกทั้งเนื่องจากสวนสาธารณะต้องมีการจัดสถานที่ให้สวยงามและร่มรื่นสำหรับผู้มาใช้บริการ ทำให้สวนสาธารณะต้องมีการใช้ปุ๋ยเป็นจำนวนมากในการบำรุงรักษาต้นไม้ ซึ่งเมื่อเกิดฝนตกจะทำให้ปุ๋ยบางส่วนถูกชะล้างลงสู่บึงในสวนสาธารณะ ประกอบกับมีประชาชนให้อาหารปลา ทำให้ปริมาณปลาในบึงเพิ่มมากขึ้น เป็นสาเหตุให้น้ำในบึงมีธาตุอาหารพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ซึ่งธาตุอาหารทั้งสองชนิดดังกล่าวเป็นธาตุที่สาหร่ายใช้ในการเจริญเติบโต ทำให้เกิดปัญหา Eutrophication ในแหล่งน้ำ โดยในช่วงกลางวันจะพบว่าน้ำในบึงมีสีเขียวเนื่องจากมีการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย จึงทำให้มีออกซิเจนละลายน้ำอยู่ในปริมาณมาก แต่ในเวลากลางคืนสาหร่ายใช้ออกซิเจนในการเจริญเติบโตทำให้เกิดการแย่งชิงออกซิเจนกับปลาในน้ำ ซึ่งหากปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำไม่เพียงพอให้จะทำให้ปลาตายได้ การบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การใช้สารเคมีเพื่อให้เกิดการตกตะกอน และการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่ง ซึ่งต้องใช้งบประมาณในการออกแบบก่อสร้าง การดำเนินงาน การดูแลรักษา ซึ่งหากใช้วิธีการนี้ก็จะส่งผลให้จำนวนตะกอนที่จะต้องกำจัดเพิ่มมากขึ้น และทำให้น้ำมีสภาพเป็นด่าง อีกทั้งวิธีการนี้ไม่สอดคล้องกลมกลืนกับสภาพของสวนสาธารณะและสภาพคุณลักษณะของน้ำในสวนสาธารณะที่มีค่าความสกปรกอยู่ระหว่าง 5 – 16 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากวิธีการดังได้กล่าวไปแล้วนั้น ยังมีการใช้พืชในการบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้มีการศึกษาอย่างกว้างขวาง เนื่องจากไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นเพื่อกำจัดธาตุอาหาร และความสกปรกในน้ำรวมทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสวนสาธารณะและคุณลักษณะของน้ำในสวนสาธารณะ จึงได้มีการศึกษาชนิดของพืชที่เหมาะสมกับการบำบัดน้ำในสวนสาธารณะโดยการใช้พืชขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลและบำรุงรักษา 1. ศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำของพืชในการกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ในบึงของสวนลุมพินี 2. เพื่อศึกษาชนิดของพืชที่เหมาะสมกับการบำบัดน้ำในสวนลุมพินีและสามารถนำผลไปประยุกต์ใช้กับสวนสาธารณะอื่นได้ 1.น้ำในบึงของสวนลุมพินีได้รับการบำบัดให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น 2.สามารถคัดเลือกพืชที่ใช้ในการกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส 3.เป็นแหล่งศึกษาดูงานสำหรับประชาชนและหน่วยงานที่สนใจ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 18,300,000.00 13,725,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 26,500,000.00 19,875,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
33 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 19,800,000.00 14,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
34 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 25,700,000.00 19,275,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
35 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 21,900,000.00 16,425,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-11-07 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
36 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 7,400,000.00 5,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
37 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 7,800,000.00 5,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
38 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 48,600,000.00 36,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
39 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 11,250,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
40 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 9,000,000.00 6,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
41 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 13,300,000.00 9,975,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
42 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 23,300,000.00 17,475,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
43 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 2,000,000.00 1,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
44 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,800,000.00 3,600,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
45 1.0.1. 3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
46 1.0.1. 3.1. 2561 จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 13,870,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
47 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 21,000,000.00 15,750,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
48 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 35,800,000.00 26,850,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
49 1.0.1. 3.1. 2561 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
50 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 5,800,000.00 4,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
51 1.0.1. 3.1. 2561 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง บริเวณชุมนุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,100,000.00 3,075,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
52 1.0.1. 3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางรัก ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
53 1.0.1. 3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
54 1.0.1. 3.1. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
55 1.0.1. 3.1. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 ยกเลิก 50.00
56 1.0.1. 3.1. 2561 โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
57 1.0.1. 3.1. 2561 กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) การตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญ เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มความปลอดภัยเพื่อให้การสนับสนุนการทำงานร่วมกับฝ่ายความมั่นคง การตรวจสอบภาพบริเวณที่เกิดเหตุ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการสำเนาภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการสืบสวนและนำไปประกอบคดีจากเหตุสาธาณภัยดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญภายในพื้นที่เขต 2.เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว โดยใช้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดในการเฝูาระวังการกระทาความผิด ตรวจจับการกระทาความผิด และบันทึกภาพไว้เป็นหลักฐานในการดาเนินคดี 3.ช่วยเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตารวจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงสามารถทางานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด 4.สามารถใช้ข้อมูลจากกล้องวงจรปิดในการสืบค้นและเป็นหลักฐานในการติดตามเหตุการณ์ต่างๆเพื่อความรวดเร็วและแม่นยาในการจับกุมผู้กระทาความผิด ที่ก่อเหตุในพื้นที่ได้ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีราชื่อติดตั้งกล้อง (CCTV) อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
58 1.0.1. 3.1. 2561 โครงการตรวจประสิทธิภาพการทำงานกล้องวงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย ,เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก ,เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน และเพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก 3. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน 4. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที 1. ซอยแสนสุข ถนนพระราม 4 2. ซอยแสนสบาย ถนนพระราม 4 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
59 1.0.2. 3.1. 2562 กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานการใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามโปรแกรมผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เนท (สยส.) - จากรายงานผลการบำบัดรักษายาเสพติดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 15 ปี ที่ใช้ยาเสพติดครั้งแรกมีจำนวน 1,539 คน คิดเป็นร้อยละ 13.25 มีข้อมูลจากสถานพินิจกรุงเทพมหานครในงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนในสถานพินิจทีมีอายุ 13 - 18 ปี จำนวน 171 คน พบมีการใช้ยาในทางที่ผิด ได้แก่ โปรโคดิล ทรามาดอล จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของเด็กและเยาวชน ในการใช้ยาในทางที่ผิด และจะนำไปสู่การใช้ยาเสพติดอื่นต่อไป นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 12 - 15 ปีจัดอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น (เทคนิคการทำงานของเด็กและเยาวชน : มาดี ลิ่มสกุล,2560) ของวัยรุ่นในช่วงอายุนี้จะมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เป็นความเป็นตัวของตัวเอง อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับให้คนอื่นเห็นคุณค่า บางครั้งเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ให้ความสำคัญกับเพื่อนร่วมวัย ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการใช้ยาในทางที่ผิดและยาเสพติดได้ง่ายขึ้น กรุงเทพมหานคร ตระหนักความสำคัญของปัญหาดังกล่าว สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด จึงร่วมกับกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล พัฒนาแบบประเมินดังกล่าว โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการแปรผลและประมวลผล มีฐานข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อให้นักเรียนได้ประเมินตนเองจากแบบประเมินภูมิคุ้มกันฯ ซึ่งคัดกรองนักเรียนได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภูมิคุ้มกันปกติ กลุ่มภูมิคุ้มกันต่ำ และกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถจัดกิจกรรม ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้รวดเร็วถูกต้อง และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที - 1.เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมานครมีการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 109 โรงเรียน มีการคัดกรองนักเรียนโดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ - 1.เพื่อค้นหาคัดกรองนักเนรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภูมิคุ้มกันต่ำและเสี่ยงต่อการมใช้ยาและสารเสพติดและจัดบริการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม 2.เพื่อัฒนาระบบคัดครองให้มีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
60 1.0.3. 6.2. 2562 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2562 (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) การประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์หรือกระบวนการในการปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคม ให้เกิดขึ้นในองค์กร นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดประกวดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานที่ทำประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัยผู้สนใจส่งผลงานเข้าประกวด - จัดประกวดผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยจัดประชุมคณะกรรมการ 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 450 คน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่นวัตกรรมฯ ปี พ.ศ.2562 จำนวน 1,000 เล่ม 900,000.00 898,973.25 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
61 1.0.5. 4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร (กสอ.) (ข้อบัญญัติฯ) กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสําคัญในการควบคุมกํากับดูแลการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายว่าด้วยอาหาร ในสถานประกอบการอาหารในกรุงเทพมหานคร ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตลาด และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอาหารอยู่บ่อยๆ มีทั้งผู้ประกอบการรายใหม่ เลิกกิจการ และเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอื่นๆ โดยเป็นการปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง ๕๐ สํานักงานเขต ประกอบด้วยภารกิจที่ต้องดำเนินการทั้งในส่วนของการตรวจประเมินสุขลักษณะสถานประกอบการ การตรวจเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ การส่งเสริมความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้สัมผัสอาหารตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข การตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปัจจุบันการดำเนินงานดังกล่าวนั้น ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกันอย่างเป็นระบบ ทำให้การปฎิบัติงานมีความยากลำบาก และทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ประกอบกับระบบสารสนเทศอาหารปลอดภัยเดิมได้ใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ มีการเสื่อมสภาพ และเทคโนโลยีไม่รองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้นและความต้องการใช้งานของเจ้าหน้าที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหารขึ้นตามสภาพสังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบเดียว ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน และเป็นการจัดการระบบฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านการสุขาภิบาลอาหารให้มีศักยภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในอนาคตได้ดีขึ้น กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการบริหารจัดการ ควบคุม จัดทำรายงาน วิเคราะห์วางแผนการปฎิบัติงาน และแผนงบประมาณในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร -//- 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานครได้ 2. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการดำเนินงานตามภารกิจด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกองสุขาภิบาลอาหาร และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต -//- พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่มีข้อมูล ครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ-//- 5,750,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
62 1.0.2. .. 2562 โครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน (สยส.) -- การทำงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงสถานะและสภาพปัญหายาเสพติดในชุมชนในทิศทางที่ดี โดยความสามารถของชุมชนในการดำเนินงานในพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่อง บุคลากรจำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนทักษะที่จำเป็น นำไปสู่การบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ของตนเองได้ สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเห็นความสำคัญ ของการพัฒนาบุคลากร จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติดในชุมชน เพื่อพัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีองค์ความรู้และทักษะการเป็นพี่เลี้ยงในชุมชน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้าง ความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองได้อย่างยั่งยืน 492,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-11-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
63 1.0.1. .. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมาย และมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. ๒๕56 – ๒๕7๕) ตลอดจนการบริหารจัดการและการพัฒนาในทิศทางที่ถูกต้อง และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น โดยมีแผน และกิจกรรมเพื่อการขับเคลื่อนโครงการฯ ดังนี้ ๑. แผนพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ ๑ สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต เป็นกิจกรรมสนับสนุนบทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง 50 สำนักงานเขต ในฐานะหน่วยปฏิบัติการในระดับพื้นที่เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานครและสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัย ในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ โดยตัดโอนเงินให้สำนักงานเขต ๕๐ เขต งานควบคุมอนามัย เป็นเงิน ๘,๒๕๓,๗๕๐ บาท (แปดล้านสองแสนห้าหมื่นสามพัน เจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ดังนี้ กิจกรรมย่อย ที่ 1.1 การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต 50 เขต โดยกำหนดขอบเขตดำเนินการ ดังนี้ ๑. ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล โดยให้สำนักงานเขตดำเนินการบริหารจัดการเพื่อเบิกจ่ายค่าตอบแทนฯ ได้ตลอดปีงบประมาณ ๒. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน ๓. ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร ๔. ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๕. ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพการควบคุมป้องกันโรคในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๖. ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัดมลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗. ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ 1.๒ การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยกำหนดให้มีการจัดประชุมชี้แจง การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน รวมถึงการจัดสรรงบประมาณ ให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ. 2560 กิจกรรมที่ ๒ การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ กิจกรรมย่อย ที่ ๒.1 ส่งเสริมการป้องกันปัญหามลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรม เป็นกิจกรรมส่งเสริมการป้องกันมลพิษปัญหาฝุ่นละลองขนาดเล็ก (PM2.5) จากแหล่งกำเนิดหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม การสร้างความตระหนักและการมีส่วนรวมของผู้ประกอบการให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณภาพอากาศที่ดีของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมย่อย ที่ ๒.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสถานประกอบการให้ปลอดภัย และมีการพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการ เพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญเรื่องเสียงดังแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง และเป็นการสนับสนุนและส่งเสริม ให้กรุงเทพมหานครเป็นมหานครปลอดภัย ปลอดมลภาวะทางเสียง กิจกรรมย่อย ที่ ๒.3 กิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้ประกอบกิจการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ เกี่ยวกับการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข เพื่อควบคุมกิจการดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทั้งในด้านสุขลักษณะ การป้องกันอันตรายหรือเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน ตลอดจนมีการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน คุณสมบัติของพนักงาน ให้เป็นไปตาม ที่กฎหมายกำหนด กิจกรรมย่อย ที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน กิจกรรมที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในอาคารสาธารณะ กิจกรรมย่อย ที่ ๓.1 การส่งเสริมพัฒนาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในศาสนสถาน (วัดและศาลเจ้า) เป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้วัดและศาลเจ้ามีการจัดการสุขลักษณะของสถานที่ ให้มีความสะอาด ลดการระบาดของโรคติดต่อต่างๆ และลดการปล่อยมลพิษสิ่งแวดล้อมออกสู่ภายนอก โดยเฉพาะฝุ่นละอองและเขม่าควันจากกิจกรรมฌาปนกิจศพและการเผากระดาษเงินกระดาษทองตามประเพณี ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลศาสนสถาน กิจกรรมย่อย ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ใน 12 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร โรงพยาบาล ศาสนสถาน สวนสาธารณะ สถานที่ราชการสถานศึกษา สถานีขนส่ง สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า แหล่งท่องเที่ยว และห้องน้ำริมทาง ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร และจัดกิจกรรมการประกวดสุดยอดห้องน้ำปีของกรุงเทพมหานคร เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและความตระหนักถึงความสำคัญของห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 4 การตรวจวัดการปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นกิจกรรมจ้างเหมา ตรวจวัด หรือเฝ้าระวังการปนเปื้อนของมลพิษจากกิจกรรมหรือ การประกอบกิจการใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ที่เกินขีดความสามารถของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องของสำนักงานเขต จำเป็นต้องได้รับความรู้ ขั้นตอน วิธีการในการปฏิบัติงานตามกฎหมายและอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรมเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทั้ง ๕๐ สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายฯ โดยจัดทำสื่อเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต และจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขตเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 9.1 อาคารสถานที่ สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย มีสภาวะทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย เหมาะสมต่อความเป็นอยู่การพักอาศัย การทำงาน การประกอบอาชีพ ส่งผลให้ประชาชนมีการดำรงชีพอย่างเป็นปกติสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น 9.2 เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีศักยภาพพร้อมในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ และสามารถดำเนินการจัดการปัญหาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ส่งผลให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย 9.3 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ก่อเหตุรำคาญ หรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน สิ่งแวดล้อม และชุมชนที่อยู่โดยรอบสถานประกอบการ 9.4 สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องต่อการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
64 1.0.3. .. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ) - - 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
65 1.0.3. .. 2562 โครงการกรุงเทพเมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีสะอาดปลอดภัย เพิ่มมอีก 12,284,850.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
66 1.0.2. .. 2562 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อ 232,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
67 1.0.1. .. 2562 อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 19,715,505.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2022-03-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
68 1.0.1. .. 2562 พัฒนาการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในชุมชน 860,450.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
69 1.0.1. .. 2562 ชุมชนร่วมใจระวังภัยยาเสพติด 494,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
70 1.0.1. .. 2562 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
71 1.0.1. .. 2562 การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
72 1.0.1. .. 2562 การสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการฏิบัติการพยาบาล 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
73 1.0.1. .. 2562 การพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
74 1.0.1. .. 2562 การให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 14,750,800.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
75 1.0.1. .. 2562 ก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
76 1.0.3. .. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในสถานประกอบการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
77 1.0.3. .. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมการควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) สสว. 2,365,985.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
78 1.0.2. .. 2562 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด (สยส.) 2,798,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
79 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
80 1.0.1. .. 2562 โครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ (กสภ.) 514,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
81 1.0.1. .. 2562 โครงการการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (กสภ.) 634,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
