ลำดับ |
ยุทธศาสตร์ 20 ปี |
แผนแม่บทไอที |
ปีงบประมาณ |
ชื่อโครงการ |
หลักการและเหตุผล |
วัตถุประสงค์โครงการ |
เป้าหมายโครงการ |
งบประมาณที่ได้รับ |
งบประมาณที่ใช้ไป |
หน่วยงานที่รับผิดชอบ |
เริ่มโครงการ |
สิ้นสุดโครงการ |
สถานะโครงการ |
คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 |
4.0.1. |
4.2. |
2560 |
ปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จำนวน 50 เขต |
เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศที่มีประชากรอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่นในบางบริเวณ ทำให้สภาพพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่แทบจะตลอดเวลา สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำฐานข้อมูลทางด้านกายภาพต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ประชาชนและหน่วยงานราชการต่างๆ จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงแผนที่เชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยดำเนินการครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต
|
เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้มีความถูกต้องทันสมัยและเป็นปัจจุบัน ให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า 175 ระวาง
|
ปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลข (ข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย) ให้มีความถูกต้องและทันสมัยเป็นปัจจุบัน แล้วเสร็จร้อยละ 80 |
0.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
2 |
4.0.1. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) |
ตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบการเดินทางสะดวก มิติที่ 4.1 การขยายตัวตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.4 ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม |
ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม |
ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตปทุมวัน |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
3 |
4.0.1. |
4.2. |
2560 |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการ
สร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้กำหนดให้มีการส่งเสริม
และสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการ
ปลูกสร้างอาคารบ้านเรือนเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้น เพื่อให้การตรวจสอบเพื่อค้นหาตำแหน่งที่ตั้งอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมาย
ประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของ
สำนักงานเขตตลิ่งชันประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จึงด้านจัดทำโครงการ “การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออก
เลขรหัสประจำบ้านขึ้น” ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ในที่ดินและ
อาคารตามข้อกำหนดผังเมืองของกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป
|
1.เพื่อสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน ให้เป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
2.เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคารและเลขหมายประจำบ้าน ในพื้นที่เขตตลิ่งชัน สำหรับการให้บริการประชาชน
หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเขต
3.เพื่อเป็นฐานข้อมูล ตรวจสอบเปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสาตร์และสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
4.เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ
5.เพือนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่
|
1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ซึ่งปลูกสร้างพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งองอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน
2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหาและจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตตลิ่งชัน |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
4 |
4.0.1. |
4.2. |
2560 |
การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)
|
1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน
4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน
|
1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร
2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตลาดพร้าว |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
5 |
4.0.1. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
|
- พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้
|
- ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองเตย |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
6 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง |
สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร
|
กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง
๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร
๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest)
|
3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย
3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง
3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
|
70,000,000.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
7 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง |
สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ
การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก
ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน
จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี
เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต
|
1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย
3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ
4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ
|
1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์
3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี)
4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ |
10,000,000.00 |
1,497,786.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
75.00 |
8 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย
เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ
กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย
2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล
ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ
ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดุสิต |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
9 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมการนำข้อมูลในระบบสารสนเทศ (GIS) ของสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ของสำนักงานเขต
|
สำนักงานเขตบางเขน ได้กำหนดตัวชี้วัด “ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน” ค่าเป้าหมายร้อยละ 100 และมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน 1 ระบบ ได้แก่ การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ของสำนักงานเขต (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน)
|
-เพื่อให้มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ
|
-มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ 1 ระบบ (การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน)
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางเขน |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
10 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม
|
1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ
2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง
|
การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
11 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ |
เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข
บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน
ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้
การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์
ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม
ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย
|
1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม
2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว
6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น
|
1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น
5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน
6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกน้อย |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
12 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
77.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมายประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน
|
2.1 เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว
2.2 เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำรหับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต
2.3 เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
2.4 เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ
2.5 เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่
|
3.1 ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน
3.2 ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตตลิ่งชัน |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
13 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต
สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม
อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application)
ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน
การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน
ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ
ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น
การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร
|
ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
14 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ
โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง
|
-เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง
-เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดอนเมือง |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
15 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)
|
1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน
4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน
|
1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร
2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตลาดพร้าว |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
16 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง
|
ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม
|
รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราชเทวี |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
17 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
|
- พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้
|
- ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคลองเตย |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
18 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาต
ก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และ
การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล ระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
|
เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องตาม
ระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
|
มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
19 |
4.0.1. |
4.2. |
2561 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) |
ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคันนายาว |
2017-10-01 00:00:00 |
2018-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
20 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง |
สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร
|
กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง
๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร
๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest)
|
3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย
3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง
3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
|
70,000,000.00 |
13,939,960.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
56.00 |
21 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง |
สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ
การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก
ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน
จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี
เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต
|
1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย
3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ
4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ
|
1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์
3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี)
4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ |
8,487,454.00 |
7,789,047.12 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
22 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมือง
|
- เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง
- เพือส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน
|
- ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง
- ส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตพระนคร |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
23 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ จัดอยู่ในกลุ่มกรุงเทพกลาง มีสภาพพื้นที่ประกอบด้วยสถานที่และโบราณที่สำคัญ แหล่งการค้า แหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานราชการ และรวมถึงที่อยู่อาศัยที่มีจำนวนหนาแน่น เมื่อเทียบกับพื้นที่ที่มีจำกัด อาคารบ้านเรือนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะไม่เป็นระบบระเบียบ การตรวจสอบค้นหาที่ตั้งของอาคารบ้านเรือนในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์กระทำได้ยากพอสมควร เหตุนี้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่ายเพื่อการปรับปรุงแผนที่ ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับหน่วยงานต่าง ๆรวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปในการตรวจสอบค้นหาที่ตั้งและรายละเอียดของอาคารได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว
|
1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว
2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูลของบ้าน ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์สามารถจัดเก็บ จัดทำระบบฐานขัอมูลได้ครบถ้วน คิดเป็นร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
24 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ |
ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม
|
1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง
2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน
3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน
4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
|
1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน
2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว
ตัวชี้วัด
-ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
ค่าเป้าหมาย
-ร้อยละ 100
วิธีการคำนวณ
- จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตปทุมวัน |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-10-01 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
25 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย
เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ
กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย
2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล
ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ
ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดุสิต |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
26 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
24.(เจรจา)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายโยธา) |
เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
เพื่อพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
|
การลงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารที่ระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารตามคำร้องของประชาชนที่ขอให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกะปิ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
27 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
08.(เจรจา) กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายทะเบียน) |
เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกะปิ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
28 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน
|
สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน
|
ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตหนองจอก |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
29 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ |
เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข
บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน
ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้
การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์
ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม
ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย
|
1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม
2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว
6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น
|
1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น
5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน
6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกน้อย |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
30 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาต ก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง |
สำรวจ จัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง |
ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกน้อย |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
31 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
74. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานครได้ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้กำหนดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมือง รวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการปลูกสร้างอาคารบ้านเรือน เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดรหัสเลขประจำบ้าน พร้อมเลขหมายประจำบ้าน เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชีวัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จึงได้จัดทำโครงการ "การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน" ขึ้น ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบ การใช้ประโยชน์ในที่ดินและอาคารตามข้อกำหนดผังเมืองกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป
|
1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว
2. เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต
3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ
5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่
|
1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน
2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตตลิ่งชัน |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
32 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
การวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมือง ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต
|
1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเป็นการบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการออกเลขหมายประจำบ้าน
ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
3. เพื่อสามารถค้นหาตำแหน่งการลงจุดการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างรวดเร็ว
4. เพื่อให้ข้อมูลการออกเลขหมายประจำบ้านของสำนักงานเขตภาษีเจริญ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับผังเมืองรวม
กรุงเทพมหานคร
|
ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตภาษีเจริญ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
33 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวณพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา |
ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย |
ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางขุนเทียน |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
34 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต
สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม
อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application)
ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน
การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน
ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ
ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น
การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร
|
ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
35 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ
โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง
|
-เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง
-เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดอนเมือง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
36 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)
|
1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน
4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน
|
1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร
2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2562 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตลาดพร้าว |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
37 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร
หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ
2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง
4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
5. ระบบการรายงานผล
หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
|
เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางซื่อ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
38 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง
|
ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม
|
รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราชเทวี |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
39 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร.900 |
การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.900 ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
40 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) |
เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน |
1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ
2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน |
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
41 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม |
เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม |
พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตวัฒนา |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
42 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ส่งเสริมการขยา่ยตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง
|
1. เพื่อทราบถึงการใช้ประโยชน์ของที่ดินอย่างถูกต้องและถูกกฏหมาย
2. เพื่อทราบความหนาแน่นของประชากรในแต่ละพื้นที่
