ลำดับ |
ยุทธศาสตร์ 20 ปี |
แผนแม่บทไอที |
ปีงบประมาณ |
ชื่อโครงการ |
หลักการและเหตุผล |
วัตถุประสงค์โครงการ |
เป้าหมายโครงการ |
งบประมาณที่ได้รับ |
งบประมาณที่ใช้ไป |
หน่วยงานที่รับผิดชอบ |
เริ่มโครงการ |
สิ้นสุดโครงการ |
สถานะโครงการ |
คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 |
2.0.1. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมสำรวจจัดทำฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 อาคาร 1 และอาคาร 2 |
เนื่องจากอาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และอาคาร 2 มีปริมาณการใช้อุปกรณ์แสงสว่างเป็นจำนวนมาก และบางจุดมีวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่าทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ จึงดำเนินการสำรวจจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่อไป
|
1. เพื่อทราบถึงจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างทั้งหมดที่อยู่ภายในอาคาร 1 และอาคาร 2
2. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน
|
มีฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของสาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และ 2 |
0.00 |
0.00 |
สํานักการโยธา |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
2 |
2.0.1. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร |
พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร
|
1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร
|
รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร |
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
3 |
2.0.1. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว |
เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่
ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
|
-เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
|
-เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น
จำนวน ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้า
ระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองสามวา |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
4 |
2.0.2. |
3.1. |
2561 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา
2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร
3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 |
8,800,000.00 |
6,600,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
5 |
2.0.2. |
3.1. |
2561 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
|
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 |
11,100,000.00 |
8,325,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
6 |
2.0.2. |
3.1. |
2561 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี
3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง
|
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา |
29,700,000.00 |
28,896,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
7 |
2.0.2. |
3.1. |
2561 |
บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) |
-กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ
|
-1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา
2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)
3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
|
-ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึง กันยายน 2561 |
11,700,000.00 |
8,775,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
8 |
2.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลไม้ยืนต้นกรุงเทพมหานคร |
กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้
ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญ
ในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้
ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์
ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม
จึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา
“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต
เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร”
เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ
พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงาน
และสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป
|
1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร”
2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร”
|
พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง
ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ |
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
9 |
2.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร |
พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร
|
1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร
|
รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร |
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
10 |
2.0.1. |
4.2. |
2561 |
โครงการเพิ่มช่องทางการรับและแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ (โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) |
-เขตหลักสี่ อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขต ที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่สำคัญต่างๆ เช่น ศูนย์ราชการ มีโครงข่ายการคมนาคม เช่น ถนนแจ้ง-วัฒนะ ถนนวิภาวดีรังสิต รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่ส่วนต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ทำให้เกิดการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ว มีการสร้างคอนโดมิเนียม อาคารพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่เขตหลักสี่ มีการเดินทางสัญจรของผู้คนในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น การอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาทำงาน หรือการเดินทางเข้าออกเมือง ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การจราจร ความสะอาด ความสงบเรียบร้อย เป็นต้น