82 1.0.1. .. 2562 โครงการพัฒนาบริการสุขภาพจิตชุมชน (กสภ.) 1,149,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
83 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมคลินิกครอบครัวอบอุ่น (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
84 1.0.1. .. 2562 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กสภ.) 130,750.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
85 1.0.3. .. 2562 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งผู้ประกอบอาชีพปลอดโรค ปลอดภัยมีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี 479,300.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
86 1.0.1. .. 2562 โครงการบรูณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กคร.) 425,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
87 1.0.1. .. 2562 โครงการพัฒนากระบวนการเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค (กคร.) 246,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
88 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (กคร.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
89 1.0.1. .. 2562 โครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ (กคร.) 161,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
90 1.0.1. .. 2562 โครงการฟื้นฟูศักยภาพผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (กคร.) 262,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
91 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
92 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมผ่าตัดทำหมันสุนัขและแมว (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
93 1.0.1. .. 2562 กิจกรรมควบคุมดูแลให้ที่พักพิงสุนัข (สสธ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
94 1.0.1. .. 2562 โครงการทำหมันสุนัขจรจัดปล่อยกลับที่เดิม (สสธ.) 450,480.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
95 1.0.1. .. 2562 โครงการการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข (กพส.) 1,770,600.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
96 1.0.1. .. 2562 โครงการการสร้างงานวิจัยทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการพยาบาล (กพส.) 724,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
97 1.0.1. .. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนักอนามัย 2564 (กสภ.) 1,800,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
98 1.0.1. .. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
99 1.0.1. .. 2562 โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ (Preventive Long-Term Care) (กสภ.) 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
100 1.0.1. .. 2562 โครงการบูรณาการเครือข่ายระบบส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) (กพส.) 312,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
101 1.0.1. .. 2562 โครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สุงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) 8,552,100.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
102 1.0.1. .. 2562 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารการพยาบาล (ด้านบริหารอนามัย) รุ่นที่ 21 (กพส.) 4,145,400.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
103 1.0.1. .. 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward (กพส.) 1,082,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
104 1.0.1. .. 2562 โครงการฝึกอบรมปฐมนิเทศบุคลากรสายงานพยาบาลเพื่อสร้างองคืความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติในการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กพส.) 217,900.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 10.00
105 1.0.1. .. 2562 โครงการคนกรุงเทพฯ รักฟัน (เพื่อเข้าสู่วัยสุงอายุฟันดี) (กทส.) 1,000,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
106 1.0.1. .. 2562 โครงการอาสาสมัครสาธารรสุขกรุงเทพมหานครร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ (กสภ.) 2,310,200.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
107 1.0.1. .. 2562 โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร (กสภ.) 1,815,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 9.00
108 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรม การจัดทฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
109 1.0.1. 4.2. 2562 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
110 1.0.1. 4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
111 1.0.1. 6.2. 2562 โครงการศึกษาวิจัยพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) ในปัจจุบันโรงควบคุมคุณภาพน้ำทุ่งครุสามารถรองรับการบำบัดน้ำเสียได้มากถึง 65,000 ลุกบาศก์เมตรต่อวัน โดยระบบหลักที่ใช้ในการลดสารอินทรีย์ คือ ระบบบำบัดแบบใช้อากาศ เนื่องจากปัจจุบันการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเพื่มจำนวนของประชากรทำให้ปริมาณน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดมากขึ้น อีกทั้งพื้นที่โรงควบคุมคุณภาพน้ำทุ่งครุมีจำกัดจึงไม่สามารถขยายขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียได้ จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาหาแนวทางในการปรัปปรุงระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถรับภาระสารอินทรีย์ที่เพิ่มมากขึ้น การใส่ตัวกลางในระบบบำบัดน้ำเสียจะเป็นการเพิ่มพื้นที่ยึดเกาะให้กับจุลินทรีย์ในระบบ ทำให้เกิดฟิล์มชีวะ ขึ้นในระบบและความหลากหลายของชนิดจุลินทรีย์เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ความสามารถในการบำบัดสูงขึ้นตามไปด้วย ในการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลของตัวกลางต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อศึกษาผลของตัวกลาง(PVA Gel)ต่ออัตราการไหลที่ยังคงประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียชุมชนในระบบบำบัดแบบใช้อากาศ ได้แนวทางในการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเมื่อมีอัตราการไหลที่สูงขึ้นในอนาคต 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
112 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2015-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
113 1.0.1. 3.1. 2562 ค่าบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 29,860,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
114 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 – กันยายน 2562 21,500,000.00 21,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
115 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 17,500,000.00 17,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
116 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) 12 ศูนย์ 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 19,880,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
117 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 6,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
118 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุการณ์ตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพ บริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในระยะที่ 1 ดำเนินงานแล้วเสร็จปลายปี 2556 สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี ประกอบด้วย สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง เพื่อให้การติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่บริเวณดังกล่าว เพื่อการให้บริการประชาชน ซึ่งเป็นแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร แหล่งพัฒนาความรู้ของเยาวชน และสถานที่ออกกำลังกายตามพื้นที่ต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยระบบจะทำการเก็บบันทึกข้อมูลภาพ ณ ห้องควบคุมระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของแต่ละสถานที่ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง ๓๐ วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครประกอบด้วย สวนสาธารณะ 15 สวน รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 460 กล้อง ๓.๑ เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในบริเวณสวนสาธารณะ ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครให้แก่ประชาชน ๓.๒ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ได้ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี ๓.๓ เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครรวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน ติดตั้งกล้อง CCTV สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง 50,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
119 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 2.2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 2.5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 3.1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 3.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 3.3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 3.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 3.5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
120 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา 1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
121 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
122 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
123 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
124 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 5,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
125 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณป้อมมหากาฬ เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อีกทั้งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ ป้อมมหากาฬ ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เนื่องจากเป็นสถานที่สำคัญ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประชาชนภายนอกมาใช้บริการกันมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณ ป้อมมหากาฬ กรุงเทพมหานคร จำนวน 36 ชุด และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน พร้อมทั้งเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลต่างๆ จากห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจรศาลาว่าการ-กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพจากศูนย์กลางได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในป้อมมหากาฬ 2.2 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณภายในป้อมมหากาฬกรุงเทพมหานคร โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในภายในป้อมมหากาฬ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 4.1 สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมภายในป้อมมหากาฬ และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 4.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับผู้มาใช้บริการประชาชนที่ใช้บริการป้อมมหากาฬได้ 4.3 สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการ ก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4.5 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 4.6 สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 10,240,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
126 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา 6,550,000.00 6,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
127 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 7,570,000.00 7,570,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
128 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 19,530,000.00 19,530,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
129 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 40,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
130 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 18,300,000.00 18,300,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-11-07 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
131 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 16,500,000.00 16,500,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
132 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง 22,050,000.00 22,050,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
133 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง 15,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
134 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 4,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
135 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 19,490,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
136 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 11,400,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
137 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 1,730,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
138 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 12,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
139 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 4,000,000.00 4,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
140 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้ง บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
141 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ดูแล รักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 3,200,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
142 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 10 เดือน 295,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
143 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
144 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 250,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
145 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน 26,570,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
146 1.0.1. 3.1. 2562 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 15,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
147 1.0.1. 3.1. 2562 จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 307,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
148 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม 8 พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่ของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานคร เป็นนโยบายสำคัญที่ต้องดำเนินการ โดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีคนพลุกพล่าน สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดเหตุร้าย เช่น สะพานพระราม ๘ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ภายในบริเวณใกล้เคียงสะพานพระราม ๘ แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ และยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อยและสังเกตสถานการณ์ต่าง ๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดปัญหาการโจรกรรม อาชญากรรม และอัตวินิบาตกรรม ที่เกิดขึ้นในบริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร โดยจะดำเนินการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร ที่กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมไม่สามารถตรวจตราได้ เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่สะพานพระราม ๘ และบริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 30 กล้อง โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปยัง สถานีตำรวจนครบาลบวรมงคล สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตพระนคร เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพปัจจุบันและดูภาพย้อนหลัง รวมทั้งใช้ในการบันทึกภาพ โดยสามารถตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จ้างเหมาจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม ๘ เพื่อดูแลความเรียบร้อย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณสะพานพระราม 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมและเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. เพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 11,890,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
149 1.0.2. 4.2. 2562 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศช่วยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใช้ในการวางแผน ตัดสินใจ และกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สาหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้าหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กาจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ามันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย 28,000,000.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
150 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจสอบ 24 ครั้ง/ปี (เดือนละ 2 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
151 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
152 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานครมีนโยบายเพิ่มความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะและลดจุดเสี่ยงอาชญากรรม เพื่อให้เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่การตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
153 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
154 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
155 1.0.1. 3.1. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
156 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
157 1.0.1. 3.1. 2562 โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
158 1.0.3. 6.2. 2563 กิจกรรมส่งเสริมสร้างผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ปัจจุบันความก้าวหน้าทางวิชาการด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และการวิจัยเกิดขึ้นอย่างมากมาย เกิดการวินิจฉัย การรักษาพยาบาลด้วยวิธีการใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่มีส่วนราชการในสังกัดประกอบด้วยโรงพยาบาล ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) ซึ่งหน้าให้บริการตรวจรักษา ผู้ป่วยทั่วไป และผู้ป่วยเฉพาะทาง รวมทั้งเป็นแหล่งการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน แพทย์ฝึกหัด นักศึกษาแพทย์ นักศึกษาพยาบาล และนักศึกษาด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกสังกัดกรุงเทพมหานคร จำเป็นต้องส่งเสริมให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขมีความก้าวหน้าทางด้านวิชาการ และการส่งเสริมสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ เพื่อนำผลงานมาพัฒนาในด้านการรักษาพยาบาลและเพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานคร การสนับสนุนให้เกิดการสร้างผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ต้องมีการบริหารจัดการ เช่นเดียวกับการให้บริการซึ่งก็ต้องมีการบริหารจัดการเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการให้เกิดการผลงาน คือ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และในอนาคตต่อไปข้างหน้าที่จะเป็นการพัฒนากระบวนการให้บริการประชาชน เนื่องจากค้นพบวิธีการใหม่ทำให้กระบวนการดูแลผู้ป่วยดีขึ้น หลายครั้งมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขหรือตอบปัญหา สามารถพัฒนาต่อยอดไปเป็นงานวิจัย หรือผลงานวัตกรรมที่เชื่อถือได้ และเป็นต้นแบบที่ดี ดังนั้นบุคลากรในสังกัดสำนักการแพทย์ต้องมีการพัฒนาเรียนรู้ สามารถนำแนวคิดและประสบการณ์จากการปฏิบัติงาน ทำให้ผลงานเชิงวิชาการที่มีคุณภาพมากขึ้นและจะเกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ขึ้นได้ 1.เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับความรู้และติดตามวิทยาการความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข 2.เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดงานวิชาการ งานวิจัยในองค์กร การสร้างนวัตกรรม รวมถึงการนำผลการวิจัย และนวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัดได้มีโอกาส แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จัดกิจกรรมการนำเสนอผลงานและการประกวดผลงานนวัตกรรม ผลงานวิชาการ และผลงานการทำงานวิจัยจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ของส่วนราชการในสังกัดสำนักการแพทย์ 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
159 1.0.3. 6.2. 2563 โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2563 (สพธ.) การประกวดและการจัดงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข นับเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำนักอนามัยสามารถกระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้มีความคิดริเริ่ม ซึ่งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขโดยกลุ่มวิจัยและพัฒนาทางสาธารณสุข ริเริ่มและดำเนินโครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ พบว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงการทำงานในงานประจำ ให้มีข้อสังเกตและพัฒนาเป็นผลงานที่เรียบง่ายแต่ได้ประโยชน์ โดยการจัดงานเสนอผลงานผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ กระตุ้นให้เกิดมุมมอง แนวคิดใหม่ๆ ในการพัฒนางานบริการ และสามารถต่อยอดนำองค์ความรู้จากผลงานที่จัดแสดงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ 2.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคิดนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์จากงานประจำ 2.2 จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข แลกเปลี่ยนความคิดเพื่อต่อยอดงานนวัตกรรมฯ ที่ผ่านการตัดสิน และแสดงผลงานนวัตกรรมระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรมงานประจำจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้นำเสนอผลงาน และสามารถนำแนวคิดที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่องานบริการประชาชน ตลอดจนได้เผยแพร่ผลงานให้หน่วยงานต่างๆ ได้รับรู้ เชิงปริมาณ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง ให้กับข้าราชการสำนักอนามัย จำนวน 80 คน - จัดประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 2 ครั้ง - จัดงานแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข 1 ครั้ง โดย มีผู้ร่วมงาน 500 คน/วัน เป็นข้าราชการทั้งในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยมีการประกวดและตัดสินผลงาน ตลอดจนการจัดพิมพ์เอกสารฯ แจกผู้ร่วมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 1,000 เล่ม 1,000,000.00 121,098.25 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
160 1.0.1. 4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2561) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
161 1.0.1. 4.2. 2563 กิจกรรม การจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
162 1.0.1. 4.2. 2563 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 15,342,000.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 76.68
163 1.0.1. 6.2. 2563 โครงการศึกษาวิจัยส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.) กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาระกิจเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำโดยมีโรงควบคุมคุณภาพน้ำบำบัดน้ำเสียซึ่งในแต่ละวันมีปริมาณน้ำเสียที่เข้าระบบปริมาณมาก นั้นหมายถึงค่าไฟฟ้าใช้ในการเดินระบบบำบัดน้ำเสียที่สูงตามปริมาณน้ำเสียที่ผ่านการบำบัด ซึ่งทางหน่วยงานค้นหามาตรการลดการใช้ไฟฟ้าเพื่อลดค่าใช้จ่ายลง พลังงานน้ำเป็นตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ จึงใช้หลักการนี้นำมาศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า กำหนดให้โรงควบคุมคุณภาพน้ำเป็นสถานที่เหมาะสมในการดำเนินการศึกษาวิจัยการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน้ำขนาดเล็ก โดยพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถนำไปเก็บสะสมไว้ในแบตเตอรี่เพื่อเป็นพลังงานไฟฟ้าสำรองใช้ทดแทนพลังงานไฟฟ้าหลักจากการไฟฟ้านครหลวง พลังงานไฟฟ้าส่วนนี้เน้นนำไปใช้ในการส่วนวงจรไฟฟ้าแสงสว่างของโรงควบคุมคุณภาพน้ำ -เพื่อศึกษาวิจัยการนำแรงดันน้ำที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสียมาใช้ ในรูปแบบของการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ -เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จากการนำพลังงานที่มีมาใช้ให้ประโยชน์ที่สูงสุด เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าต้นแบบจากพลังน้ำที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยผลิตไฟฟ้าและมีระบบสำรองพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้กักเก็บไว้ในแบตเตอรี่เพื่อใช้เป็นพลังงานไฟฟ้า เพื่อใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าสนับสนุนภายในโรงควบคุมคุณภาพน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