3. เพื่อทราบจุดที่แสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ชัดเจนและถูกต้อง
|
เพื่อทราบการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางแค |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
43 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) |
เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา
|
เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900)
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคันนายาว |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
44 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้งานระบบในการนำเครื่องมือสารสนเทศดังกล่าวไปใช้ในการวางแผน การปรับปรุง หรือแม้แต่การพัฒนาผังเมือง และการใช้ประโยชน์ในที่ดิน การตรวจสอบความหนาแน่นของจำนวนประชากรในพื้นที่ ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาหน่วยงานได้เป็นอย่างดี แต่ถ้าระบบภูมิสารสนเทศดังกล่าว แสดงผลข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากระบบดังกล่าวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้ อาจทำให้การวางแผน การปรับปรุง การพัฒนา ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างตรงเป้าหมาย หรือแม้แต่การปฏิบัติงาน หรือการให้บริการที่ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลดีได้
ผู้บริหารกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำคัญ/จำเป็นของการปรับปรุงข้อมูลของตำแหน่งที่ตั้งของอาคารในระบบภูมิสารสนเทศ จึงกำหนดให้มีกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.1 ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง โดยกำหนดให้กิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านดังกล่าวเป็นตัวชี้วัดงานเชิงยุทธศาสตร์ของสำนักผังเมืองซึ่งเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดบูรณาการร่วมกับสำนักการโยธา และสำนักงานเขต
เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ สำนักงานเขตทุ่งครุ จึงจัดทำโครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านขึ้น
|
2.1 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างเป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง
2.2 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง
|
ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบถ้วนคิดเป็นร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตทุ่งครุ |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
45 |
4.0.1. |
4.2. |
2562 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวนพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา
|
ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย
|
ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางบอน |
2018-10-01 00:00:00 |
2019-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
46 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
การพัฒนาฐานข้อมูล |
-
|
มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1
|
มีการนำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองครบทุกรายการ |
0.00 |
0.00 |
สํานักการคลัง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
47 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง |
สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร
|
กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้
๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง
๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร
๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest)
|
3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย
3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง
3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
|
0.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
61.00 |
48 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
ข้อมูลที่ดินของรัฐ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ดินที่เป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินแผ่นดินธรรมดา หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ซึ่งรัฐยึดถือครอบครองไว้เป็นประโยชน์แห่งรัฐ เฉพาะประเภท ที่ราชพัสดุ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมธนารักษ์ และประเภท ที่ดินที่ได้รับ นสล. (หนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง) ซึ่งเป็นหนังสือแสดงสิทธิในการขอใช้ประโยชน์หรือร่วมกันใช้ที่ดินในเขตที่ราชพัสดุ หรือเขตสาธารณประโยชน์ที่ออกโดยกรมที่ดิน โดยเป็นเอกสารสิทธิแสดงแนวเขตที่ดินของรัฐ ซึ่งอาจจะออกเป็นแปลงใหญ่รวมกันและระบุชื่อหน่วยงานที่ใช้ประโยชน์ไว้ได้ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมที่ดิน เฉพาะที่มีการเปลี่ยนแปลง และอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้นำส่งให้สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลักษณะขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ประกอบข้อมูลคำอธิบาย ได้แก่ เลขที่เอกสารสิทธิ ขนาดพื้นที่ และสภาพการใช้พื้นที่
|
เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์
|
กรุงเทพมหานครได้มีฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ |
0.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
49 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองตามผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแผนที่เขตพระนครถูกต้องเป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ท้้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก
|
- เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
- เพื่อส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านส่งสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน
|
- ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองครบถ้วนตามที่ได้รับอนุญาต |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตพระนคร |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
50 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
ตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่ กท 0502/1778 ลว.3ก.ย.2556 กำหนดให้มีการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2557 ของหน่วยงานให้เหมาะสมกับงบประมาณรายจ่ายของโครงการที่ได้รับจัดสรร และนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต ประจำปีงบประมาณ 2557 บรรจุในแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งสำนักผังเมืองและสำนักงานเขต 50 เขต ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
|
สำรวจ จัดเก็บ รวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง
|
ฝ่ายทะเบียนลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
ฝ่ายโยธาลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
51 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ |
ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม
|
1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง
2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน
3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน
4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
|
1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน
2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว
ตัวชี้วัด
-ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
ค่าเป้าหมาย
-ร้อยละ 100
วิธีการคำนวณ
- จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตปทุมวัน |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-10-01 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
52 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาตาร |
เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
ดำเนินการลงจุดตามคำขอเลขหมายประจำบ้าน ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกะปิ |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
53 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย |
กรุงเทพมหานคร มีระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ โดยสำนักผังเมืองเป็นผู้ออกแบบ สำนักงานเขตบางเขนได้นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย
|
เพื่อนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการค่าธรรมเนียมขยะ
|
นำระบบสารสนเทศจากสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการ 1 ฝ่าย (1 ระบบ) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางเขน |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
54 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน
|
สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน
|
ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตหนองจอก |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
55 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 ทำขึ้นเพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีกรอบและทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2563 ที่ชัดเจน ในส่วนของฝ่ายทะเบียน มีลักษณะงานประจำ สอดคล้องกับสถานการณ์และทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม กำหนดโครงการสำคัญในแผน กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแห่งพื้นที่ ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร
|
1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมุลทางภูิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบ
ค้นหาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
2. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชัน
สำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต
3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามรถกระทำได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ
5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใชในการวางแผนบริหารพื้นที่
|
1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ซึ่งปลุสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผที่สารสนเทศภุมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน
2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตตลิ่งชัน |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
56 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต
สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม
อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application)
ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน
การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน
ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ
ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น
การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร
|
ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
57 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ
โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง
|
-เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง
-เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดอนเมือง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
58 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง (ตามแบบ ทร.900)
|
1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน
4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน
|
1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร
2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2563 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตลาดพร้าว |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
59 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการ |
การพิจารณาอนุญาตสถานประกอบกิจการให้ประกอบกิจการได้ต้องอาศัยกระบวนการตรวจสอบสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ และต้องนำเอกสารหลักฐานมายื่นขอประกอบด้วย 1. สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ของเจ้าของกิจการ 2. สำเนาบัตรทะเบียนบ้านสถานประกอบกิจการ 3. หรังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 4. หลักฐานการขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร 5. หลักฐานแสดงกรรมสิทธิหรือสิทธิ์ในการใช้อาคารที่เป็นสถานประกอบการ 6. ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการจากส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. แผนที่แสดงที่ตั้งสถานประกอบกิจการ
|
1.เพื่อนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน
2. เพื่อนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่
|
-นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน
และนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่ |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตลาดพร้าว |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
60 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร
หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ
2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง
4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
5. ระบบการรายงานผล
หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
|
เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางซื่อ |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
61 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อนสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และการลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผลระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง |
มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
62 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดที่แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
การพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร โดยส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9)
|
1. เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อใหัผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน
3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน
4. เพื่อสะดวกและง่ายต่อการตรวจสอบ กำหนดจุดตำแหน่งบ้านได้ถูกต้องแม่นยำ
|
1. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานลงจุดสามารถกำหนดตำแหน่งการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขรหัสประจำบ้านชัดเจนและเป็นไปตามมาตรฐานสากลครบทุกหลังคาเรือน ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
2. สามารถกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่ง
ในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9) ทุกหลังคาเรือนได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตดินแดง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
63 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) |
เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
|
1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ
2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
64 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม
|
เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม
|
พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตวัฒนา |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
65 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง |
- กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม
- กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพสอดคล้องกับระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
|
- ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวมและเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง
- สำรวจ จัดเก็บรวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง
|
- ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบทุกจุดในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย (GIS) ของสำนักผังเมือง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางแค |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
66 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน |
-ปัจจุบันในชีวิตประจำวันของเราได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากทำให้สะดวกรวดเร็วทั้งในการทำงาน การติดต่อสื่อสาร และทำให้มีการตัดสินใจได้อย่างแม่นยำขึ้น ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่มีบทบาทและมีความสำคัญมากในการนำไปประยุกต์ใช้งานในหลากหลายมิตินิยมใช้กันทั่วโลก ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS)คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้ฐานข้อมูลภูมิศาสตร์ (Geographic Database) สำนักงานเขตหลักสี่เล็งเห็นประโยชน์ จึงมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน
|
-สามารถนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน
|
-นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางานอย่างน้อย 1 งาน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตหลักสี่ |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
67 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และการนำระบบสารสนเทศ (GIS) ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี
|
ปัจจุบันมีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารใหม่จำนวนมาก ซึ่งเป็นฐาานข้อมูลสำคัญที่แสดงถึงการขยายตัวของเมือง ประกอบกับมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ
|
1.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดสร้างเพื่อปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลแผนที่ของตำแหน่งอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นตามข้อมูลแผนที่ที่สำนักงานผังเมืองได้จัดเตรียมไว้ทำให้สะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้สามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว รวดเร็วและมีความถูกต้อง
3.สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบความสอดคล้องการกำหนดพื้นที่ปลูกสร้างและการใช้ประโยชน์อาคารกับพระราชบัญญัติผังเมืองรวมและข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครที่บังคับใช้
4.การใช้ประโยชน์อาคารสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลที่มีอยู่ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่จัดอยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนได้รับรู้และนำไปเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจ หรือวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ต่อไปในอนาคตได้ด้วย
3. ฝ่ายรายได้สามารถนำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสายไหม |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
68 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) |
เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา
|
เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900)
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคันนายาว |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
69 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
(15.ทะเบียน)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
- ด้วยกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง ได้จัดทำโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตก่อสร้างอาคารและการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งสำนักงานเขตสะพานสูง ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้การดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต และสอดคล้องกับโครงการของสำนักผังเมือง จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งในการปรับปรุงแผนที่
|
- เพื่อแสดงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
- เพื่อเป็นการสอดคล้องกับโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันของกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง และเป็นการปฏิบัติงานต่อเนื่อง
- เพื่อเป็นการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศมาใช้ในการลงจุดแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้าน
- เพื่อเป็นการจัดทำข้อมูล สถิติ การออกเลขรหัสประจำบ้าน
|
- จัดทำรายงานสรุปผลส่งสำนักผังเมือง จำนวน 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสะพานสูง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
70 |
4.0.1. |
4.2. |
2563 |
โครงการการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
เขตวังทองหลางถือเป็นเขตชั้นในเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ซึ่งประกอบไปด้วย 9 เขตได้แก่ เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ เขตดุสิต เขตดินแดง เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตห้วยขวาง และเขตวังทองหลาง โดยสภาพทั่วไปของเขตวังทองหลางนั้น เป็นเขต ที่มีการผสมผสานระหว่างอุตสาหกรรม การพาณิชย์ ที่พักอาศัย และการคมนาคม ดังนั้น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตวังทองหลาง จึงมีความหลากหลาย ที่ผสมผสานกันทั้งวัฒนธรรม ศาสนา มีย่านเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นแหล่งรวมของร้านอาหารมากมาย ซึ่งถือว่าพื้นที่เขตวังทองหลางยังสามารถรองรับการขยายตัวของเมืองได้อีกพอสมควร
การใช้ประโยชน์จากที่ดินดังกล่าว ประกอบกับความเจริญของสังคมเมือง ซึ่งต้องเติบโตไปพร้อม ๆ กันนี้เอง ทำให้ในพื้นที่เขตวังทองหลาง ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ประโยชน์จากที่ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยให้มากที่สุด การปลูกสร้างบ้านเรือน ทั้งในรูปของหมู่บ้านต่าง ๆ อาคารพาณิชย์ อาคารอยู่อาศัย ทั้งอาคารชุด อพาร์ตเม้นท์ ก็เกิดขึ้นตามมา ดังนั้นวิธีการหนึ่งที่ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ เพื่อควบคุมและตรวจสอบจำนวนบ้านในพื้นที่เขตวังทองหลาง ที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการกำหนดเลขบ้าน พร้อมให้รหัสประจำบ้านทุกหลัง ที่ได้ทำการปลูกสร้างตามที่ได้ขออนุญาตปลูกสร้างอย่างถูกต้อง และได้รับความร่วมมือจากสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร จัดทำโปรแกรมการปฏิบัติงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถที่จะกำหนดจุดบ้านที่ได้มีการให้รหัสประจำบ้านเรียบร้อยแล้ว
|
1. เพื่อใช้ตรวจสอบจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขบ้านให้เรียบร้อยแล้ว หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างแล้วเสร็จ
2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่เขตวังทองหลางให้รองรับการเป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. เพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยด้านโครงสร้างพื้นฐานของเมือง
|
ร้อยละของจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ร้อยละ 100) |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตวังทองหลาง |
2019-10-01 00:00:00 |
2020-09-29 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
71 |
4.0.1. |
.. |
2564 |
กิจกรรมสำรวจและจัดทำแผนงาน/โครงการ เพื่อรองรับการพัฒนาย่านตลาดน้อย (เจรจาตกลง) |
การดำเนินการจัดทำแผนงาน โดยประกอบด้วยโครงการที่มุ่งพัฒนาย่านตลาดน้อย ตามผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ที่กำหนดพื้นที่นำร่องในย่านตลาดน้อยเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ และร่วมดำเนินการกับหลายหน่วยงาน |
พัฒนาฟื้นฟูโครงข่ายถนนทางเท้าในพื้นที่
- เชื่อมโยงการเดินทางภายในพื้นที่ การเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนหลักและรอง
- ให้โครงสร้างถนนและทางเท้ามีความร่มรื่นสวยงามจากพรรณไม้ในพื้นที่
- รองรับให้เกิดเส้นทางการเดินทางที่ลดการพึ่งพารถยนต์ในพื้นที่ เช่น ทางจักยาน การเดินเท้า เป็นต้น
|
1. สำรวจย่านตลาดน้อย ประกอบด้วย ถนน ทางเท้า สิ่งอำนวยความสะดวก และอื่น ๆ
2. ทำการวิเคราะห์/ประเมินสภาพถนน ทางเท้า หรือส่วนอื่น ๆ และกำหนดแผนงาน/โครงการตามกรอบผลการศึกษาของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
3. จัดทำแผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ
4. จัดทำรูปแบบ ประมาณราคา รายละเอียดโครงการของโครงการตามแผนที่กำหนด เพื่อขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565
5. ผลักดันโครงการที่ขอจัดสรรงบประมาณในปี พ.ศ.2565 ให้ได้รับงบประมาณ โดยการจัดลำดับความสำคัญโครงการในลำดับต้นๆ ฯลฯ
|
0.00 |
0.00 |
สํานักการโยธา |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
72 |
4.0.1. |