การเข้าแก้ปัญหาในพื้นที่อย่างเร่งด่วนในด้านกายภาพ ไม่ว่าจะเป็นพื้นถนน/ทางเท้าชำรุด ปัญหาต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่เขตล้ม/โค่น ปัญหาฝาท่อระบายน้ำ/อุปกรณ์สาธารณูปโภคชำรุด ปัญหาน้ำท่วมขัง ปัญหาท่อระบายน้ำส่งกลิ่นเหม็น และอีกหลายๆปัญหาที่ส่งผลต่อความเดือดร้อนของประชาชนและนักท่องเที่ยว จึงมีความจำเป็นในการสร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนและกลุ่มนักท่องเที่ยว สมกับเป็นมหานครแห่งความปลอดภัยและมหานครแห่งความสุข
|
1. เพื่อแก้ปัญหาทางกายภาพที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตได้อย่างรวดเร็ว
2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแล เฝ้าระวังและแจ้งปัญหาที่พบเห็น
3. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำคัญของสำนักงานเขต |
1. สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ที่ได้รับแจ้งร้อยละ 80
2. ระยะเวลามาตรฐานในการแก้ไขปัญหาที่ได้รับแจ้งผ่านเครือข่าย
- กรณีเรื่องดำเนินการปกติและอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขต กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไม่เกิน 3 วันทำการ
3. เกิดเครือข่าย “เพิ่มช่องทางการรับและการแก้ไขเรื่องร้องทุกข์” ในแอปพลิเคชั่น LINE จำนวนไม่น้อยกว่า 100 ราย |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตหลักสี่ |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
11 |
2.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว |
เพื่อจัดเก็บข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นให้เป็นปัจจุบัน |
เพื่อนำพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเข้าระบบฯให้เป็นปัจจุบัน |
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเป็นประเภทสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และ
ประเภทพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่ดี และนำเข้าระบบให้เป็นปัจจุบันทุกแห่ง |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองสามวา |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
12 |
2.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร |
ยานพาหนะเป็นทรัพย์สินที่ต้องใช้พลังงาน หากมีฐานข้อมูลจำนวนยานพาหนะจะช่วยในการควบคุมวางแผนการใช้พลังงานได้
|
เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร
|
รายงานฐานข้อมูลรถยนต์ จำนวน 1 ฉบับ |
0.00 |
0.00 |
สํานักการคลัง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
13 |
2.0.2. |
3.1. |
2562 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา
2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร
3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน |
7,300,000.00 |
0.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
14 |
2.0.2. |
3.1. |
2562 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
|
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 |
9,300,000.00 |
0.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
15 |
2.0.2. |
3.1. |
2562 |
บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) |
-กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ
|
-1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา
2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)
3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
|
-ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2562 |
9,770,000.00 |
0.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
16 |
2.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมสำรวจ รวบรวมและพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อนำเข้าฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครโดย 50 สำนักงานเขตและสำนักสิ่งแวดล้อม |
พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด
ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร
|
1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร
|
รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมฯ เพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร |
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
17 |
2.0.1. |
4.2. |
2562 |
ฐานข้อมูลไม้ยื่นต้น |
กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมจึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต
เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงานและสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป
|
1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของ กรุงเทพมหานคร”
2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร”
|
พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง
ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ
|
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
18 |
2.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว |
เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่
ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
|
-เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
|
-สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น
ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม
จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองสามวา |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
19 |
2.0.1. |
3.1. |
2563 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการจราจร (ม.2.3.2.2.4)
|
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการบริหารจัดการจราจรบริเวณจุดทางแยกสำคัญๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 238 กล้อง และจอแสดงผล จำนวน 50 จอ เพื่อใช้ในการตรวจสอบสภาพจราจร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะทำการส่งข้อมูลภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบการเชื่อมโยงสัญญาณข้อมูล และระบบเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มายังศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล
|
ตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยงข้องของงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาลสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาโดยช่างผู้ชำนาญการ
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน |
22,400,000.00 |
0.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
20 |
2.0.1. |
3.1. |
2563 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร (ม.2.3.2.2.3) |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
2. เพื่อให้มีการแสดงภาพการจราจรที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) บริเวณทางแยกต่างๆ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลการจราจรเพื่อประกอบการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการจราจร
|
1. ปรับปรุง บำรุงรักษา ตรวจสอบและแก้ไขระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร จำนวน 498 กล้อง และอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง ให้สามารถใช้งานได้ดีและมีประสิทธิภาพ
2. เชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งแสดงเส้นสีที่แจ้งถึงระดับการติดขัด
|
29,600,000.00 |
0.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
21 |
2.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมรวบรวมฐานข้อมูลต้นไม้ |
กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต |
กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต |
กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต |
0.00 |
0.00 |
สํานักสิ่งแวดล้อม |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
22 |
2.0.1. |
4.2. |
2563 |
โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร |
ด้วยกรุงเทพมหานครได้จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร โดยมีเป้าหมายให้แต่ละสำนักงานเขตนำพื้นที่สวนสาธารณะ สวนหย่อม สวนป่า สวนถนน และสวนบนอาคารสูง (Green Roof) ที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน มาลงในระบบฐานข้อมูลในเว็บไซด์ http://203.155.220.220/parks เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตราชเทวี จึงได้จัดทำ “โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2563” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจ รวบรวม ข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี มาลงในระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร และให้เป็นไปตามตัวชี้วัดเจรจาตกลงเพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของกรุงเทพมหานคร
|
1. เพื่อสำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ที่สำนักงานเขตราชเทวีดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน
2. เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
|
1. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามศักยภาพของเขต
2. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) 12 แห่ง ต่อปี
3. นำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราชเทวี |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
23 |
2.0.1. |
4.2. |
2563 |
โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร |
เนื่องจากในปัจจุบัน กรุงเทพมหานครประสบปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อมทางอากาศ ทางน้ำ เสียง ผุ่นละออง สารพิษต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต้องมีพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพิ้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางพลัดจีงได้จัดทำโครงการเพื่อหาพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นพื้นที่ดูดซับฝุ่นละออง ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าชคาร์บอนมอนอกไซด์จากท่อไอเสียรถยนต์ และลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
|
2.1เพื่อดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่ 3 ในการพัฒนากรุงเทพมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม
2.2 เพื่อลดปริมาณฝุ่นละออง ลดภาวะโลกร้อน
2.3 เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนส่งผลให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ
2.4 เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน
|
เป้าหมาย
3.1 พื้นที่รกร้าง ที่โล่งในศาสนสถานที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1 ไร่ ขึ้นไป
3.2 พื้นที่ทำการเกษตรเดิม
3.3 พื้นที่ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น
3.4 แหล่งน้ำ สระน้ำ หนองน้ำ บึง ซึ่งมีน้ำท่วมขัง ที่ลุ่ม คลอง
3.5 สนามกอล์ฟ
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางพลัด |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-10-01 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
24 |
2.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมนำเข้าข้อมูลพื้นที่สีเขียวโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร |
เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครให้เป็นปัจจุบัน
|
-เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน
|
-สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม
จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองสามวา |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
25 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว |
กรุงเทพมหานครมีพื้นที่สีเขียวและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เฉลี่ยในปี 2561 จำนวน 6.58 ตร.ม. ต่อประชากร 1 คน ซึ่งเมื่อเทียบกับเป้าหมายตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานคร ตั้งเป้าหมายไว้ในปี 2575 ที่จำนวน 9 ตร.ม. ต่อประชากร 1 คน ซึ่งจำเป็นต้องหาเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น โดยกำหนดเป็นยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินการ
สำนักงานเขตตลิ่งชัน เป็นพื้นที่รอบนอกของกรุงเทพมหานคร เดิมพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ต่อมาเมื่อมีการขยายตัวของเมือง มีถนนสายหลักเกิดใหม่ ตัดผ่านพื้นที่เขตหลายสาย และมีการปรับปรุงก่อสร้างพร้อมขยายขนาดของถนนสายรองอีก ทำให้พื้นที่สีเขียวเดิมลดลง พื้นที่เกษตรกรรมเดิมแปรสภาพเป็นที่อยู่อาศัย สถานประกอบการประเภทร้านค้า ร้านอาหาร ฯลฯ ตามการขยายตัวของเมือง และอัตราเพิ่มขึ้นของประชากรที่เข้ามาอาศัยในพื้นที่เขตตลิ่งชันที่สูงขึ้น ซึ่งในอนาคตจะทำให้มีพื้นที่สีเขียวลดน้อยลง พื้นที่เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจสำหรับให้ประชาชนลดน้อยลง และไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ สำนักงานเขตตลิ่งชันได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการจัดหาพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันจำเป็นต้องรักษาสภาพสวนสาธารณะ สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวตามสภาพที่ต่างที่มีอยู่เดิม ให้คงสภาพที่สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย และเพียงพอต่อความต้องการใช้ประโยชน์ของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว อย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อมุ่งหวังให้เขตตลิ่งชันเป็นเมืองสีเขียวของกรุงเทพมหานคร สนองตอบการเป็นมหานครสีเขียว ตามยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้อย่างยั่งยืนต่อไป |
1. พื้นที่เขตตลิ่งชันมีทัศนียภาพสวยงาม ร่มรื่น มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้เขตตลิ่งชันและกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามเป้าหมายตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
3. ประชาชนมีพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและออกกำลังกาย |
เป้าหมาย :
1.ปรับปรุงพื้นที่ใต้สะพานข้ามคลองบางขุนศรี ขนาดพื้นที่ 4,480 ตารางเมตร
2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนพุทธมณฑลสาย 1 ช่วงข้ามถนนบรมราชชนนีทั้งสองด้าน (4 แปลง) และ ปรับปรุงภูมิทัศน์เกาะกลางจากถนนเลียบทางรถไฟ-แยกไฟแดง
สวนผัก พื้นที่ 4,806 ตารางเมตร |
1,166,000.00 |
663,263.00 |
สำนักงานเขตตลิ่งชัน |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
26 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง |
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติที่นำผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัดทำระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชให้แพร่หลาย ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยที่ทรงเริ่มงานพัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา โดยมีพระราชดำริให้ดำเนินการรวบรวมรักษาพันธุ์พืชต่างๆ ที่หายากและกำลังจะหมดไป ต่อมาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสานพระราชปณิธาน โดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่ผ่านมาถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่างๆ ร่วมสนองพระราชดำริเป็นจำนวนมาก มีการขยายพื้นที่และกิจกรรมของโครงการไปสู่ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งมีแนวทางการดำเนินงานที่หลากหลายมากขึ้น บรรลุผลและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ
สำนักงานเขตจอมทองได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 โดยได้จัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืชและใช้ประโยชน์ทางการศึกษาพันธุกรรม ให้แก่ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ รวมทั้งดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น และได้จัดทำโครงการศูนย์อนุรักษ์พันธูกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง และสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ให้คงอยู่สืบไป |
9.1 มีพันธุ์พืชหายากควรค่าแก่การอนุรักษ์ จัดเก็บ จัดแสดง ขยายพันธุ์ในรูปแบบต่างๆ
9.2 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืช และทรัพยากรท้องถิ่นให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
9.3 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองมีข้อมูลและฐานข้อมูลพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชกรุงเทพมหานคร ฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดแสดงในรูปแบบต่างๆ และสามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ได้อย่างกว้างขวาง |
1. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ.เขตจอมทอง และคณะอนุกรรมการศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นเขตจอมทอง
2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง |
40,000.00 |
40,000.00 |
สำนักงานเขตจอมทอง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
27 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม ตามแผนที่กำหนด |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
95.00 |
28 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
สำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารบ้านเรือนและสถานประกอบการ |
แนวทางลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด
น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ
|
9.1 สำนักงานเขตมีข้อมูลสำหรับใช้ในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียในพื้นที่ และประสานความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียอย่างใกล้ชิด
9.2 ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด และรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้ำ
9.3 กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการที่ถูกต้องและครบถ้วน สำหรับใช้ในการวางแผนจัดการคุณภาพน้ำและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
|
1 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูล
2 ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและ
การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
29 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
เนื่องจากคลองเปรมประชากรอยู่ในพื้นที่เขตหลักสี่ จึงต้องมีการบริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ซ่อมแซมสะพานข้ามคลองให้พร้อมใช้งาน พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่
|
คลองในพื้นที่เขตหลักสี่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของเขต
|