164 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณ๊ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatmentplant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
165 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่มาใช้งาน บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู่มาใช้ บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 121,119,000.00 82,355,477.83 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
166 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพิ่มความปลอดภัยของ บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 33,504,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
167 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 43,925,100.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
168 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 43,670,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
169 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพดหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ 13,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
170 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 38,945,300.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
171 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 41,040,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
172 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง สำนักงานเขตดุสิต สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตพระนคร สำนักงานเขตวังทองหลาง สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ สำนักงานเขตราชเทวี สำนักงานเขตห้วยขวาง - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
173 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดลัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรบัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรห้ศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพตะร้นออก 12,302,200.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
174 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ สำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตดอนเมือง สำนักงานเขตสายไหม สำนักงานเขตจตุจักร สำนักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ พร้อมเพื่อเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพเหนิอ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
175 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ต่อการเกิดอาชญากรรม กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,365,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
176 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือเพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 122,394,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
177 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ 12,176,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
178 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงาน บริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมระบบบริหารการจัดการบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกัน ต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในปัจจุบันระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ จำนวน 34 กล้อง ซึ่งมีความละเอียดของภาพที่ระดับ D๑ (๗๐๔x๕๗๖ Pixels) เท่านั้น รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV), อุปกรณ์บันทึกภาพ (DVR Recorder), UPS ขนาด 1 KVA, Edge Switch, Distribute Switch, เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับดูกล้อง CCTV, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบันทึกภาพ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก, ตู้ใส่อุปกรณ์ Network, กล่องสวิตซ์ตัดตอน มีอายุการใช้งานที่มากกว่า 10 ปี เริ่มเสื่อมสภาพจากการใช้งานและล้าสมัย ทำให้ภาพที่ได้จากการตรวจจับมีความละเอียดไม่เพียงพอที่จะระบุตัวตนของผู้ก่อเหตุ ระบุรูปพรรณสัณฐานของผู้ต้องสงสัย หรือเหตุการณ์ที่จะนำไปสู่การก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุความรุนแรงได้ ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ระบบโทรทัศน์วงจรปิดดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความทันยุคทันสมัยกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน สำนักการจราจรและขนส่งจึงมีความต้องการที่จะปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม ให้สามารถใช้งานได้อย่างเป็นปกติมีประสิทธิภาพ ทดแทนระบบเก่าที่เสื่อมสภาพและล้าสมัย และเพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย ป้องปราม ติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดทัยบริเวณภายใน เขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐาน วังเทเวศร์ 10,982,400.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
179 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณ แบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สำนักการจราจรและขนส่งได้จัดซื้อกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยและอำนวยการจราจรการจัดกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ “ปั่นเพื่อพ่อ Bike for Dad” ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ และสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ก็สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งยังมีความสามารถในการส่งข้อมูลภาพเหตุการณ์ปัจจุบันไปยังศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร และสามารถเรียกภาพดูย้อนหลังได้ 30 วัน อันเป็นประโยชน์ในการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยช่างผู้ชำนาญการ 2. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานตำรวจในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว 3. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ใช้งานได้อย่างทันท่วงที ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ตลอด 24 ชั่วโมงและสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วนได้อย่างทันท่วงที เป็นระยะเวลา 12 เดือน 3,050,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
180 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อเป็นการใช้สำหรับป้องปราม และรักษาความปลอดภัยระวังเหตุร้าย รวมทั้งประกอบเป็นหลักฐานในกรณีที่มีเหตุไม่ปกติเกิดขึ้น บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ต 2,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
181 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐาน สถานที่สำคัญ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกันต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณที่สำคัญ บริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง โดยรอบเขตพระราชฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ คือ พระบรมมหาราชวัง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วังสระปทุม วังเลอดิส วังเทเวศร์ วังทวีวัฒนา วังศุโขทัย โครงการส่วนพระองค์ 904 พระที่นั่งอัมพรสถานและบริเวณซอยทวีวัฒนา 22 กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 6,700,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
182 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 13,364,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
183 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 27,300,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
184 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา 17,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
185 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 587 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 218 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 267 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 123 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 390 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 96 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 990 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.15 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.16 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 120 กล้อง 11,400,000.00 5,700,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
186 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 9,300,000.00 4,650,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
187 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน ๗ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางขุนเทียน, สำนักงานเขตหนองแขม, สำนักงานเขตบางแค, สำนักงานเขตทุ่งครุ, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สำนักงานเขตบางบอน และสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 55 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 107 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 154 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 780 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 381 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 208 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 134 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 44 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 45 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 95 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 51 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 กล้อง 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.15 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.16 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.17 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 84 กล้อง 10,700,000.00 5,350,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
188 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 20,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
189 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 28,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
190 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 14,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
191 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 23,900,000.00 11,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
192 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 370 กล้อง 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 16,900,000.00 8,450,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
193 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 17,100,000.00 8,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
194 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลางตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 56,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
195 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กทม ต้องการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ให้ใช้งานได้ตลอดเวลา 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
196 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (เกิน) 1 1 1 21,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
197 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพหนือ 16,193,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
198 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 16,100,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
199 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 13,900,000.00 6,950,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
200 1.0.1. 3.1. 2563 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 จำนวน 2,840 จุด 7,500,000.00 5,000,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
201 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) สำนักการจราจรและขนส่งที่เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบ เกี่ยวกับระบบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และระบบจราจร ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการเพิ่มความสะดวกสบายด้านการจราจรและเพิ่มความปลอดภัยให้กับประชาชนตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยติดตั้งระบบบริการจุดรับส่งปลอดภัย บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 48 จุด ที่สำคัญ และมีประชาชนใช้เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทาง โดยสามารถตอบสนองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครด้านมหานครปลอดภัย คือผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการที่มีการรับ-ส่งผู้โดยสาร บริเวณจุดรับส่งปลอดภัย สามารถมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้ และสามารถตอบสนองตามแผนนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านสะดวก โดยเดินทางสะดวก ใช้ชีวิตสะดวก ข้อมูลสะดวก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 48 จุด รวม 144 กล้อง พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) เพื่อบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีการใช้จุดเปลี่ยนถ่ายนี้ในการเดินทาง โดยสามารถตรวจสอบรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของบุคคล เช่น เพศ สีผิว รูปร่าง เสื้อผ้าที่สวมใส่ เป็นต้น พร้อมสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการวางวัตถุต้องสงสัยและรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของวัตถุได้ และสามารถตรวจสอบแผ่นป้ายทะเบียนยานพาหนะ กรณีที่มีการจอดรับ-ส่งผู้โดยสารหรือประชาชน - ติดตั้งระบบเรียกรถบริการสาธารณะอัจฉริยะ โดยระบบสามารถบันทึกภาพของผู้ใช้บริการและทะเบียนรถบริการสาธารณะที่ให้บริการ ซึ่งหากเกิดเหตุอันไม่พึงประสงค์ของผู้โดยสารหรือผู้ให้บริการ ระบบสามารถติดตามผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดีได้ หรือกรณีลืมสัมภาระ สิ่งของบนรถบริการสาธารณะ ก็สามารถติดตามคืนได้ 1. เพื่อจัดระเบียบรถบริการสาธารณะที่จอดกีดขวางช่องทางจราจรและให้ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการสามารถเรียกใช้และให้บริการรถสาธารณะได้อย่างสะดวกและมีความปลอดภัย 2. เพื่อใช้เทคโนโลยีมาอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าตำรวจในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย ในการตรวจสอบผู้กระทำผิด 1. ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) จำนวน 48 จุด 2. เชื่อมโยงข้อมูลของระบบฯ เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) 18,600,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
202 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ 13,304,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
203 1.0.1. 3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทาำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงธนเหนือ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง 19,600,000.00 9,800,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
204 1.0.1. 3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพใต้ สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 25,100,000.00 12,550,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
205 1.0.1. 3.1. 2563 ค่าบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ โดยแบ่งตามพื้นที่ 6 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ศูนย์จตุจักรและศูนย์บางเขน) กลุ่มกรุงเทพกลาง (ศูนย์ราชเทวีและศูนย์ห้วยขวาง) กลุ่มกรุงเทพใต้ (ศูนย์พระโขนงและศูนย์บางคอแหลม) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ศูนย์มีนบุรีและศูนย์บึงกุ่ม) กลุ่มกรุงธนเหนือ (ศูนย์บางพลัดและศูนย์จอมทอง) กลุ่มกรุงธนใต้ (ศูนย์บางบอนและศูนย์ราษฎร์บูรณะ) เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการปรับปรุงระบบบริหารจัดการการเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพ ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า รวมทั้งการดำเนินติดตั้งระบบบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และบริหารจัดการแบบรวมศูนย์เพื่อแสดงภาพ ควบคุม ตรวจสอบเรียกดูภาพย้อนหลัง และปรับปรุงระบบ Multimedia ภายในห้องควบคุมเพื่อสะดวกและง่ายต่อการแสดงผล ติดตามการเคลื่อนไหวที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบตลอดเวลาและการติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพไว้ พร้อมทั้งกำหนดให้มีพนักงานประจำศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทั้ง 13 ศูนย์ สำหรับให้บริการประชาชนในการติดต่อขอสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ย้อนหลัง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ ดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 36,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
206 1.0.1. 0.0.0 2563 โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ฝ่ายธรรมยุต ซึ่งเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 7 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งเป็นวัดแห่งเดียวของกรุงรัตนโกสินทร์ที่เป็นวัดประจำรัชกาลของพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์ และยังเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช องค์พระประมุขแห่งคณะสงฆ์ไทย 2 พระองค์ คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (หม่อมเจ้าภุชงค์ ชมพูนุท สิริวฑฒโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2464 – 2480 และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงคลองวัด ในระหว่างปีพุทธศักราช 2517 – 2531 และเคยเป็นที่พำนักของสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะหลายรูป ซึ่งในปัจจุบันในหลวงรัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “สมเด็จพระมหามุนีวงศ์” (อัมพร อมฺพโร) เจ้าอาวาส วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 โดยจัดให้มีพิธีสถาปนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 และใช้พระนามว่า “สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ” กรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร เล็งเห็นความสำคัญในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน ป้องปราม และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ชุมชน รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ จึงจะดำเนินจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) โดยรอบวัดราชบพิธ และเส้นทางต่อเนื่อง จำนวน 284 กล้อง โดยจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ความละเอียด 1080P ณ จุดติดตั้งไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพทั้งหมดเข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลสำราญราษฏร์ เพื่อบันทึกภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อความปลอดภัยโดยรอบวัดราชบพิธและเส้นทางต่อเนื่อง 65,500,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
207 1.0.2. 4.2. 2563 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สำหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 62,100,000.00 62,100,000.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
208 1.0.4. 3.1. 2563 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ สำนักสิ่งแวดล้อมโดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศเพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหามลพิษทางอากาศครอบคลุมพื้นที่ ๕๐ เขต โดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิม จำนวน ๔ สถานี สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี และ แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ที่ผ่านมาการรับส่งข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและรถตรวจวัดคุณภาพอากาศมายังกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ดำเนินการผ่านโปรแกรมต่างๆ ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก และแบบเคลื่อนที่ ส่งผลให้สำนักสิ่งแวดล้อมขาดการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการ เพื่อที่จะนำไปประเมินผลมลพิษทางอากาศ และวางแผนบริหารจัดการ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการโครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ เพื่อเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์ อ้างอิงข้อมูลค่าตรวจวัดคุณภาพอากาศ ทำให้การประมวลผลที่ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศมีความแม่นยำและถูกต้องยิ่งขึ้น ก่อนเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวสู่สาธารณชนต่อไป โดยศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศสามารถใช้ข้อมูลสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับ หรือจากการเชื่อมโยงข้อมูลอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ อาทิเช่น ทิศทางลม การก่อสร้าง การจราจร ฯลฯ มาประกอบการวิเคราะห์ค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณจุดตรวจวัดฯ สามารถประมวลผล แปรผล และเตือนให้ประชาชนหลีกเลี่ยงในการเข้าไปในพื้นที่ที่ค่ามลพิษทางอากาศสูงอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งนี้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลคุณภาพอากาศ การแปรผล การพยาการณ์คุณภาพอากาศล่วงหน้าภายใน ๒๔ ชั่วโมง ฯลฯ ผ่านทางคอมพิวเตอร์พื้นฐาน แท็ปเล็ต และโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน ผ่านระบบแอพพลิเคชั่น โดยทางระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ประชาชนสามารถนำข้อมูลคุณภาพอากาศไปช่วยในการตัดสินใจในการทำกิจกรรมภายนอกอาคารบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศต่อตัวเองและบริเวณนั้น ซึ่งเป็นสร้างความตระหนักให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยกันมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครต่อไป 1. เพื่อทดสอบระบบการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศในการจัดการระบบสารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศ ระหว่างสถานีตรวจวัดเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก แบบเคลื่อนที่ และศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อทดสอบระบบจำลองการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศ ระบบเพื่อค้นหาแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ ระบบสำหรับนำเข้าและเชื่อมโยงข้อมูลด้านอากาศจากหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร และศึกษาการนำข้อมูลเข้า Big Data 3. เพื่อทดสอบระบบแจ้งเตือนประชาชนชาวกรุงเทพมหานครให้ทราบถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพ ระยะเวลาที่สามารถอยู่ได้ในพื้นที่นั้น การป้องกันตนเองเบื้องต้น หากเกิดกรณีอยู่ในพื้นที่ที่มีค่ามลพิษทางอากาศค่าสูง 4. เพื่อแปรผลข้อมูลที่บูรณาการทั้งหมดสนับสนุนให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร พิจารณา วางแผน ตัดสินใจ และกำหนดนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร 1. กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม เป็นศูนย์สารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานครที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2. ข้อมูลคุณภาพอากาศระหว่างสถานีตรวจวัดเดิม จำนวน ๔ สถานี บนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ข้อมูลหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร สามารถเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างเป็นระบบ (Platform) อยู่ในศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร (Big Data) 3. การวิเคราะห์ การประมวลผล การแปรผลเหตุการณ์ การพยากรณ์ การแพร่กระจาย การค้นหาแหล่งกำเนิด จากค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ผ่านระบบ Big Data เผยแพร่สู่ประชาชนเชิงแผนที่ภูมิศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต แอพพลิเคชั่น 4. ประชาชนสามารถ รับทราบถึงความเสี่ยง ผลกระทบ การป้องกันสุขภาพของตนเองและช่วยในการตัดสินใจของประชาชนในการทำกิจกรรมใดที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ 5. ประชาชนและกรุงเทพมหานคร มีปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ข้อติชมด้านมลพิษทางอากาศ ความรู้ด้านอากาศ อื่นๆ ผ่านทางระบบ social media เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ค เป็นต้น 8,155,000.00 8,155,000.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