0.0.0 |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมโยงข้อมูลที่ดินระหว่างกรุงเทพมหานครกับกรมที่ดิน |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีหน้าที่หลักเกี่ยวกับการวางผังและพัฒนาเมือง ให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งสร้างโอกาสในการแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้าน และมีหน้าที่ในการสำรวจ จัดเก็บ และบูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศกลางของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่องานด้านการบริหารจัดการเมือง และให้บริการแก่ทุกหน่วยงาน ดังนั้น การจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในกรุงเทพมหานครดังกล่าว จำเป็นต้องเชื่อมโยงระบบเครือข่ายเพื่อใช้งานข้อมูลภูมิสารสนเทศและข้อมูลแปลงที่ดินจากกรมที่ดินในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล |
2.1 เพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลที่ดินระหว่างกรุงเทพมหานครกับกรมที่ดินผ่านระบบเครือข่าย
2.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างผ่านระบบเครือข่าย เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของทุกสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งนำไปใช้ในการเร่งรัด ติดตามการจัดเก็บภาษีให้ครบถ้วน ถูกต้อง
2.3 เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน แม่นยำ และมีประสิทธิภาพได้มาตรฐานสากล ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับใช้ในการบริหารจัดการเมือง และการให้บริการแก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร รวมถึงหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน |
พัฒนาระบบบริการข้อมูลที่ดิน พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลที่ดินของกรมที่ดินกับระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร จำนวนแปลงที่ดินประมาณ 2,100,000 แปลง และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้ สู่ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
4,500,000.00 |
3,129,000.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
85.00 |
73 |
4.0.1. |
0.0.0 |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการศึกษาและจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองกรุงเทพมหานคร |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานภูมิสารสนเทศจะต้องดำเนินการสำรวจ รังวัด จัดเก็บข้อมูลด้านกายภาพ ผลิตแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อจัดทำแผนที่มาตราส่วนต่าง ๆ โดยมีการวางระบบงานคอมพิวเตอร์เครือข่าย รวบรวมและจัดทำข้อมูลเมืองด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านกายภาพ และด้านสิ่งแวดล้อม ให้อยู่ในระบบภูมิสารสนเทศ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเมือง วางระบบงานสถิติ รวมทั้งออกแบบและพัฒนาระบบบริการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศ และเผยแพร่สารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล ได้แก่ ถนน อาคาร ชื่อ ข้อมูลภูมิประเทศ และระดับชั้นความสูง และคำอธิบาย ข้อมูลเมืองดังกล่าวถือเป็นข้อมูลที่สำคัญในการวางแผนการบริหารจัดการเมือง การวางผังเมืองรวมและผังพัฒนาพื้นที่ในระดับต่าง ๆ ให้มีความถูกต้อง มีความทันสมัย และมีความแม่นยำทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย เพื่อนำมาใช้เป็นกรอบการพัฒนาเมืองให้เป็นมหานครศูนย์กลางเศรษฐกิจและวิทยาการของอาเซียน
ทั้งนี้ ข้อมูลเมืองที่มีอยู่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่ ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลภูมิประเทศ เป็นข้อมูลที่มีความละเอียดสูง ปริมาณข้อมูลขนาดใหญ่ ยังไม่มีการออกแบบการจัดการทรัพยากรระบบสารสนเทศระดับสูง ประกอบกับหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานครมีการจัดทำข้อมูลตามภารกิจความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน ยังขาดการวางแผนการรวบรวมและปรับปรุงข้อมูลเมืองอื่น ๆ ให้ครอบคลุมความต้องการทุกภาคส่วน รวมทั้งยังขาดการบูรณาการ การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเมืองของทุกส่วนราชการกรุงเทพมหานคร สำหรับการจัดการกรุงเทพมหานครทุกมิติ และให้บริการแก่ทุกภาคส่วน และยังขาดการวางแผนการใช้ระบบสารสนเทศในการให้บริการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานอื่น เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเป้าหมายในการเป็นมหานคร Smart City ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0
จากภารกิจและสภาพปัญหาดังกล่าว เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแนวทางการพัฒนาสู่อนาคตในระยะยาวอย่างยั่งยืน รองรับการบริหารจัดการมหานครให้เป็น Smart City ที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงมาใช้เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการบริการประชาชนอย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีความละเอียดและความถูกต้องเชิงพื้นที่สูง อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง การบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร ในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (City Spatial Information) และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแนวทางการพัฒนาสู่อนาคตในระยะยาวอย่างยั่งยืน |
มีแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทภูมิสารสนเทศแห่งชาติ เพื่อใช้ประโยชน์จากข้อมูลเมืองในรูปแบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (City Spatial Information) ในการพัฒนาเมืองด้านต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สามารถให้บริการข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สำหรับการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็น Smart City ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 |
6,202,600.00 |
610,000.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
60.00 |
74 |
4.0.1. |
0.0.0 |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถาน การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อ และคำอธิบาย ประกอบกับจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แต่โครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการจัดหาและปรับปรุงข้อมูลเท่านั้น ประกอบกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่เป็นจำนวนมาก และหลายช่วงเวลา เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเมือง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบสารสนเทศที่รองรับการจัดการในรูปแบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันยังขาดทรัพยากรด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่รองรับการให้บริการผ่านระบบเครือข่ายที่จะเกิดขึ้น ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และบริการแก่หน่วยงานภายนอก
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร โดยจัดหาทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลแผนที่และภาพถ่ายความละเอียดสูงที่ได้จากโครงการที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองกำลังดำเนินการ สามารถให้บริการ การใช้และการวิเคราะห์ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก รวมทั้งผู้ขอรับบริการข้อมูลอย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งาน รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลเมืองจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อเป็นระบบข้อมูลกลางเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมืองการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
2.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารมหานคร การจัดทำและบริการข้อมูลเมือง สนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง และการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 เพื่อปรับปรุงทรัพยากรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้รองรับกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองดำเนินการอยู่ |
พัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการจัดการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพและสามารถขยายผลต่อไปในอนาคตได้ในระยะยาว (Longevity) |
26,712,700.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
44.00 |
75 |
4.0.1. |
.. |
2564 |