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตหลักสี่ |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
30 |
2.0.1. |
.. |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว |
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศ และเป็นศูนย์กลางในการปกครอง จึงเป็นแหล่งที่ประชาชนจากทั่วทุกภาคส่วนของประเทศต่างเข้ามาประกอบอาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร ทำให้ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสังคม ด้านคุณภาพชีวิต และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งในปัจจุบันเต็มไปด้วยมลภาวะต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมลพิษทางอากาศ ซึ่งต้นเหตุของปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมนั้น จะทวีความรุนแรงมากขึ้นจะส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยรวม เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ เพิ่มพื้นที่สีเขียวและร่วมแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตหลักสี่ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงกำหนดดำเนินการโครงการค่าใช้จา่ยในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ด้วยการปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองให้ดีขึ้นด้วยการปรับปรุงสวนหย่อม ให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มประโยชน์การใช้สอยของพื้นที่ให้เกิดความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ตอบสนองนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครในการที่จะพัฒนาสภาวะแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมในเขตกรุงเทพมหานคร |
1. เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว
2. เพื่อลดปัญหาโลกร้อน
3. เพื่อเพิ่มสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ให้ความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียง
4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐกับประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
5. เพื่อเป็นการเสริมสร้างทัศนียภาพในอาคารบ้านเรือนและกรุงเทพมกานคร
6. เพื่อช่วยลดปัญหาและพัฒนาสภาวะแวดล้อมให้อยู่สภาพที่ดีตลอดไป |
เพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ ปลูกต้นไม้เพิ่มบริเวณที่ถนนกำแพงเพชร 6 ตั้งแต่ปากซอยวิภาวดีรังสิต 27 ถึงหน้าสถานีตำรวจทุ่งสองห้องและปลูกต้นไม้เพิ่มบริเวณสวนสาธารณะการเคหะท่าทราย |
1,166,000.00 |
1,130,600.00 |
สำนักงานเขตหลักสี่ |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
31 |
2.1.1. |
.. |
2565 |
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 4 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด ให้มีสภาพที่สวยงาม |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้มีสภาพที่สวยงาม |
เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้มีสภาพที่สวยงาม ตามแผนที่กำหนด |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2021-10-01 00:00:00 |
2022-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
32 |
0.0.0. |
.. |
2566 |
พัฒนาทรัพยากรพื้นฐานดิจิทัลสำหรับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร |
ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้ถูกพัฒนาและให้บริการแก่หน่วยงานกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี ๒๕๖๓ ซึ่งดำเนินการตามแผนการพัฒนากรุงเทพมหานครระยะที่ ๒ (๒๕๖๑-๒๕๖๕) โดยนำเทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาดว์มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สำหรับใช้ในการบริหารจัดการ การปฏิบัติราชการ และการให้บริการประชาชน รองรับการเป็นบริหารจัดการมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครถูกออกแบบและพัฒนาตามผลการศึกษาออกแบบ ซึ่งสามารถรองรับระบบสารสนเทศได้ประมาณ ๔๐ ระบบ แต่ด้วยสถานการณ์ความต้องการใช้งานระบบสารสนเทศประสิทธิภาพสูงเพื่อตอบสนองการให้บริการประชาชนอย่างรวดเร็ว ทำให้ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ศูนย์ข้อมูลมีระบบสารสนเทศใหม่เข้าติดตั้งภายในศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครมากกว่า ๗๕ ระบบงาน นับว่าเป็นอัตราการเติบโตของปริมาณข้อมูลอย่างก้าวกระโดด
จากปัจจัยการขยายตัวของระบบสารสนเทศอย่างรวดเร็วของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร จะทำให้ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร จะประสบปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้บริการภายในปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ ดังนั้นเพื่อให้การบริหารราชการและการบริการประชาชนเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องขยายปริมาณทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร ให้เพียงพอกับความต้องการใช้งานของหน่วยงาน รองรับการเทคนิคการพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน คุ้มค่าการใช้จ่ายงบประมาณ
|
1.เพื่อจัดหาเครื่องแม่ข่ายประสิทธิภาพสูงเพิ่มทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานแก่ศูนย์ข้อมูล พร้อมระบบบริหารจัดการคลาวด์ครอบคลุมทรัพยากรที่เพิ่มขึ้น
2.เพื่อจัดหาสิทธิ์การใช้งานซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการให้เพียงพอกับเครื่องแม่ข่ายประสิทธิภาพสูง
3.เพื่อจัดหาอุปกรณ์เครือข่ายรองรับเครื่องแม่ข่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ
4.เพื่อจัดหาซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการคลาวด์
|
1.สามารถให้บริการทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลได้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในระยะเวลา ๒ ปี
2.มีระบบโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ ที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีการพัฒนาระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
|
47,678,000.00 |
0.00 |
สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
2023-10-01 00:00:00 |
2024-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
40.00 |
รวม ->32 โครงการ |
0 |
0.00 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0 |
0 |
0 |