209 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการ ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในแต่ละพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการน้ำเสียของอาคารประเภท ก และ ข ตามกฎหมายส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพระนคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
210 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญเช่นกัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามประเภทแหล่งกำเนิด ได้แก่ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมจำพวกที่ 2 และจำพวกที่ 3 กลุ่มอาคารบางประเภทและบางขนาด หรืออาคารประเภท ก และ อาคารประเภท ข ที่ดินจัดสรรประเภท ก ที่ดินจัดสรรประเภท ข รวมถึงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ก และ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ข อีกทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้การดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย ในพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
211 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐาน ที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
212 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อน จากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1 เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2 ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
213 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตยานนาวา ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากร ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่ม ให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตยานนาวา จึงได้จัดทำโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา เพื่อให้มีฐานข้อมูลจำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่างๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตยานนาวา และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวาได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
214 1.0.1. 3.1. 2563 การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต เป็นข้อมูลในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
215 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
216 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ กรุงเทพมหานครมีนโยบายการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆของแหล่งกำเนิดน้าเสียสถานประกอบการในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานครในรูปแบบเอกสารและข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลและจัดการข้อมูลในลักษณะต่างๆได้ ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 1.เพื่อสำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสีย 2.เพื่อการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบ้าบัดน้าเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ สำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์และจัดส่งให้สำนักการระบายน้าให้ทันภายในเดือนมิถุนายน 2563 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
217 1.0.1. 3.1. 2563 มิติที่1(บูรณาการ)กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ - เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย - เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต - สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 - ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
218 1.0.1. 4.2. 2563 จัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร จากสถานการณ์น้ำเสียของแหล่งน้ำสาธารณะในปัจจุบัน มีปัญหาที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น กรุงเทพมหานครจึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ โดยพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น สำนักงานเขตบางกะปิ ได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องจัดทำฐานข้อมูล จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผนและกำหนดแนวทางการดำเนินงานต่อไป เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางกะปิ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางกะปิ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตบางกะปิที่มีการบำบัดน้ำเสีย โดยประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
219 1.0.1. 3.1. 2563 กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
220 1.0.1. 3.1. 2563 กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด 1.เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางเขน ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2.เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
221 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียพื้นที่เขตมีนบุรี 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ เพื่อเตรียมการจัดเก็บค่าบำบัดนำ้เสียของกรุงเทพมหานคร 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 ( 80 คะแนน) 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ (20 คะแนน) มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
222 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) เป็นการบูรณาการสำนักระบายน้ำเพื่อประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
223 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ -สำนักงานเขตคลองสานจึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตคลองสานเพื่อสนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร -เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตคลองสาน เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย -เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำทั่วทั้งกรุงเทพมหานครเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ผู้ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
224 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันแหล่งน้ำถูกแหล่งกำเนิดน้ำเสียสถานประกอบการปล่อยนำ้เสียลงแหล่งน้ำ เพื่อควบคุมไม่ให้น้ำเน่าเสียจึงต้องมีการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียขึ้น ให้มีการบำบัดก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำ เพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของแหล่งกำเนิดนำ้เสียสถานประกอบการในพื้นที่ มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
225 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น 1.เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 2.เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อให้มีข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล และประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแก่ผู้ประกอบการเป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
226 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหารที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้วความพยามยามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียเบื้องต้นหรือสนับสนุนให้มีระบบบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐาน ซึ่งแนวทางดังกล่าวจำเป็นจะต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำ ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
227 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีคูณความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณี ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็สนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัด น้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสาทร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตสาทร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียจากสถานประกอบการ และเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำเพื่อให้สามารถใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
228 1.0.1. 3.1. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย และการตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
229 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
230 1.0.1. 3.1. 2563 โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
231 1.0.1. 3.1. 2563 การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร (โครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ) ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แนวทางที่จะลดความสกปรกให้กับแหล่งน้ำธรรมชาติ คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น และควบคุมให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง การแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้วางแผนกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป 1 เพื่อสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัด้ก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียจำนวน 1 ฐานข้อมูล และมีแผนที่แสดงความหนาแน่นของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย รวมถึงมีแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
232 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
233 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการ การจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง และมีสถานประกอบการจำนวนมาก ส่งผลให้มีการใช้น้ำในปริมาณมากเช่นกัน แต่ปัจจุบันยังพบมีการลักลอบปล่อยน้ำที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ โดยเฉพาะน้ำที่ถูกปล่อยจากสถานประกอบการ ก่อให้เกิดน้ำเสียเป็นวงกว้าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูล ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จึงจัดทำโครงการ การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ขึ้น เพื่อสำรวจสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปริมาณน้ำที่ใช้ในทุกกิจกรรม และดูแลควบคุมให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ 1. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม, อาคารประเภท ก และประเภท ข, ที่ดินจัดสรร และสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาดำเนินการในเรื่อง การจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย อย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
234 1.0.1. 4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
235 1.0.1. 3.1. 2563 กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสียประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตหลักสี่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตหลักสี่ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตหลักสี่ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการ ในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตหลักสี่และขยายไปให้ครอบคลุมทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) โดยเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ เพื่อประสานความร่วมมือกับ สถานประกอบการต่างๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
236 1.0.1. 3.1. 2563 แผนงานกิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม ประกอบกับการประกอบกิจการทุกประเภทได้มีผลกระทบกับแหล่งน้ำเช่นกัน ลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลเช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียคุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของกิจกรรมสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการและประชาสัมพันธ์ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 50 แห่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
237 1.0.3. .. 2564 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลขั้นที่ 1 แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2564 ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ที่กำหนดให้หน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดที่ยังไม่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA ) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) ได้แก่ โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลคลองสามวา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ทั้งนี้เพื่อให้ คณะผู้บริหารของโรงพยาบาล และผู้ปฏิบัติงานของโรงพยาบาลได้ร่วมกันสร้างระบบงานที่มีคุณภาพ เป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล จึงทำให้ทางโรงพยาบาลดังกล่าว มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล ( Accreditation HA ขั้นที่1) ในปีงบประมาณ 2564 1.บุคลากรในโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง มีความรู้ความเข้าใจการพัฒนาคุณภาพและประโยชน์ที่จะได้รับจากพัฒนาคุณภาพ 2.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานและเกิดการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 3.ช่วยสร้างชื่อเสียงให้กับโรงพยาบาลและทำให้โรงพยาบาลเป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลคลองสามวา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ผ่านการประเมินมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA ) ขั้นที่ 1 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
238 1.0.3. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 1 สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสำนักงานเขต)(สสว.) การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนากรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) และแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) มุ่งเน้นการป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ โดยสร้างความเข้มแข็งของระบบการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาในระยะยาว เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างครบวงจร ทั้งบุคลากรจากหน่วยงานภาคการผลิตที่อาจเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความสะอาดและความปลอดภัยของเส้นทางการรับสัมผัสสู่ร่างกายและส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยและบุคลากรจากหน่วยงานด้านการดูแลรักษาสุขภาพอันเนื่องมาจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เร่งสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจความมั่นคงทางสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยของประชาชน ผู้ประกอบอาชีพและนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการที่จะสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดและปลอดภัย อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น 1. เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขลักษณะรวมทั้งด้านอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการและอาคารสาธารณะ 2. เพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนเป้าประสงค์การพัฒนาของสำนักอนามัยในมิติเมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมที่ดีปราศจากภาวะคุกคามทางสุขภาพ มีการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเจ้าหน้าที่สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต 8,253,750.00 8,253,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
239 1.0.3. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย(กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ(กิจกรรมย่อยที่ 2.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการป้องกันปัญหาฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ)(สสว.) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกิจการในการกำหนดแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้งในด้านลักษณะของแหล่งกำเนิด ปัญหาฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการ วิธีการจัดการ ตลอดจนมีแนวทางป้องกันที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อนำมาปรับปรุงแนวทางการควบคุมป้องกันฝุ่นละอองของสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อส่งเสริมการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในด้านการจัดการฝุ่นละออง กรุงเทพมหานครมีแนวทางควบคุมป้องกันฝุ่นละอองจากสถานประกอบกิจการกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเภทกิจการ คือ ๑.การผลิตภาชนะด้วยโลหะหรือแร่ การถลุงแร่ ๒.การเลื่อย ซอย ไสไม้ การผลิตสิ่งของเครื่องใช้จากไม้หวาย ๓.การผลิต สะสม แบ่งบรรจุธูป ๔.การเผาถ่านหรือสะสมถ่าน ๕.กิจการที่มีการใช้หม้อไอน้ำ (Boiler) 199,700.00 12,500.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
240 1.0.3. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560)(สสว.) พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.๒๕๖๐ ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 39 ก ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้กำหนดให้กรุงเทพมหานครดำเนินการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และการบำบัดรักษาฟื้นฟูสุขภาพของผู้เสพติดผลิตภัณฑ์ยาสูบ รวมทั้งการดำเนินงานตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง และเมื่อปีงบประมาณ 2561 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการสถานที่ราชการกรุงเทพมหานครปลอดควันบุหรี่ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้สถานที่ราชการของกรุงเทพมหานครทุกแห่งมีสิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่และผู้สูบบุหรี่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่ และปลัดกรุงเทพมหานครได้สั่งการให้ทุกหน่วยงานถือเป็นนโยบายของหน่วยงานที่จะมุ่งมั่นดำเนินการให้สถานที่ราชการกรุงเทพมหานครเป็นเขตปลอดบุหรี่อย่างยั่งยืนต่อไป ในปีงบประมาณ 2562 และปีงบประมาณ 2563 สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้รับอนุมัติให้ดำเนินโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ซึ่งได้ดำเนินการตามกิจกรรมสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย ประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่สำนักเทศกิจ สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักอนามัย และสำนักงานเขต 50 เขต ในการนี้ได้มีการจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานเขตเพื่อเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ และสนับสนุนสื่อรณรงค์การจัดสถานที่สาธารณะให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายประเภทต่างๆ ด้วย 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ 2. เพื่อการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่เจ้าของหรือผู้ดำเนินการสถานที่สถานที่สาธารณะที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ให้ดำเนินการได้อย่างถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ ๘๐ ของสถานที่สาธารณะได้รับการเผยแพร่สื่อรณรงค์การจัดเขตปลอดบุหรี่และเขตสูบบุหรี่ 315,535.00 259,935.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
241 1.0.3. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.3 การพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) (สสว.) กรุงเทพมหานครมีข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดประเภทกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่ถูกควบคุมภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งในการประกอบกิจการแต่ละประเภทต้องจัดการสุขลักษณะสถานประกอบการให้ถูกต้อง เหมาะสม ป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้พักอาศัยใกล้เคียง ที่แตกต่างกันไปตามชนิดและประเภทกิจการ ซึ่งกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ และเป็นกิจการที่กำหนดขึ้นใหม่ มีการบริการโดยจัดส่งพนักงานไปทำงานที่บ้านของผู้รับบริการซึ่งมีความเสี่ยงทั้งในด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ เช่น ด้านอาคารสถานที่ ด้านสุขลักษณะ ด้านสภาพจิตใจ ตลอดจนความไว้วางใจของผู้รับบริการต่อพนักงาน ผู้ประกอบกิจการจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบการ ๑. เพื่อควบคุมกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ๒. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบกิจการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๓. เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบกิจการด้านการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ ที่บ้านของผู้รับบริการ ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ๑. จัดอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการสุขาภิบาลแก่ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ ในสถานประกอบกิจการให้บริการเลี้ยงและดูแลเด็ก ผู้สูงอายุที่บ้านของผู้รับบริการ จำนวน ๒๐๐ คน เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต จำนวน ๕๐ คน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ดำเนินงาน วิทยากร จำนวน ๒๐ คน รวมทั้งสิ้น ๒๗๐ คน ณ สถานที่เอกชนในกรุงเทพมหานคร แบบไป-กลับ ๑ วัน และมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ผู้ประกอบกิจการที่เข้ารับการอบรม ๒. จัดทำคู่มือเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการ เพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ประกอบกิจการและพนักงานผู้ให้บริการ จำนวน ๕๐๐ เล่ม 333,300.00 90,000.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
242 1.0.2. .. 2564 โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (กอพ.) การดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การออกให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกลุ่มงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้มีแผนการดำเนินงานออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก มีการประสานงานร่วมกับภาคประชาสังคม และภาครัฐนอกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมความรู้ และตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะเสริมสร้างความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการให้บริการสุขภาพเชิงรุกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อจัดบริการสุขภาพให้เข้าถึงผู้ที่ขาดโอกาส ไม่เข้าถึงบริการสุขภาพและมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี และแก้ไขปัญหาเอดส์ แบบบูรณาการทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และค้นหาผู้ติดเชื้อรายใหม่ให้เข้าสู่บริการสุขภาพ 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงานเขต, ศูนย์บริการสาธารณสุขและองค์กรภาคประชาสังคม ร่วมกันจัดบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์) กิจกรรมที่ 1 ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน 68 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 80คน กิจกรรมที่ 2 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุกในกลุ่มเป้าหมายพนักงานบริการชาย-หญิงและประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิง และจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง กิจกรรมที่ 3 ออกหน่วยให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่เชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมายชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และประชาชนทั่วไป ในสถานบริการ สถานบันเทิงและจุดรวมตัว จำนวน 5 ครั้ง 157,600.00 9,260.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
243 1.0.2. .. 2564 กิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดกรุงเทพมหานคร (สยส.) สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ขับเคลื่อนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครผ่านระบบสาสนเทศ ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า นักเรียนมีภูมิคุ้มกันปกติ จำนวน 4,534 คน ภูมิคุ้มกันต่ำ จำนวน 5,172 คน และมีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 45.70 ,52.12 , 2.18 ตามลำดับ เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนปกติ และป้องกันการติดยาเสพติดในนักเรียนกลุ่มที่ภูมิคุ้มกันต่ำ และเสี่ยง ให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้โดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดจึงจัดกิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดแก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติด สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย จึงได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 109 โรงเรียน 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
244 1.0.2. .. 2564 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สยส.) ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมและลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ ลดความเสี่ยงของการบริโภค ทั้งในมิติปริมาณ รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภค จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ พ.ศ. 2561 – 2563. โดยกำหนดให้ต้องพัฒนากลไกระบบการทำงานในระดับต่างๆ รวมถึงพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และจากแผนยุทธศาสตร์การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบแห่งชาติ ฉบับที่สอง พ.ศ.2559-2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การควบคุมยาสูบของประเทศมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น กำหนดให้พัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ให้มีความรู้ สมรรถนะ และทักษะในการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 มีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมการบริโภค การผลิต และการบังคับใช้กฎหมาย โดยมีพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายทั้ง 2 ฉบับนี้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดียวกัน ดังนั้นสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความสามารถในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามกฎหมาย โดยการใช้หลักสูตรเพื่อพัฒนาศักยภาพ หน่วยปฏิบัติการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ (Alcohol and Tobacco Control Operation Unit - ATCU) ของศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหลักสูตร 2 ระดับ โดยในการจัดฝึกอบรมครั้งนี้ใช้หลักสูตรการฝึกอบรมในระดับเบื้องต้น (Basic) ส่วนในระดับสูง (Advance) จะจัดฝึกอบรมในปีต่อไป เพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ จัดฝึกอบรมและฝึกภาคปฏิบัติเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 112 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน 78 คน ดังนี้ - ประเภทวิชาการ ตำแหน่ง นักวิชาการสุขาภิบาล เจ้าพนักงานเทศกิจ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ - ประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าหน้าที่เทศกิจ ระดับปฏิบัติงาน – อาวุโส 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 15 คน 2) วิทยากร จำนวน 19 คน ๔. ลักษณะของโครงการ 604,560.00 0.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 65.00
245 1.0.2. .. 2564 กิจกรรมการปฏิบัติงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (กคร.) ตามที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) กระจายไปยังหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร ประกอบกับเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประเมินสถานการณ์ดังกล่าวแล้วพบว่า เหตุการณ์การระบาดในครั้งนี้เป็นการระบาดที่แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว จึงประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าว เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public health emergency of international concern (PHEIC)) และต่อมากระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ “โควิด- 19” (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ลำดับที่ 14 1 เพื่อเตรียมพร้อมด้านทรัพยากร ระบบการปฏิบัติ ทั้งหน่วยปฏิบัติการหลักและหน่วยสนับสนุน ให้สามารถดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ 2 เพื่อกำหนดกรอบการปฏิบัติงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาภัย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบและบูรณาการ 3 เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบทางสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม ของประชาชนที่เกิดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3,162,250.00 747,700.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
246 1.0.4. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ (กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การควบคุมระดับเสียงจากสถานประกอบกิจการ) (สสว.) สถิติเรื่องร้องเรียนในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปีงบประมาณ 25๖2 มีการร้องเรียน 12,791 ครั้ง โดยจำแนกเรื่องร้องเรียนมากที่สุดอันดับแรก คือ เรื่องเสียง 5,157 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36 รองลงมา คือ เรื่องกลิ่น 2,923 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 20 เมื่อพิจารณาแหล่งก่อเหตุรำคาญ พบว่าอาคารอยู่อาศัยเป็นแหล่งก่อเหตุลำดับแรก 4,941 ครั้ง รองลงมาเป็นสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ๒,862 ครั้ง เป็นประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทค คาราโอเกะ หรือตู้เพลง หรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ถูกร้องเรียนถึง 342 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเรื่องเสียงรบกวน โดยผู้รับผิดชอบในการจัดการปัญหาเหตุรำคาญคือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตพื้นที่ สาเหตุของการร้องเรียนส่วนใหญ่เกิดจากผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการประกอบการให้มีมาตรฐานความปลอดภัยและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีตามหลักเกณฑ์ที่กรุงเทพมหานครกำหนด ดังนั้น สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในฐานะหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ จึงจัดทำโครงการฯ เพื่อให้เกิดการพัฒนาการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในสถานประกอบการและเพื่อลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง 1. เพื่อควบคุมระดับเสียงจากการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวง รองเง็ง ดิสโกเทก คาราโอเกะหรือตู้เพลงหรือการแสดงอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ให้อยู่ในมาตรฐานที่กำหนด 2. เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครในการควบคุมระดับเสียงจากการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ รับทราบแนวทางปรับปรุงด้านสุขลักษณะให้ถูกต้อง เพื่อลดมลภาวะทางเสียง 171,400.00 13,750.00 สำนักอนามัย 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
247 1.0.1. .. 2564 การรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ กรุงเทพมหานคร มีถนน ตรอก ซอย อยู่เป็นจำนวนมาก ปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่ทางสาธารณะอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานคร ยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตทางสาธารณะ รวมทั้งการปักเขตทางสาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาถนน ตรอก ซอย สาธารณะ เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินทางสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตทางสาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตทางสาธารณะที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 ลดข้อพิพาทเกี่ยวกับกรณีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องใช้ข้อมูลเขตทางของถนนหรือซอยสาธารณะในการพิจารณาอนุญาต 9.3 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตทางสาธารณะ เขตที่มีพื้นที่ตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม (สีแดง) และถนน ซอย ที่มีความกว้าง 10 เมตร และ 12 เมตร รวมทั้งซอยที่เกิดกรณีพิพาท มีการร้องเรียนจากประชาชน จำนวน 15 เขต 25 สาย 3,000,000.00 1,202,331.00 สํานักการโยธา 2020-05-01 00:00:00 2021-04-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
248 1.0.1. .. 2564 การรังวัดตรวจสอบแนวเขตที่สาธารณะที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น รวมทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน ที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง เป็นทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันพลเมืองมีสิทธิเข้าเกี่ยวข้องใช้สอยได้รับประโยชน์ด้วยตนเอง แต่จะใช้สอยคนเดียวมิได้ เป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่มีไว้เพื่อบริการสาธารณะ เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชน และจัดไว้เพื่อประโยชน์ของราชการ โดยกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ดูแลรักษาและดำเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งปัจจุบันมีการบุกรุกครอบครองพื้นที่อันเป็นสาธารณประโยชน์ที่สำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่เป็นจำนวนมาก ได้แก่ ที่ชายตลิ่ง ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากกรุงเทพมหานครยังไม่มีแผนที่ภูมิประเทศแสดงแนวเขตที่ดินสาธารณะ รวมทั้งการปักหลักเขตที่สาธารณะที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการดูแลรักษาที่ชายตลิ่ง เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร จึงมีจุดประสงค์ที่จะทำการรังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งสาธารณะ โดยตรวจสอบที่ดินสาธารณะทุกแปลงเพื่อให้ทราบแนวเขตที่ชายตลิ่งที่ถูกต้องและทำการปักหมุดเขตที่สาธารณะให้ชัดเจน 9.1 ได้ข้อมูลเขตที่ดินชายตลิ่งที่ถูกต้องตรงกันของเอกสารทางราชการและในพื้นที่จริง 9.2 เป็นการรักษาที่สาธารณะซึ่งเป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร ในการดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะของประชาชน รังวัดตรวจสอบเขตที่ชายตลิ่งริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยแบ่งตามพื้นที่เขต ดังนี้ 1. เขตบางพลัด เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔๕ ไร่ ๓ งาน ๒๖ ตารางวา 2. เขตบางซื่อ เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๑๐ ไร่ ๑ งาน ๓๖ ตารางวา 3. เขตดุสิต เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๔ ไร่ ๒ งาน ๖๙ ตารางวา 4. เขตพระนคร เนื้อที่ชายตลิ่งประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๖ ตารางวา 350,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-08-01 00:00:00 2021-01-28 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
249 1.0.1. .. 2564 งานปรับปรุงถนนสมานมิตรพัฒนา ช่วงจากคลองศาลเจ้า ถึงจุดที่ปรับปรุงแล้ว พื้นที่เขตบางขุนเทียน เป็นโครงข่ายถนนที่เชื่อมระหว่างถนนพระราม 2,ถนนพุทธบูชา กับถนนอนามัยงานเจริญ,ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล,ถนนเลียบทางด่วนวงแหวนด้านใต้ ซึ้งสภาพปัจจุบัน ถนนมีระดับต่ำ และไม่มีระบบท่อระบายน้ำ เมื่อฝนตกหนักจะมีน้ำท่วมขัง เป็นปัญหาต่อการจราจร ประชาชนที่สัญจรไป-มา ได้รับความสะดวกและปลอดภัยในการใช้ถนน 18,100,000.00 14,173,017.80 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
250 1.0.1. .. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี ช่วงจากแยกเตาปูน ถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่เขตบางซื่อ เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนกรุงเทพ-นนทบุรี มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานและเกิดจากการทรุดตัวขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย และก่อให้เกิดอันตรายแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา สมควรที่จะต้องดำเนินการปรับปรุงคันหินและทางเท้าให้อยู่ในสภาพดีมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าในการสัญจรไป-มา อีกทั้งจะก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสวยงามแก่กรุงเทพมหานคร 29,966,000.00 10,975,615.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
251 1.0.1. .. 2564 ปรับปรุงคันหินและทางเท้าถนนรัชดาภิเษก ช่วงจากสถานีบริการน้ำมันเชลล์ ถึงสะพานข้ามคลองน้ำแก้ว พื้นที่เขตจตุจักร เนื่องจากสภาพปัจจุบันทางเท้าถนนรัชดาภิเษก มีสภาพชำรุด ทรุดตัว มีระดับสูงๆ ต่ำๆ ใช้งานมานาน ประกอบกับบริเวณดังกล่าวมีสถานที่ราชการ สถานศึกษา และยังเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง ทำให้ประชาชนใช้ทางเท้าในการสัญจรเป็นจำนวนมาก สมควรจำเป็นต้องปรับปรุงให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ใช้ทางเท้าได้รับความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า 29,346,000.00 26,844,623.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
252 1.0.1. .. 2564 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ข้อมูลถนนเดิม ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธ- มณฑลสาย 3 ถึงบริเวณที่กำหนดให้ ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. เหตุผลและความจำเป็น ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ 98,510,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 88.00
253 1.0.1. .. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ ซึ่งเป็นวันที่สำคัญยิ่ง นำความปลื้มปิติยินดีมาสู่พสกนิกร หน่วยราชการ องค์กร และประชาชนทุกหมู่เหล่า ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่มีต่อประชาชนชาวไทยอย่างหาที่สุดมิได้ จึงได้ดำเนินการสร้างซุ้มเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชาภิเษกครบรอบ 2 ปี บริเวณถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติของกรุงเทพมหานคร” เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ 9.1 ประชาชนที่เดินทางและสัญจรไปมา บังเกิดความเป็นสิริมงคลเมื่อผ่านซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ 9.2 ประชาชนได้ร่วมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 9.3 กรุงเทพมหานคร มีซุ้มเฉลิมพระเกียรติฯ อยู่บนถนนศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ซึ่งเป็นโครงการ “ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ” 14,000,000.00 13,999,000.00 สํานักการโยธา 2019-12-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
254 1.0.1. .. 2564 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้ปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตเพียงพอ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
255 1.0.1. .. 2564 การติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้ปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น สามารถติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนงานที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
256 1.0.1. .. 2564 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ โดยใช้เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงต่างๆ เพื่อรองรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดการชำรุดเสียหายจากการใช้งาน การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
257 1.0.1. .. 2564 โครงการจ้างที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้างโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำจากบึงหนองบอนลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา (สพน.) (ต่อเนื่องปี 2558-2563) (ก.1) ด้วยกรุงเทพมหานครจะจ้างเหมาดำเนินการโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ จากบึงหนองบอนลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา และเนื่องจากโครงการก่อสร้างดังกล่าว เป็นงานเทคนิคเฉพาะด้านที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ จึงจำเป็นต้องจัดจ้างบริษัท ที่ปรึกษาควบคุมการก่อสร้างโครงการดังกล่าวให้เป็นไปตามแบบ รายการ สัญญา และถูกต้องตามหลักวิชาการ 5,970,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 93.00
258 1.0.1. .. 2564 โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล.(ดาดท้องคลอง) คลองบางอ้อจากบริเวณถนนโรงงานไม้อัดไทยไปทางประตูระบายน้ำคลองบางอ้อ (กรบ.) (ต่อเนื่อง งบปี 2562-2564) คลองบางอ้อน้อย เป็นคลองระบายน้ำหลักในพื้นที่เขตพระโขนงง และเขตบางนา ทำหน้าที่รับน้ำจาาากคลองบางจาก บริเวณซอยสุขุมวิท 62 ถึงแยกบางนาไปที่สถานีสูบน้ำคลองบางอ้อน้อย ที่มีขนาด 18 ลบม./วินาที ก่อรระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อมีฝนตกประมาณ 30 มม./ชม. จะเกิดปัญหาน้ำท่วมบนผิวจราจรและบริเวณใกลล้เคียงเป้นประจำ ซึ่งระบบระบายน้ำเดิมไม่ามารถระบายน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักการระบายน้ำพิจารณาแล้ววเห็นว่า แนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน คือการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในคลองบางอ้อน้อย 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
259 1.0.1. .. 2564 โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองทวีวัฒนาบริเวณคอขวด (สพน.) (งบ 63-64) (ก.3) หลังจากวิกฤติน้ำท่วมครั้งใหญ่ พ.ศ.2554 ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อน อาคาร บ้านเรือน เสียหายเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันตก ของแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ใต้คลองมหาสวัสดิ์จนถึงคลองภาษีเจริญ น้ำท่วมขังเป็นเวลานาน เนื่องจากปลายคลองทวีวัฒนามีลักษณะเป็นคอขวด จำเป็นต้องก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ รองรับการระบายน้ำฝนและน้ำหลากได้เป็นอย่างดี ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 60 ตร.กม. ประกอบกับอุโมงค์ระบายน้ำดังกล่าวเป็นนโยบายสำคัญของ ผว.กทม. ด้านมหานครแห่งความ ปลอดภัย เรื่องการป้องกันอุทกภัยโดยการก่อสร้างอุโมงค์ยักษ์ 6 แห่ง เพื่อแก้ไขปัญหา น้ำท่วมขังพื้นที่กรุงเทพมหานคร 11,121,000.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 45.00
260 1.0.2. .. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ของสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นอย่างมาก รวมทั้งในกรุงเทพมหานครที่เป็นศูนย์กลางการดำเนินกิจกรรมของประเทศที่สำคัญและเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากและคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน กรุงเทพมหานครในฐานะเมืองมหานคร จึงต้องการขับเคลื่อนและพัฒนาเมืองกรุงเทพมหานครทุกๆ ด้าน ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริม สร้างสรรค์ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ศูนย์การเรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน โดยมีแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และปัจจุบันอยู่ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนากรุงเทพมหานคร ก้าวขึ้นสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ในปี พ.ศ. 2575 โดยกำหนดการพัฒนาและรูปแบบการดำเนินการ การจัดการมูลฝอยไว้ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย เพื่อมุ่งหวังให้เมืองกรุงเทพมหานคร เป็นมหานครที่ปลอดมลพิษ ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด ปลอดอุบัติเหตุ ปลอดภัยพิบัติ สิ่งก่อสร้างปลอดภัย ปลอดโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตบางรัก ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการของกรุงเทพมหานครจึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาข้างต้น และเป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี และสอดรับกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2564 9.1 คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้พื้นที่เขตบางรักเป็นเขตที่น่าอยู่ มีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด สมกับเป็นเขตย่านธุรกิจของกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน 9.2 ปริมาณมูลฝอยลดลง ส่งเสริมประชาชน ชุมชน โรงเรียน ร้านค้า สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานเขตบางรัก ให้นำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ก่อนนำมาทิ้งสร้างความสกปรกและกีดขวางผิวการจราจร ตามถนนสายหลัก สายรอง ซอยต่างๆ ในพื้นที่เขตบางรัก 9.3 การจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางรักมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลดปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน 9.4 ประชาชน ร้านค้า สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานเขตบางรักเล็งเห็นความสำคัญ เกิดการมีส่วนร่วม มีจิตสำนึกตระหนักถึงปัญหาในการจัดการมูลฝอย รวมทั้งร่วมส่งเสริมพฤติกรรมการลด และคัดแยกมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรมสามารถดำเนินการด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและยั่งยืน - ดำเนินการสาธิตในชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ - ชุมชน โรงเรียน และสถานประกอบการในพื้นที่เขต สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และลดปริมาณขยะในองค์กรได้ 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
261 1.0.2. .. 2564 โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา การพาณิชย์ การสื่อสาร ฯลฯ ของประเทศ การเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็วและการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการจัดการมูลฝอย ซึ่งปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้การจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครประสบความสำเร็จ จะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก โครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เป็นโครงการที่ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นจากการที่กรุงเทพมหานครต้องการให้บริการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนต่างๆ มีความทั่วถึง แม้แต่ชุมชนที่อยู่ริมแม่น้ำลำคลอง หรือตรอก ซอย ที่รถเก็บมูลฝอยเข้าไปไม่ถึง ทำให้เกิดการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ลำคลอง เกิดขยะตกค้างในชุมชุน ส่งให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร จึงจำเป็นต้องมีอาสาชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำหน้าที่ในการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ ณ จุดพักขยะ หรือจุดรวบรวมขยะ เพื่อให้รถเก็บขนมูลฝอยสามารถจัดเก็บได้ สำนักงานเขตบางรัก จึงได้จัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน โดยว่าจ้างอาสาสมัคร ชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อชักลากมูลฝอยจากบ้านเรือนประชาชนที่รถเก็บขนมูลฝอยเข้าไปไม่ถึงออกมาพักไว้ที่จุดรวบรวมมูลฝอย เพื่อให้จัดเก็บได้โดยสะดวก โดยกรุงเทพมหานครจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครงานบริการสาธารณะ (ชักลากมูลฝอยในชุมชน) วันละ 150 บาท จำนวน 15 วันต่อเดือน และให้การสนับสนุนงบประมาณด้านวัสดุ เพื่อซ่อมแซมหรือปรับปรุงจุดพักหรือจุดรวบรวมมูลฝอย วัสดุอุปกรณ์ในการทำความสะอาด 1 ชุมชนมีความรับผิดชอบในส่วนของการรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อมชุมชน 2 การจัดเก็บมูลฝอยมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดปัญหามูลฝอยตกค้าง 3 เกิดกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชนจากความร่วมมือและร่วมใจที่ทำงานด้วยกัน 4 คู คลอง มีความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยมีสิ่งแวดล้อมที่ดี 5 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนกับหน่วยงานของรัฐ ชุมชนแออัดและชุมชนที่รถเก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าไปเก็บขนมูลฝอยได้ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 4 ชุมชน มีอาสาสมัครชักลากมูลฝอยจำนวน 7 คน ดังนี้ 1. ชุมชนซอยวัดมหาพฤฒารา จำนวน 1 คน 2. ชุมชนจอมสมบูรณ์ จำนวน 2 คน 3. ชุมชนตรอกห้านาย จำนวน 2 คน 4. ชุมชนซอยหลังวัดแก้วแจ่มฟ้า จำนวน 2 คน 204,500.00 166,568.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
262 1.0.1. .. 2564 โครงการติดตั้ง/และซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม ด้วยแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2564 ด้านที่ 4 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด เป้าหมายที่ 1.2.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป้าประสงค์ที่ 1.2.1.1 เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรม ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละความสำเร็จของการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 โดยให้สำนักงานเขตสำรวจจุดติดตั้งและซ่อมแซม พร้อมทั้งประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินการดังกล่าว ประชาชนได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาอาชญากรรมลดลง กรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนาให้เป็นมหานครแห่งคุณภาพชีวิตที่ดี 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
263 1.0.2. .. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน ปัญหาด้านการจัดการมูลฝอยถือเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญในกรุงเทพมหานคร อันเนื่องมาจากความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ปัญหามูลฝอยมิใช่ปัญหาเฉพาะหน่วยงานภาครัฐเท่านั้นแต่เป็นปัญหาของประชาชนทุกคนในชุมชนในฐานะผู้ผลิตมูลฝอย ดังนั้นปัจจัยที่มีความสำคัญซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้การจัดการมูลฝอยประสบผลสำเร็จจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน การลดและแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และการสนับสนุนการนำมูลฝอยรีไซเคิลกลับมาใช้ประโยชน์ นับเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ เพื่อลดการทิ้งมูลฝอยเข้าสู่กระบวนการในการเก็บขนมูลฝอย เพื่อให้การบริการเก็บขนมูลฝอยของกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพและได้รับความร่วมมือที่ดีจากชุมชน สำนักสิ่งแวดล้อมจึงจัดทำโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน (โครงการชุมชนร่วมใจรักสะอาดเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครเดิม ได้ดำเนินงานตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๒ จนถึงปัจจุบัน) เพื่อมุ่งหวังที่จะให้การบริการจัดเก็บมูลฝอยในชุมชนต่าง ๆ มีความทั่วถึงแม้แต่ชุมชนที่อยู่ริมคลอง หรือในครอก ซอก ซอยที่รถเก็บมูลฝอยเข้าไปไม่ถึง ทำให้เกิดการทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลอง เกิดขยะตกค้างส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานครจึงจำเป็นต้องมีอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำในการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ ณ จุดพักขยะ หรือจุดรวมขยะเพื่อให้รถเก็บขนมูลฝอยสามารถจัดเก็บได้และไม่เกิดขยะตกค้างในชุมชน โดยมีสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานในการดำเนินการประสานงานและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและชุมชนในการมีส่วนร่วม ในการรักษาความสะอาด โดยว่าจ้างอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน เพื่อทำการชักลากมูลฝอยออกมาไว้ที่พักหรือจุดรวบรวมมูลฝอย เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถจัดเก็บได้ โดยกรุงเทพมหานครจะจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครวันละ 150.-บาท เนื่องจากมีการปฏิบัติงานจำนวน 15 วันต่อเดือน และจะให้การสนับสนุนงบประมาณด้านวัสดุอุปกรณ์ในการจัดเก็บและชักลากมูลฝอย 1. ชุมชนมีการลดและคัดแยกมูลฝอย และนำกลับมาใช้ประโยชน์ 2. การเก็บขนมูลฝอยของสำนักงานเขตมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดปัญหามูลฝอยตกค้าง 3. ปริมาณมูลฝอยของชุมชนลดลง 297,000.00 289,707.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
264 1.0.2. .. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทำให้มีประชากรเข้ามาประกอบอาชีพและพักอาศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการมูลฝอย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามูลฝอยจากชุมชนที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการศึกษาองค์ประกอบมูลฝอยของกรุงเทพมหานครพบว่ามูลฝอยอินทรีย์มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 50 ซึ่งหากประชาชนสามารถลดและคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ที่แหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การทำปุ๋ยหมัก การผลิตน้ำหมักชีวภาพหรือน้ำยาอเนกประสงค์ ช่วยลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ ส่งผลให้กรุงเทพมหานครเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยน้อยลง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ตามหลัก 3R รวมถึงส่งเสริมการลดและคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดให้บรรลุเป้าหมาย ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการนำทรัพยากรกลับมาใช้ประโยชน์ ประหยัดงบประมาณการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อการจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 1. ประชาชนและสำนักงานเขตได้ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ น้ำยาชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ หรือนำมูลฝอยเศษอาหารไปเป็นอาหารสัตว์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 3. ลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 50,000.00 49,980.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
265 1.0.2. .. 2564 โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ จากรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 พบว่า ทั่วประเทศมีประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ ๑0.๗ ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครประมาณ 1.2 ล้านคน ผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญกับบุคคลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และก่อให้เกิดโรคร้ายกับผู้ที่ได้รับควันบุหรี่นั้นด้วย ประกอบกับพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 กำหนดให้มีการจำกัดวิธีการจำหน่าย กำหนดอายุผู้ซื้อ กำหนดสถานที่ห้ามจำหน่ายยาสูบ ห้ามโฆษณา และกำหนดให้มีเขตปลอดบุหรี่ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน เพื่อสร้างพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติแล้วจำนวน 6 เขต ซึ่งเป็นภารกิจภายใต้การกำกับของคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตภาษีเจริญ จึงจัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ เพื่อดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่เขตภาษีเจริญ สร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่เขตภาษีเจริญ ซึ่งจะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมที่ปลอดภัยจากควันบุหรี่ 1. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปตามกฎหมาย และแผนยุทธศาสตร์ควบคุมยาสูบแห่งชาติ 2. เพื่อขยายพื้นที่การดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานตามแนวทางกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ โดยกลุ่มเป้าหมายในการอบรม ประกอบด้วย ผู้จำหน่ายยาสูบ ผู้เกี่ยวข้อง เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตภาษีเจริญ 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ชะลอ 17.00
266 1.0.5. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ประเทศไทยยังประสบกับปัญหาในด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร ที่ผลิตทั้งในเรื่องการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ก่อโรคทางเดินอาหาร การตกค้างของสารเคมี สารปฏิชีวนะและสารพิษในพืชผักผลไม้เป็นต้น ซึ่งเป็นอันตรายสำคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตภาษีเจริญจึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 ขึ้น เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย ๑. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบกิจการจำหน่ายอาหาร ๒. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหาร ๓. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร ๔. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย ๕. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชนผู้ประกอบการจำหน่ายและสะสมอาหาร และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย ๖. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ร้อยละ 100 ของสถานประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ที่กรุงเทพมหานครกำหนด (จำนวน 195 แห่ง) 81,000.00 36,050.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
267 1.0.2. .. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพหมานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัจจุบันสถานการณืการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีเด็กและเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นส่งผลกระทบต่อความสุขของประชาชนและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยภาคีทุกระดับ โดยมุ่งหมายเพื่อลดปริมาณผู้เข้าสู่การกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดและนำคนออกจากวงจรการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้เห็นอย่างชัดเจน จนสามารถควบคุมปัญหาให้อยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสังคมและประชาชนส่วนใหญ่ สำนักงานเขตหนองแขม ได้เริ่มดำนินการพัฒนาอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเพื่ิอให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินกงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชน ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตหนองแขม จึงจัดทำโครงการการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดขึ้น 1.อาสาสมัครกทม.เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพและร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด 2.มีการบูรณาการร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 175,400.00 4,900.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
268 1.0.1. .. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชน และการพัฒนาประเทศ กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดในระดับรุนแรง รวมทั้งเป็นทางผ่านการนำเข้า การส่งออก และเป็นจุดพักยาเสพติด จึงจำเป็นต้องใช้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดำเนินงาน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด และมอบหมายให้ทุกหน่วยงานดำเนินการแบบบูรณาการทั้งแผนงาน งบประมาณ และการปฏิบัติการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งมีเป้าหมายในการลดระดับปัญหา ให้เห็นเป็นรูปธรรม เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่เศรษฐกิจ มีการย้ายถิ่นของแรงงานจากต่างจังหวัด และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเป็นประชากรแฝงในพื้นที่เป็นจำนวนมาก จึงยากต่อการควบคุม ดูแล ซึ่งผลการปราบปรามทั้งผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สามารถจับกุม ผู้กระทำความผิดพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ได้เป็นจำนวนมาก กรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดนโยบายเร่งด่วน ประกอบกับการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ซึ่งกำหนดมาตรการสนับสนุนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน ให้กระจายครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้เห็นความสำคัญของการดำเนินงานดังกล่าว จึงจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ขึ้น เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 3.2 เพื่อสนับสนุนการดำเนินการงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 65 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการค่าใช้จ่ายอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 42,200.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 40.00
269 1.0.5. .. 2564 กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ด้วยกรุงเทพมหานครได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งมีการดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครพบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารดีขึ้นโดยลำดับ และเพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืน และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมงานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานครให้มีความต่อเนื่อง ทั้งยังส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ ได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัย ในพื้นที่ ให้ได้รับการคุ้มครองสุขภาพ จากการบริโภคอาหารปลอดภัย 3.1.1 เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐาน ด้านสุขลักษณะในสถานประกอบการอาหาร 3.1.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการอาหาร 3.1.3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจ ในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภั 3.2.1 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 95 3.2.2 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ร้อยละ 100 3.2.3 สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 71,000.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2020-10-01 00:00:00 2021-10-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
270 1.0.1. .. 2564 สำรอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ต่อเนื่องจากโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย เพื่อให้ หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัว และตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย จากทุกสำนักงานเขต ทั้งนี้ เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย 1. ประชาชนได้รับความคุ้มครองและเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 2. สถานที่จำหน่ายและสะสมอาหาร,ตลาดและโรงเรียน ได้รับการพัฒนาและยกระดับมาตรฐาน 3. ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ องค์กรเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชน เพื่อการพัฒนาด้านอาหารปลอดภัยอย่างยั่งยืน 4. เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 6.00
271 1.0.2. .. 2564 กรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ สำนักงานเขตสาทร ตระหนักถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาและลดผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ เด็กและเยาวชน ในสถานศึกษามีความรู้และทราบถึงผลกระทบหรืออันตรายที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตลอดจนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมที่ทำให้สังคมในพื้นที่เขตสาทรเป็นสังคมที่ปลอดจากควันบุหรี่ 1.เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานตามแนวทางเขตปลอดบุหรี่ 2.เด็กและเยาวชนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เด็กและเยาวชนในสถานศึกษามีความรู้และทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 30,000.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 17.00
272 1.0.1. .. 2564 โครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ 1. สำนักงานเขตมีข้อมูลสำหรับใช้ในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ และประสานความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียอย่างใกล้ชิด 2.ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด และรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้ำ 3.กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการที่ถูกต้องและครบถ้วน สำหรับใช้ในการวางแผนจัดการคุณภาพน้ำและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีฐานข้อมูลเป็นระบบสารสนเทศ 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
273 1.0.2. .. 2564 อาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชน 1.หลักการและเหตุผล เขตสาทรมีขนาดพื้นที่ทั้งหมด 9.326 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่เขตชั้นในที่มีประชากรประมาณ 82,096 คน ไม่รวมประชากรแฝงที่อาศัยอยู่อย่างหนาแน่น สภาพโดยทั่วไปประกอบด้วย ถนนสายหลัก จำนวน 10 สาย ถนนสายรอง จำนวน 4 สาย และถนนซอยมากถึง 256 ซอย โดยมีชุมชนทั้งสิ้น 26 ชุมชน ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 179.59 ตัน/วัน ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการจัดเก็บขยะมูลฝอย เนื่องจากรถยนต์เก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นซอยแคบ หรือชุมชนที่มีบ้านเรือนตั้งอยู่อย่างหนาแน่น ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชักลากมูลฝอยมีจำนวนน้อย เมื่อเทียบกับปริมาณมูลฝอยที่ต้องจัดเก็บในแต่ละวันทำให้เกิดปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่อยู่หลายครั้ง ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ได้ตระหนักถึงปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครชักลากมูลฝอยในชุมชนขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการชักลาก มูลฝอยในชุมชนของตนเอง ซึ่งเป็นชุมชนที่รถยนต์เก็บขนมูลฝอยไม่สามารถเข้าถึง 9.1 ปัญหาขยะตกค้างในพื้นที่เขตสาทรลดน้อยลง 9.2 การจัดเก็บมูลฝอยของสำนักงานเขตสาทรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 9.3 ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในชุมชนของตนเอง 216,000.00 18,000.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
274 1.0.2. .. 2564 ส่งเสริมการคัดแยกและรวบรวมมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่แหล่งกำเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ 1. หลักการและเหตุผล กรุงเทพมหานครมุ่งหวังให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจากมูลฝอยอันตราย ซึ่งอาจมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับมูลฝอยทั่วไป แต่เป็นมูลฝอยที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมอย่างมากหากมีการจัดการไม่เหมาะสมตั้งแต่ขั้นตอนการทิ้งการเก็บรวบรวมและการกำจัดที่ไม่ถูกวิธี ซึ่งมูลฝอยอันตรายที่เกิดจาก บริษัท ห้าง ร้าน สถานประกอบการ สำนักงาน ชุมชน และครัวเรือน ส่วนมากจะถูกทิ้งปะปนกับขยะทั่วไป และนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกวิธีทำให้สารพิษจากขยะพิษดังกล่าวปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ดิน แหล่งน้ำ และอากาศ ทำให้เกิดมลพิษ และส่งผลต่อสุขภาพ ซึ่งวิธีการกำจัดมูลฝอยอันตรายนั้นมีหลากหลายวิธีแต่ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดคือการทิ้ง สำนักงานเขตสาทร ได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากมูลฝอยอันตราย จึงขอความร่วมมือจาก บริษัท ห้าง ร้าน สถานประกอบการ สำนักงาน ชุมชน ครัวเรือน ช่วยกันคัดแยกขยะอันตรายก่อนทิ้ง เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ที่หมดอายุ กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสเปรย์ สีทาบ้าน หลอดไฟหมดอายุโดยเฉพาะหลอดเรืองแสงซึ่งมีการฉาบสารวาวแสง ยารักษาโรคหมดอายุ ยาทาเล็บ เป็นต้น ซึ่งสามารถทำได้ง่าย ๆ โดยนำมูลฝอยอันตรายใส่ถุงขยะให้มิดชิด และนำไปทิ้งในถังรองรับมูลฝอยประเภทมูลฝอยอันตราย เพื่อกรุงเทพมหานครจักได้นำไปทำลายอย่างถูกวิธีต่อไป ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมการคัดแยกและรวบรวมมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่แหล่งกำเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยและให้ความสำคัญของการคัดแยกมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ออกจากขยะทั่วไปและนำไปทิ้งอย่างถูกวิธี 9.1 กลุ่มเป้าหมายในทุกภาคส่วนเกิดความตระหนักและเข้าใจ พร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการ คัดแยกขยะมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น 9.2 ลดปริมาณมูลฝอยอันตรายที่ลักลอบทิ้งลงในคู คลอง ที่รกร้าง ที่ว่าง 9.3 ปริมาณมูลฝอยอันตรายและมูลฝอยอิเล็กทรอนิกส์ที่คัดแยกได้จากแหล่งกำเนิด เข้าสู่กระบวนการทำลายอย่างถูกวิธีเพิ่มมากขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
275 1.0.1. .. 2564 โครงการกวดขันการจอดหรือขับขี่รถยนต์ จักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ปัจจุบันทางเท้า ในถนนต่าง ๆ ของพื้นที่เขตสาทร ได้มีประชาชนนำรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อน ขึ้นไปจอดหรือขับขี่หรือเข็นบนทางเท้าเป็นจำนวนมาก ทำให้ประชาชนผู้ใช้ทางเท้าไม่ได้รับความสะดวก และอาจได้รับอันตรายหรือทำให้ทางเท้าชำรุดเสียหาย นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยภายในพื้นที่ ประกอบกับการกระทำดังกล่าว เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 อีกด้วย ดังนั้นฝ่ายเทศกิจจึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการกวดขันผู้นำรถขึ้นจอดหรือขับขี่บนทางเท้า เพื่อดำเนินการกับผู้กระทำผิดดังกล่าว 1. ประชาชนได้รับทราบถึงข้อกฎหมายและให้ความร่วมมือไม่กระทำความผิด 2. ประชาชนผู้ใช้ทางเท้าเดินได้รับความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น 3. เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยแก่บ้านเมือง 4. เพื่อเป็นการรักษาทรัพย์สินของราชการมิให้ชำรุดเสียหาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
276 1.0.1. .. 2564 โครงการบูรณาการการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางความเจริญในด้านต่าง ๆ ทำให้มีการอพยพแรงงานเพิ่มมากขึ้น มีการแย่งงานกันทำ และมีอัตราว่างงานสูง ทำให้นำไปสู่ปัญหาการก่ออาชญากรรม การฉกชิงวิ่งราว การลักทรัพย์ การทำร้ายร่างกาย ซึ่งเป็นปัญหาทางสังคม ที่สำคัญที่หน่วยงานราชการจะต้องเร่งดำเนินการป้องกันและแก้ไข ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาดังกล่าว ให้ประชาชนในพื้นที่เขตสาทรมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จึงจัดทำโครงการบูรณาการการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 1. ประชาชนในพื้นที่เขตสาทร ได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. ประชาชนได้รับการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ 3. ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่เจ้าหน้าที่เทศกิจ 4. สามารถสนองนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
277 1.0.2. .. 2564 โครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะสดที่ย่อยสลายได้ ขยะที่ยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย สำนักงานเขตบางคอแหลม โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและเศษผักผลไม้ โดยนำมาแปรสภาพให้เป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์หรือเป็นอาหารสัตว์ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและเศษผักผลไม้ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย และช่วยประหยัดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร 9.1 ประชาชนในพื้นที่เขตบางคอแหลมได้รับความรู้ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะเศษอาหาร เศษผักผลไม้ โดยนำมาทำน้ำหมักจุลินทรีย์ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก 9.2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 9.3 ช่วยลดปัญหาขยะเศษอาหารเน่าเหม็นที่สร้างความเดือดร้อนรำคาญ 9.4 ลดปริมาณขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
278 1.0.6. .. 2564 จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย กรุงเทพมหานครมีความมุ่งหวังที่จะส่งเสริมสนับสนุน และดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนในกรุงเทพมหานครให้มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญา โดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเอง ด้วยการออกกำลังกาย ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และยังเป็นการป้องกันปัญหาสังคมด้านอื่นๆ เช่น การป้องกันปัญหายาเสพติด เป็นต้น สำนักงานเขตจอมทองได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง จึงได้จัดทำโครงการการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคและโยคะ เป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัวและเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย เพื่อช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ ความเครียดจากการทำงาน ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ 9.1 เด็ก เยาวชน และประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาพจิตดี ผ่อนคลายลดความเครียดจากภาวะปัจจุบัน 9.2 เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพออกกำลังกายแอโรบิคให้กับเด็ก เยาวชน และประชาชนในลานแอโรบิคและลานกีฬา จำนวน 16 แห่ง และโยคะ 2 แห่ง แห่งละ 40 - 80 คน 1,402,200.00 522,600.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
279 1.0.6. .. 2564 ส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา ลานกีฬากรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นตามการดำเนินกิจกรรมกีฬาเพื่อคนทั้งมวล (Sport For All) โดยต้องการสร้างรากฐานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของคน ทำให้คนกรุงเทพมีร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีคุณธรรม โดยมุ่งหมายและยกระดับการพัฒนาการกีฬาให้สอดคล้องสัมพันธ์กับความต้องการของบุคคล ชุมชน ด้วยการจัดสรรพื้นที่ว่างเปล่าที่มิได้ใช้ประโยชน์นำมาเป็นลานกีฬา จึงได้มีการจัดตั้งลานกีฬาสำหรับประชาชนกระจายอยู่ทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นสถานที่ออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างพลานามัยทั้งด้านการร่างกายและจิตใจ ลดความตึงเครียดที่เกิดจากสภาพแวดล้อม เป็นสถานที่จัดกิจกรรมนันทนาการ จัดกิจกรรมรวมกลุ่ม อีกทั้งสร้างการมีส่วนร่วมดูแล และรับผิดชอบร่วมกันในชุมชน และยังเป็นทางเลือกแก่ประชาชนในชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม อีกทางหนึ่งด้วย เพื่อให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครทุกเพศทุกวัยมีความเท่าเทียมกันทางการกีฬา สามารถเล่นกีฬาได้อย่างปลอดภัย ประหยัดและสะดวกใกล้ที่พักอาศัย และตอบสนองต่อนโยบายของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจอมทองจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา 9.1 เยาวชนและประชาชนจะมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง 9.2 เยาวชนและประชาชนมีการรวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ และมีการพัฒนาโดยใช้กิจกรรมการกีฬาเป็นสื่อ 9.3 เยาวชนและประชาชนมีความสามารถด้านกีฬา และมีโอกาสแสดงความสามารถด้านกีฬาอย่างเต็มที่ 9.4 เยาวชนและประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดการมั่วสุมทางอบายมุข สิ่งเสพติด 1. จ้างอาสาสมัครลานกีฬา จำนวน 7 คน เพื่อดูแลลานกีฬาในพื้นที่เขตจอมทอง จำนวน 19 แห่ง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสโมสรกีฬาและลานกีฬา โดยจัดการแข่งขันแบดมินตันประเภทคู่ จำนวน 8 รุ่น 3. เพื่อคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถด้านการกีฬา มาพัฒนาทักษะและส่งเสริมการเข้าร่วมแข่งขันกีฬา 1,105,800.00 972,204.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
280 1.0.1. .. 2564 โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์รวมของความเจริญในทุกด้าน ไม่ว่าด้านการปกครอง การทหาร การเศรษฐกิจและการคลัง การคมนาคมขนส่ง การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข การท่องเที่ยว จนมีผู้กล่าวว่า “กรุงเทพมหานคร คือ ประเทศไทย” ประกอบกับ มีการอพยพหลั่งไหลของประชาชนจากทั่วทุกสารทิศเข้ามาตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ หรือแสวงหาโอกาสในด้านต่างๆ จากการเป็นศูนย์รวมของความเจริญและมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นดังกล่าว กรุงเทพมหานครจึงเป็นมหานครที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาจากการก่ออาชญากรรมที่นับวันจะมีแนวโน้มทวีความรุนแรง มีความซับซ้อน และมีจำนวนสถิติการเกิดเหตุที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุข ของประชาชนและถือเป็นภัยอันรุนแรงของสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ให้บริการสาธารณะเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลให้ประชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและเป็นปกติสุข ซึ่งรวมไปถึงการดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากปัญหาอาชญากรรม โดยบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ในการป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ การดูแลและปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม การดูแลและติดตั้งอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยต่างๆ รวมไปถึงการจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราความเรียบร้อยของพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีความล่อแหลมหรือมีสถิติการเกิดอาชญากรรมบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการป้องปราม และตัดโอกาสหรือลดช่องทางในการก่ออาชญากรรม ทั้งนี้ โดยการบูรณาการประสานความร่วมมือกันระหว่างสำนักงานเขตสวนหลวง และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 9.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในพื้นที่เขตสวนหลวง 9.2 ประชาชนมีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต 9.3 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงานสำนักงานเขตสวนหลวงและองค์กรกรุงเทพมหานคร รวมถึงสร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกที่ดีระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตสวนหลวง จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงวันละ 3 ครั้ง/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
281 1.0.2. .. 2564 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ทำให้ มีประชากรจากต่างถิ่นต่างพื้นที่เข้ามาพักอาศัยและประกอบอาชีพกันอย่างหนาแน่น จึงส่งผลให้มีปริมาณ มูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันมีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้ประมาณ 10,500 ตัน/วัน ซึ่งหากไม่มีมาตรการจัดการที่ดีก็จะส่งผลให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทำให้เกิดมลภาวะเป็นพิษได้ และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการลดปริมาณมูลฝอยการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดและเห็นความสำคัญของ การนำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ขยะสดที่ย่อยสลายได้ เช่น ขยะเศษอาหารจากครัวเรือน เศษผัก เปลือกผลไม้ ฯลฯ 2. ขยะยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ ขวดพลาสติก แก้ว ฯลฯ 3. ขยะอันตราย เป็นขยะที่ก่อให้เกิดสารพิษและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสีสเปรย์ ฯลฯ 9.1 ประชาชนมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในการลดปริมาณมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 9.2 ปุ๋ยน้ำชีวภาพที่หมักได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบำรุงรักษาต้นไม้หรือใช้เป็นสารที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพดินซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อม 9.3 ลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอย 9.4 กลุ่มเป้าหมายจะตระหนักถึงการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 3.1 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 แห่ง - โรงเรียนวัดใต้ - โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ - โรงเรียนวัดปากบ่อ - โรงเรียนสุเหร่าใหม่ - โรงเรียนหัวหมาก - โรงเรียนคลองกลันตัน - โรงเรียนวัดทองใน - โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ 3.2 สถาบันการศึกษา จำนวน 1 แห่ง - สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น 3.3 โรงเรียนเอกชน จำนวน 2 แห่ง - โรงเรียนมูลนิธิวัดปากบ่อ - โรงเรียนวัดมหาบุศย์ 3.4 ชุมชนในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง - ชุมชนสวนหลวงก้าวหน้า - ชุมชนมิตรไมตรี - ชุมชนธรรมานุรักษ์ - ชุมชนริมคลองหัวหมากใหญ๋ 3.5 ตลาด จำนวน 1 แห่ง - ตลาดเอี่ยมสมบัติ 3.6 ประชาชนผู้สนใจทั่วไป 50,000.00 100,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
282 1.0.5. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการตรวจสอบ ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข รวมทั้งดูแลสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครปลอดภัย” ทำให้ประชาชน ผู้อยู่อาศัยและผู้มาเยือนมีความสุข ความปลอดภัยจากการรับประทานอาหารและได้รับบริการที่ดี สำนักงาน เขตสวนหลวงได้เห็นความสำคัญด้านการสุขาภิบาลอาหาร จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น เพื่อพัฒนายกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหารให้ได้มาตรฐาน อาหารไม่มีการปนเปื้อน รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวรวมทั้งผู้เข้ามาพักอาศัย เป็นการคุ้มครองความปลอดภัยในด้านอาหารให้กับผู้บริโภค 2.1 เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.2 เพื่อตรวจสอบ และเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.3 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3.1 ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตสวนหลวง ปฏิบัติตามเกณฑ์ด้าน-สุขลักษณะของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 3.2 สุ่มตรวจและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารที่จำหน่าย ณ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ทในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหาร ที่ได้รับการ สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย และไม่พบเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร 94,000.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
283 1.0.1. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย การดำเนินงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนา กรุงเทพมหานคร สู่การเป็นเมืองที่มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด และปลอดภัย เนื่องด้วยเป็นการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย ตั้งแต่การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพก่อนเกิดความเจ็บป่วย การพัฒนานโยบายและมาตรการทางกฎหมายและมาตรฐานทางวิชาการบนฐานความรู้ การสื่อสารสาธารณะ รวมถึงการสนับสนุน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ สามารถสนันสนุนการพัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีสมดุลได้อย่างยั่งยื่น 1 บ้านเรือน ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่-เขตสวนหลวง ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อเหตุรำคาญหรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน และสิ่งแวดล้อม 2 หน่วยงาน สถานประกอบการ และประชาชนในพื้นที่เขตสวนหลวง ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ-ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ๓.1 มีการดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เหตุร้องเรียน การควบคุมป้องกันโรค และการประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในบ้านเรือน ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานในและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 48 ครั้ง โดยมีขอบเขตและเป้าหมายการดำเนินงาน ดังนี้ ๓.๑.1 การตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดังรบกวน กลิ่นเหม็น การเลี้ยงและปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล ๓.๑.2 การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการ-ทำงานของสถานประกอบการที่ประกอบการ แรงงานนอกระบบหรือแรงงานในชุมชนในช่วงนอกเวลาราชการ ๓.๑.3 ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการ-คุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร ๓.๑.4 ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาด-ของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ และตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๓.๑.5 ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค ในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๓.๑.๖ ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัด-มลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่-ได้รับมอบหมาย 3.1.7 ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ๓.2 ดำเนินการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตสวนหลวง จำนวน 35 ครั้ง 165,100.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
284 1.0.2. .. 2564 โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบความสงบสุขของประชาชน และเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยงานภาคีทุกระดับ สถานการณ์การค้าและการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครในปัจจุบันพบว่า ยังมีการจับกุมผู้ต้องหาคดีค้ายาเสพติดมีปริมาณสูงต่อเนื่อง รวมทั้งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าเด็ก เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ควรได้รับการส่งเสริมภูมิคุ้มกันจากครอบครัวและชุมชน ประกอบกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ ได้มีคำสั่งที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2558 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานกรรมการบริหาร มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมายในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สั่งการ มอบหมายให้หน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการบูรณาการทั้งแผนงาน งบประมาณ และการปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติดเป้าประสงค์ที่ 1.2.2.1 เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด และแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556 – 2575) มีเป้าหมายในการจัดตั้งอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในปี 2561 – 2565 ไม่น้อยกว่า 16,432 คน สำนักงานเขตสวนหลวง ในฐานะศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขต (ศป.ปส.เขต) ซึ่งทำหน้าที่อำนวยการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตสวนหลวง ได้ตระหนักว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนโดยเฉพาะประชาชนหรือผู้นำชุมชนที่มีจิตอาสาในการช่วยเฝ้าระวัง ตามมาตรการที่กำหนดและเพื่อให้การดำเนินการในการจัดทำกิจกรรมพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตสวนหลวง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีแนวทางที่ชัดเจน จึงได้จัดทำโครงการเริ่มดำเนินการพัฒนาอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชน สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้ดำเนินงานโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตสวนหลวง ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น 9.1 อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เห็นความสำคัญและเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนมากขึ้น 9.2 การอำนวยการด้านการกำกับ ติดตามการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจะช่วยขับเคลื่อนงานในพื้นที่เขตให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด จำนวน 2 ครั้ง 78,200.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 30.00
285 1.0.2. .. 2564 ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด -ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของประชาชนและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ แม้ว่าจะมีบูรณาการการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมาตรการอย่างเข้มแข็งกับหน่วยงานภาคีในทุกระดับ สถานการณ์การค้าและการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานครในปัจจุบันพบว่ายังมีการจับกุมผู้ต้องคดีค้ายาเสพติดที่สำคัญและปริมาณของกลางที่ยึดได้ยังมีปริมาณสูงต่อเนื่อง รวมทั้งในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมาผู้เข้ารับการบำบัดรักษาการติดยาและสารเสพติดเป็นเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี ซึ่งเป็นอนาคตของชาติ จึงมีความจำเป็นที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเมื่อกลับสู่ชุมชน เพื่อลดโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดซ้ำ ส่วนเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดควรได้รับการส่งเสริมภูมิคุ้มกันจากครอบครัวและชุมชน ประกอบกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ ได้มีคำสั่งที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานคร โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธาน กรรมการบริหารมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมายในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สั่งการ มอบหมายให้หน่วยงานในพื้นที่ดำเนินการบูรณาการ ทั้งแผนงาน งบประมาณและการปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและ ยาเสพติด เป้าประสงค์ที่ 1.2.2.1 เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด และแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556 – 2575) มีเป้าหมายในการจัดตั้งอาสาสมัคร เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในปี 2561 – 2565 ไม่น้อยกว่า 16,432 คน กรุงเทพมหานครเริ่มจัดตั้งอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดตั้งแต่ปี 2557 โดยมีภารกิจเฝ้าระวังภัยต่าง ๆ ในชุมชน เฝ้าระวังและป้องกันอาชญากรรมและการแพร่ระบาดของ ยาเสพติดในชุมชน และสถานศึกษารอบชุมชน ค้นหาและชักจูงผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้เข้ารับการบำบัดรักษาในระบบสมัครใจ ติดตาม ดูแล และช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษา ติดตามข้อมูลข่าวสารที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐและแจ้งเหตุต่างๆ ไปยังผู้ประสานงานของสำนักงานเขต และให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ทั้งนี้อาสาสมัครฯ ถือเป็นเครือข่ายภาคประชาชนที่สำคัญในการเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตหลักสี่ มีอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพแล้ว จำนวน 432 คน มีศูนย์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน เขตหลักสี่ จำนวน 11 ศูนย์ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและ ยาเสพติด เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงาน เป็นเครือข่ายภาคประชาชนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันยาเสพติดและเฝ้าระวังภัยในชุมชน รวมทั้งเพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านปลอดภัย (COMMUNITY) : ชีวิตปลอดภัย ทรัพย์สินปลอดภัย ชุมชนและสังคมปลอดภัย สำนักงานเขตหลักสี่ จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตหลักสี่ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตหลักสี่ 2.เพื่อเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังอาชญากรรมและยาเสพติด 3.เพื่อติดตามสถานการณ์ภัยและยาเสพติดในชุมชน และให้อาสาสมัครฯ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 2. อาสาสมัครฯ จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตหลักสี่ 115,500.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
286 1.0.1. .. 2564 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) ปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังคงประสบปัญหาขาดแคลนกำลังสนับสนุนในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ในการเป็นหน่วยสนับสนุนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทำให้เมื่อมีสาธารณภัยเกิดขึ้น จึงเกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก สำนักงานเขตหลักสี่ เป็นหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภารกิจในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยในปัจจุบันพื้นที่เขตหลักสี่มีอาคารบ้านเรือน สถานที่ราชการ สถานประกอบการ เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้และประสบการณ์ในการป้องกันภัยและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ ประกอบกับกำลังเจ้าหน้าที่ของรัฐยังมีไม่เพียงพอ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือและสนับสนุนภารกิจในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงจำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนให้มีเพิ่มมากขึ้น โดยฝึกฝนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงจัดตั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเพิ่มขึ้น จึงจัดให้มีโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 ขึ้น 1.เพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนสมาชิกและจัดตั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 2.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในพื้นที่เขตมีความรู้ ความเข้าใจในกิจการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน รวมทั้งให้ความรู้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นโดยสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้อย่างปลอดภัยและถูกต้องตามหลักวิชาการ 3.เพื่อเป็นกำลังสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4.เพื่อสร้างกลุ่มพลังมวลชนด้านการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของสำนักงานเขตหลักสี่ 5.เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 1.เป้าหมายด้านปริมาณ โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 ได้กำหนดจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการฝึกอบรมจำนวน 10 คน โดยทำการฝึกอบรมแบบไป – กลับ เป็นเวลา 5 วัน 2.เป้าหมายด้านคุณภาพ ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลัก รุ่นที่ 16 จะเป็น ผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในกิจการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และมีความรู้ในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยสามารถปฏิบัติงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐได้เป็นอย่างดี 64,100.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
287 1.0.1. .. 2564 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) เพื่อให้สมาชิก อปพร.เขตหลักสี่ที่ได้รับการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรหลักได้มีโอกาสได้ทบทวนและเพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเป็นการพัฒนาบุคลากรในด้านอาสาสมัครช่วยเหลืองานด้านบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งสอดคล้องกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-พ.ศ.2575) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 มิติที่ 1.4 ปลอดภัยพิบัติ สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้จัดให้มีโครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หลักสูตรทบทวน ปีงบประมาณ 2564 1.เพื่อให้การดำเนินงานของอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เป็นระบบและเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความชำนาญ และทักษะให้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือนมีความพร้อม ความมั่นใจในการปฏิบัติงาน 4.เพื่อให้อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ รวมถึงการได้เพิ่มพูนความรู้และวิทยาการใหม่ ๆ ในการปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5.เพื่อให้สมาชิก อปพร. นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมส่วนรวมและประเทศชาติ สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในพื้นที่เขตหลักสี่ที่เคยผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรหลักมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี โดยกำหนดผู้เข้าฝึกอบรม จำนวน 50 คน วิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการ จำนวน 10 คน 41,500.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
288 1.0.5. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครอย่างสูงสุด สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย และเป็นไปตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านมหานครความปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงการจัดทำฐานข้อมูลจากสถานประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมายจากทุกสำนักงานเขต ทั้งนี้เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย 1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 4. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 1. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20 75,000.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
289 1.0.1. .. 2564 โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่ง สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย สำนักงานเขตหลักสี่ จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการและควบคุมปัจจัยหรือสภาวะแวดล้อมที่เป็นหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะกับการดำรงชีพของประชาชนกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวรวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 1. การตรวจสอบแก้ไขปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน 2. การตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการที่ประกอบการ 3. การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค และตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น การดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ หมายถึง การดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน 48 ครั้ง การดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 หมายถึง การดำเนินงานโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง จำนวน 35 ครั้ง จำนวนครั้งของการดำเนินงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตหลักสี่ และการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 จำนวน 83 ครั้ง 165,100.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
290 1.0.2. .. 2564 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ด้วยกรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะ เป็นจำนวนมากที่ต้องนำไปกำจัดถึง 10,000 ตัน/วัน และเป็นมูลฝอยประเภทอินทรีย์สารเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่สูงถึงประมาณร้อยละ 50 ซึ่งขยะอินทรีย์เหล่านี้ หากมีการคัดแยกเศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ นำมาหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพจากแหล่งกำเนิดจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยและลดค่าใช้จ่ายในการจัดการมูลฝอยและเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดอีกทั้งสามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชน ดังนั้น สำนักงานเขตหลักสี่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำมาใช้ประโยชน์โดยการนำมูลฝอยหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งการนำมูลฝอยเศษอาหารมาทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) ไปใช้ประโยชน์ ทำให้ปริมาณมูลฝอยเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลายลดลง เป็นการประหยัดงบประมาณและพลังงานของชาติ 1. เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้และไม้ใบหญ้า โดยนำมาทำเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) นำมาใช้ประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด 3. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ในการคะดอยดขยะอินทรีย์ 4. เพื่อลดปริมาณมูลฝอยที่สำนักงานเขตหลักสี่ ต้องจัดเก็บและนำไปทำลาย 1. กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมให้มีการนำมูลฝอยอินทรีย์มาใช้กระโยชน์ด้วยการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ขยะหอม) ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน (เพื่อกำจัดเศษอาหาร) ให้กับชุมชน วัด หน่วยราชการ สถานศึกษา สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจในพื้นที่เขตและกระชาชนทั่วไป 2. กิจกรรมเทน้ำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ลงในคลองพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อบำบัดน้ำเสีย 50,000.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
291 1.0.2. .. 2564 โครงการนำกิ่งไม้ใบไม้นำกลับไปใช้ประโยชน์ ปัจจุบันปริมาณมูลฝอยที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บจากบ้านเรือนประชาชน ร้านอาหาร โรงเรียน เป็นต้น มูลฝอยบางส่วนเกิดจากการตัดแต่งกิ่งไม้ในบ้านเรือนประชาชนและพื้นที่เขต นำไปทิ้งกับมูลฝอยทั่วไป และส่งเข้าศูนย์กำจัดมูลฝอยกรุงเทพมหานคร จึงทำให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่ม สำนักงานเขตหลักสี่ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่เขต เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอีกทาดงหนึ่งและสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ 1. ลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดก๊าชมีเทนในบ่อฝังกลบส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน 2. ลดปริมาณมูลฝอยโดยการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ออกจากมูลฝอยทั่วไปที่ต้องส่งไปกำจัดและนำไปทำปุ๋ยหมักตามกระบวนการ 3. เพื่อมีปุ๋ยหมักไว้ใช้ในพื้นที่เขต เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยและประหยัดงบประมาณในการบริหารจัดการ ลดปริมาณมูลฝอยประเภทกิ่งไม้ใบไม้ โดยการคัดแยกกิ่งไม้ใบไม้ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อมต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อนพมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2020-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
292 1.0.1. .. 2565 โครงการปรับปรุงถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา (โครงการต่อเนื่องปี 64) ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก ช่วงจากถนนพุทธมณฑลสาย 3 ถึงซอยทวีวัฒนา - กาญจนาภิเษก 30 พื้นที่เขตทวีวัฒนา ผิวจราจรเดิมเป็นแอสฟัลต์ กว้างประมาณ 6.00 ม. มีไหล่ทางเป็นหินคลุก กว้างข้างละ 1.00 ม. มีเขตทางกว้างประมาณ 13.50-16.00 ม. ความยาวของถนนประมาณ 2,500 ม. ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าวชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนัก มีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา จึงเสนอวิธีแก้ปัญหาด้วย การปรับปรุงผิวทาง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ - ปัจจุบันผิวจราจรแอสฟัลต์ของถนนดังกล่าว ชำรุด ทรุดตัว จากการใช้งานมานาน ต้องใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาเป็นจำนวนมาก และได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมปี พ.ศ. 2554 - เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนเนื่องจากถนนดังกล่าวไม่มีท่อระบายน้ำ ขณะเกิดฝนตกหนักมีน้ำท่วมขังสูง ประชาชนสัญจรด้วยความลำบาก - เป็นเส้นทางลัดเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนทวีวัฒนา - ทำการยกระดับถนนเพิ่มขึ้นประมาณ 0.60 ม. จาก ระดับถนนเดิม - สร้างท่อระบายน้ำ ค.ส.ล. ขนาด ø 1.00 ม. พร้อมบ่อพัก - สร้างทางเท้ากระเบื้องซีเมนต์อัดแรง ขนาด0.30x0.30x0.035 กว้างประมาณ 2.25 ม. - สร้างกำแพงกันดิน - สร้างพื้นทางหินคลุก หนา 0.30 ม. - ถมทรายขยายคันทาง - ปรับปรุงผิวจราจรเป็น ค.ส.ล. หนา 0.25 ม. กว้าง 9.00 ม. - ปรับปรุงและขยายสะพานข้ามคลอง ค.ส.ล. จำนวน 5 แห่ง 98,510,000.00 78,246,619.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2021-12-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
293 1.0.1. .. 2565 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
294 1.0.1. .. 2565 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ โดยใช้เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงต่างๆ เพื่อรองรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดการชำรุดเสียหายจากการใช้งาน เพื่อซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล ให้มีความพร้อมในการนำไปใช้ปฏิบัติงานตลอดเวลา และสำรองเปลี่ยนทดแทนกรณีชำรุดเสียหาย การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
295 1.0.1. .. 2565 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) กรุงเทพมหานครได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่างต่อเนื่องรวมถึงรูปแบบการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งระบบระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วมเดิมไม่สามารถรองรับได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมทวีความรุนแรงขึ้น เพื่อให้การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์แก่สำนักงานเขตต่าง ๆ ติดตั้งใช้งานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ที่สำนักงานเขตรับผิดชอบ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์เป็นไปตามแผนการสนับสนุนประจำปี 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
296 1.0.1. .. 2565 โครงการจัดทำและพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเชิงรุก (โครงการต่อเนื่อง) (กสน.) กองสารสนเทศระบายน้ำ ซึ่งเป็นส่วนราชการที่รับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม จึงได้จัดทำ โครงการจัดทำและพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเชิงรุก เพื่อเป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ เป็นการสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ของผู้บริหารและบุคลากร มารวบรวมในระบบที่ผู้บริหารและบุคลากรทุกคน สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ และยังเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจที่รับผิดชอบ เพื่อให้มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพ 67,955,000.00 17,843,250.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
297 1.0.1. .. 2565 โครงการพัฒนาระบบประเมินปริมาณฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ (กสน.) สำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการนำเครื่องมือที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ และโต้ตอบ (Control-Monitor-Forecast-Interact) อันจะส่งผลให้ระบบระบายน้ำของกรุงเทพมหานครทำงานได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและผลกระทบจากการเกิดน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครได้อย่างยั่งยืน ฝนที่ตกหนักเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นในการบริหารจัดการน้ำท่วมที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องมีข้อมูลการประเมินฝนและการพยากรณ์ฝนที่มีความถูกต้องแม่นยำ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบายน้ำ รวมทั้งเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจในการบริหารจัดการน้ำท่วม เทคนิคการสำรวจระยะไกลด้วยเรดาร์ตรวจอากาศได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อนำมาใช้ในการตรวจวัดฝน เนื่องจากเรดาร์ตรวจอากาศสามารถให้ข้อมูลรายละเอียดของฝนครอบคลุมพื้นที่ที่อยู่ภายใต้รัศมีของเรดาร์และสามารถทำการตรวจวัดฝนได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถให้ความละเอียดของข้อมูลฝนในเชิงพื้นที่ได้ละเอียดถึง o.๕ x o.๕ ตารางกิโลเมตร และสามารถตรวจวัดข้อมูลฝนได้ทุกๆ ๕ นาที ข้อมูลตรวจวัดฝนจากเรดาร์ยังสามารถนำมาใช้ได้ในทันทีหรือมีฝนตก นอกจากนี้ข้อมูลที่วัดได้จากเรดาร์ยังมีศักยภาพเพียงพอที่จะถูกนำไปใช้ในการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำท่วมได้ในลำดับต่อไป ๑. เพื่อจัดทำระบบประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง (Nowcasting) ด้วยเรดาร์ตรวจอากาศ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ข้อมูลจากเรดาร์ ๒ สถานีร่วมกัน ซึ่งประกอบด้วยสถานีเรดาร์หนองจอก และสถานีเรดาร์หนองแขม โดยวิธี Composite Radar Reflectivity ให้สามารถประเมินข้อมูลฝนเชิงพื้นที่ในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานครได้ ๒ เพื่อเชื่อมโยงระบบการประเมินน้ำฝนและการพยากรณ์ฝนล่วงหน้า ๑-๓ ชั่วโมง เข้ากับระบบบริหารจัดการน้ำท่วมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมแบบ Realtime เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำท่วม การประชาสัมพันธ์และการเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๑ การประยุกต์ใช้ข้อมูลตรวจวัดปริมาณฝนด้วยเรดาร์ตรวจอากาศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒ มีระบบประเมินปริมาณฝนและคาดการณ์ฝนล่วงหน้า๑-๓ ชั่วโมงที่มีความแม่นยำ น่าเชื่อถือ และได้มาตรฐานในระดับสากล 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
298 1.0.1. .. 2565 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร (กสน.) ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร จะทำหน้าที่ในด้านการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการระบายน้ำ และการป้องกันน้ำท่วมในกรุงเทพมหานคร โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยประกอบด้วย “สถานีแม่ข่าย” (Master Station) ซึ่งตั้งอยู่ที่ชั้น 6 ของอาคารสำนักการระบายน้ำ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ถนนมิตรไมตรี เขตดินแดง และ “สถานีเครือข่าย” (Monitoring Station) กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ตามสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บางแห่ง คลองสายหลักต่าง ๆ และสำนักงานเขตทั้ง 50 เขต การทำงานของระบบควบคุมการทำงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบ SCADA ซึ่งมีระบบตรวจวัดข้อมูลระยะไกล และส่งข้อมูลมายังศูนย์กลางอัตโนมัติ จากประเมินสถานการณ์ในการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกับระบบตรวจวัดข้อมูลด้านต่าง ๆ ของสถานีเครือข่ายศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร พบว่าระบบตรวจวัดข้อมูลยังไม่ครอบคลุมในสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำ ซึ่งเป็นระบบหลักและสำคัญในการควบคุมและระบายน้ำเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีเพียง 75 แห่ง จึงเห็นควรขยายขีดความสามารถของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุมสถานีสูบน้ำและประตู ระบายน้ำที่เป็นจุดสำคัญ และเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบควบคุมระบบของศูนย์ควบคุมระบบป้องกัน น้ำท่วมกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถรับทราบสถานการณ์การทำงานรวมถึงรองรับการควบคุมการทำงานของสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำได้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พร้อมกับการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวัดข้อมูลของสถานีเครือข่ายเดิม โดยติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลเพิ่มเติม และพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ในการบริหารจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครได้รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ตามนโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 1 ขยายขีดความสามารถของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำหลักที่สำคัญในการควบคุมน้ำ 2 เพิ่มประสิทธิภาพระบบตรวจวัดข้อมูลของสถานีเครือข่ายเดิมของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครให้มีข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ในทุกด้าน 3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการควบคุมและบริหารสั่งการของศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร - มีระบบตรวจสอบ ควบคุมและบริหารจัดการสถานีสูบน้ำ และประตูระบายน้ำหลักเพื่อควบคุมน้ำและป้องกันแก้ไขปัญหาน้ำท่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ- ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานครมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ควบคุมน้ำและมีข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และครอบคลุมระบบระบายน้ำหลัก เพื่อการบริหารจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ - ติดตั้งระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำในคลองเปรมประชากร คลองสอง คลองแสนแสบ คลองประเวศบุรีรมย์ คลองภาษีเจริญ คลองพระยาราชมนตรี คลองสนามชัยและแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 10 จุด 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
299 1.0.1. .. 2565 โครงการพัฒนาระบบตรวจสอบและควบคุมเครื่องสูบน้ำอัตโนมัติพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วม (กสน.) ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครอันเนื่องจากฝนตกในพื้นที่เป็นปัญหาใหญ่ และก่อให้เกิดปัญหาด้านอื่น ๆ ตามมา เช่น ด้านการจราจร ด้านความปลอดภัย ซึ่งปัญหาน้ำรอการระบายในหลายพื้นที่เกิดบ่อยครั้งแม้ปริมาณฝนไม่มากจนกลายเป็นจุดเสี่ยงที่ต้องมีการเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เพื่อบรรเทาปัญหาด้านต่าง ๆ จำเป็นต้องเร่งการแก้ไขปัญหาให้คลี่คลายให้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วมได้ใช้ระบบพื้นที่ปิดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาและการระบายน้ำที่ท่วมออกจากพื้นที่อาศัยเครื่องสูบน้ำตามบ่อสูบน้ำต่างๆ ในพื้นที่ปิดล้อมเป็นหลักเพื่อสูบระบายน้ำจากจุดน้ำท่วมไปลงสู่คลองและใช้คลองลำเลียงน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา การเปิดเดินเครื่องสูบน้ำ เพื่อเร่งการระบายน้ำบริเวณน้ำท่วมปัจจุบันใช้เจ้าหน้าที่เฝ้าประจำเครื่องสูบน้ำทุกจุดตลอด 24 ชั่วโมง การตรวจสอบการเดินเครื่องสูบน้ำและการสั่งการเดินเครื่องสูบน้ำต้องประสานและสั่งให้เจ้าหน้าที่ที่ประจำ ทำการเดินเครื่องโดยใช้ระบบโทรศัพท์และวิทยุสื่อสารซึ่งการติดต่อประสานงานเพื่อสั่งการ ปัจจุบันการประสานสั่งการมีอุปสรรคในบางครั้งที่ไม่สามารถติดต่อหรือสั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ประจำเครื่องสูบน้ำได้ เป็นเหตุให้การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเกิดความล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์ จึงมีแนวคิดจัดหาระบบเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพกรณีดังกล่าว โดยจัดทำโครงการระบบตรวจและควบคุมเครื่อง สูบน้ำอัตโนมัติพื้นที่จุดเสี่ยงน้ำท่วม โดยติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็นในการตรวจสอบสถานะเครื่องสูบน้ำ ระบบควบคุมการเปิดเดินเครื่องสูบน้ำระยะไกล และระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในการตรวจดูสภาพความพร้อมของระบบต่าง ๆ ที่บ่อสูบน้ำ ระบบดังกล่าวจะเชื่อมโยงข้อมูลเข้ามาที่ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมหรือส่วนกลาง ซึ่งทำให้รับทราบสถานการณ์หรือสถานะการทำงานของบ่อสูบน้ำได้ตลอดเวลา รวมถึงระบบสามารถสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำได้จากส่วนกลางตามสถานการณ์ฝนหรือน้ำท่วม จะทำให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาได้รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ - เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ในการสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม - เพื่อสำรวจติดตั้งอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบการทำงานของเครื่องสูบน้ำและความพร้อมของบ่อสูบน้ำ สถานีสูบน้ำในพื้นที่จุดเสี่ยงและจุดเฝ้าระวังน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร - เพื่อจัดทำระบบการตรวจสอบและควบคุมเครื่องสูบน้ำระยะไกล ในการควบคุมและสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำจากส่วนกลาง - เพื่อรับทราบสถานการณ์ปัจจุบันของเหตุการณ์บริเวณบ่อสูบหรือสถานีสูบน้ำได้เพื่อประเมินและวางแผนการแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว - จุดเสี่ยงทุกจุดมีระบบตรวจสอบการทำงานของเครื่องสูบน้ำ ที่สามารถตรวจสอบได้จากส่วนกลางได้ทันทีและตลอดเวลา - มีระบบการควบคุมและสั่งการระยะไกล สามารถสั่งเปิดเดินเครื่องสูบน้ำได้ทันทีจากส่วนกลาง - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ ๒ Mega Pixel Fix Hybrid Camera ชนิด Day/Night Mode จำนวน 80 กล้อง 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
300 1.0.2. .. 2565 โครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานคร ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย โดยการนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะสดที่ย่อยสลายได้ ขยะที่ยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย สำนักงานเขตบางคอแหลม โดยฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและเศษผักผลไม้ โดยนำมาแปรสภาพให้เป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์หรือเป็นอาหารสัตว์ ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณมูลฝอยเศษอาหารและเศษผักผลไม้ที่กรุงเทพมหานครต้องจัดเก็บและทำลาย และช่วยประหยัดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เขตบางคอแหลม มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะเศษอาหาร และเศษผักผลไม้ โดยนำมาทำน้ำหมักจุลินทรีย์ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก 2 เพื่อก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 3 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 1 ดำเนินการสาธิตการจัดการมูลฝอยให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ชุมชน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และโรงเรียนเอกชนในพื้นที่เขตบางคอแหลม ดำเนินการอย่างน้อยกลุ่มเป้าหมายละ 1 แห่ง 2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอย ร้อยละ 10 ต่อปี เป็นส่วนหนึ่งของปริมาณที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 3 ประชาชนสามารถนำเศษอาหาร เศษผักผลไม้มาทำเป็นน้ำหมักจุลินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ในชุมชน และในครัวเรือนได้ 50,000.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
301 1.0.2. .. 2565 โครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ทำให้ มีประชากรจากต่างถิ่นต่างพื้นที่เข้ามาพักอาศัยและประกอบอาชีพกันอย่างหนาแน่น จึงส่งผลให้มีปริมาณ มูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันมีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้ประมาณ 10,500 ตัน/วัน ซึ่งหากไม่มีมาตรการจัดการที่ดีก็จะส่งผลให้ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทำให้เกิดมลภาวะเป็นพิษได้ และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการลดปริมาณมูลฝอยการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตสวนหลวง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนลดและแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดและเห็นความสำคัญของ การนำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมและร่วมมือในการคัดแยกมูลฝอยออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ขยะสดที่ย่อยสลายได้ เช่น ขยะเศษอาหารจากครัวเรือน เศษผัก เปลือกผลไม้ ฯลฯ 2. ขยะยังใช้ได้หรือขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ ขวดพลาสติก แก้ว ฯลฯ 3. ขยะอันตราย เป็นขยะที่ก่อให้เกิดสารพิษและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลง กระป๋องสีสเปรย์ ฯลฯ 2.1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ เช่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ โดยนำมาใช้ประโยชน์ เช่น หมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ นำไปเลี้ยงสัตว์ หมักทำปุ๋ยอินทรีย์ นำไปเลี้ยงไส้เดือน 2.2 เพื่อลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารที่กรุงเทพมหานครต้องกำจัดและทำลาย 2.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาสชนมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ส่งเสริมให้ประชาชนนำมูลฝอยอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 3.1 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 แห่ง - โรงเรียนวัดใต้ - โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ - โรงเรียนวัดปากบ่อ - โรงเรียนสุเหร่าใหม่ - โรงเรียนหัวหมาก - โรงเรียนคลองกลันตัน - โรงเรียนวัดทองใน - โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ์ 3.2 สถาบันการศึกษา จำนวน 1 แห่ง - สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น 3.3 โรงเรียนเอกชน จำนวน 2 แห่ง - โรงเรียนมูลนิธิวัดปากบ่อ - โรงเรียนวัดมหาบุศย์ 3.4 ชุมชนในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง - ชุมชนสวนหลวงก้าวหน้า - ชุมชนมิตรไมตรี - ชุมชนธรรมานุรักษ์ - ชุมชนริมคลองหัวหมากใหญ๋ 3.5 ตลาด จำนวน 1 แห่ง - ตลาดเอี่ยมสมบัติ3.6 ประชาชนผู้สนใจทั่วไป 50,000.00 50,000.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
302 0.0.0. .. 2565 โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์รวมของความเจริญในทุกด้าน ไม่ว่าด้านการปกครอง การทหาร การเศรษฐกิจและการคลัง การคมนาคมขนส่ง การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข การท่องเที่ยว จนมีผู้กล่าวว่า “กรุงเทพมหานคร คือ ประเทศไทย” ประกอบกับ มีการอพยพหลั่งไหลของประชาชนจากทั่วทุกสารทิศเข้ามาตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพ หรือแสวงหาโอกาสในด้านต่างๆ จากการเป็นศูนย์รวมของความเจริญและมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นดังกล่าว กรุงเทพมหานครจึงเป็นมหานครที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาจากการก่ออาชญากรรมที่นับวันจะมีแนวโน้มทวีความรุนแรง มีความซับซ้อน และมีจำนวนสถิติการเกิดเหตุที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุข ของประชาชนและถือเป็นภัยอันรุนแรงของสังคม สำนักงานเขตสวนหลวง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ให้บริการสาธารณะเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลให้ประชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและเป็นปกติสุข ซึ่งรวมไปถึงการดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากปัญหาอาชญากรรม โดยบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ ในการป้องกันปัญหาดังกล่าว คือ การดูแลและปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม การดูแลและติดตั้งอุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยต่างๆ รวมไปถึงการจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราความเรียบร้อยของพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีความล่อแหลมหรือมีสถิติการเกิดอาชญากรรมบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการป้องปราม และตัดโอกาสหรือลดช่องทางในการก่ออาชญากรรม ทั้งนี้ โดยการบูรณาการประสานความร่วมมือกันระหว่างสำนักงานเขตสวนหลวง และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ 9.1 ประชาชนมีความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในพื้นที่เขตสวนหลวง 9.2 ประชาชนมีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต 9.3 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงานสำนักงานเขตสวนหลวงและองค์กรกรุงเทพมหานคร รวมถึงสร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกที่ดีระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตสวนหลวง จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงวันละ 2 ครั้ง/จุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
303 1.0.5. .. 2565 ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึก และความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย4. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 1. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 30 2. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขเท่ากับร้อยละ 100 80,900.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2021-10-01 00:00:00 2022-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->303 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0