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง |
สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร
|
ความคุ้มค่าและประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครและประชาชน โดยการนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านการผังเมือง เช่น การวางและจัดทำผังเมือง
2. ด้านการคลัง เช่น การจัดเก็บภาษีและรายได้ของกรุงเทพมหานคร
3. ด้านการจราจรและขนส่ง เช่น การวิเคราะห์และวางแผนการจราจร
4. ด้านการโยธา เช่น การควบคุมอาคาร งานระบบสาธารณูปโภค แนวเขตที่ดินของรัฐ (One map)
5. ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น การวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
6. ด้านการระบายน้ำ เช่น การวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สามารถใช้ข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ร่วมกับข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขเทคนิค LIDAR
7. ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การวางแผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมต่างๆ
8. ด้านวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เช่น ข้อมูลด้านวัฒนธรรม กีฬา การท่องเที่ยว และห้องสมุดประชาชน
9. ด้านอนามัย เช่น การควบคุม ป้องกันและแก้ไขโรคระบาด พื้นที่ควบคุม เฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขการระบาดของโรค การวางแผนในการจัดตั้งและให้บริการของศูนย์สาธารณสุข
10. ด้านการแพทย์ เช่น ระบบบริการการแพทย์
11. ด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย เช่น การวิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดทำโครงการที่อยู่อาศัย
12. ด้านการปกครองและทะเบียน การค้นหาหรือกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร ตึกแถว บ้านเรือน สถานประกอบการ สถานที่สำคัญต่างๆ ฯลฯ ที่ก่อสร้างแล้ว หรือที่จะขออนุญาตปลูกสร้าง
13. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลแผนที่สืบค้นข้อมูลต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและข้อมูลมีคุณภาพ
14. กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่มีมาตรฐาน ถูกต้อง แม่นยำ และมีความทันสมัย เพื่อสนับสนุนภารกิจด้านการบริหารจัดการเมืองที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน และบริการประชาชน
15. กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา 17 ความว่า ผังเมือง ประกอบด้วย (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง
|
3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย
3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง
3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป |
0.00 |
0.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
76 |
4.0.1. |
0.0.0 |
2564 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองตามผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแผนที่เขตพระนครถูกต้องเป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ท้้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก
|
- เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
- เพื่อส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านส่งสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน
|
- ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองครบถ้วนตามที่ได้รับอนุญาต |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตพระนคร |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
77 |
4.0.1. |
0.0.0 |
2564 |
โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 |
การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และ เลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.9 ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
78 |
4.0.1. |
.. |
2564 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง |
1.เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน
2.เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านเป็นปัจจุบัน
|
มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน
|
มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
79 |
4.0.1. |
.. |
2564 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ
|
ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ |
ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2020-10-01 00:00:00 |
2021-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
80.00 |
80 |
4.0.1. |
.. |
2565 |
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นองค์กรหลักด้านการวางและจัดทำผังเมือง เพื่อชี้นำการบริหารและพัฒนาเมืองไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักในการวางและจัดทำผังเมืองรวม แผนผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะแห่ง อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถาน การบังคับใช้กฎหมายผังเมืองและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็นศูนย์เทคโนโลยีข้อมูลเมือง เพื่อการบริหารข้อมูลเมือง การให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานภูมิสารสนเทศได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อ และคำอธิบาย ประกอบกับจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 แต่โครงการดังกล่าวเป็นการดำเนินการจัดหาและปรับปรุงข้อมูลเท่านั้น ประกอบกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีอยู่เป็นจำนวนมาก และหลายช่วงเวลา เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเมือง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบสารสนเทศที่รองรับการจัดการในรูปแบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันยังขาดทรัพยากรด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่รองรับการให้บริการผ่านระบบเครือข่ายที่จะเกิดขึ้น ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพในการให้บริการแก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และบริการแก่หน่วยงานภายนอก
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร โดยจัดหาทรัพยากรในการรองรับการให้บริการข้อมูลแผนที่และภาพถ่ายความละเอียดสูงที่ได้จากโครงการที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองกำลังดำเนินการ สามารถให้บริการ การใช้และการวิเคราะห์ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก รวมทั้งผู้ขอรับบริการข้อมูลอย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งาน รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลเมืองจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อเป็นระบบข้อมูลกลางเพื่อการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร อันเป็นการสนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมืองการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) เพื่อการบริหารมหานคร การจัดทำและบริการข้อมูลเมือง สนับสนุนการดำเนินการวางและจัดทำผังเมือง และการบริหารจัดการมหานคร การบูรณาการ การให้บริการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อปรับปรุงทรัพยากรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ให้รองรับกับข้อมูลที่สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองดำเนินการอยู่ |
พัฒนาระบบบูรณาการภูมิสารสนเทศ (GI Platform) พร้อมจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการจัดการข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพและสามารถขยายผลต่อไปในอนาคตได้ในระยะยาว (Longevity) |
26,600,000.00 |
26,220,500.00 |
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง |
2021-10-01 00:00:00 |
2022-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
81 |
4.0.1. |
.. |
2565 |
โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่โดยรอบคลองผดุงกรุงเกษม |
คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองที่มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชน ล้อ ราง เรือ ได้แก่ รถโดยสารประจำทาง เช่น สาย 171 (ปอ.) สาย 49 สาย 505 (ปอ.) สาย 511 (ปอ.) และ 53 ซึ่งเชื่อมเส้นทางมายังริม 2 ฝั่งคลอง มีเส้นทางสัญจรทางน้ำด้วยเรือโดยสารไฟฟ้าตามแนวคลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งเป็นการสนับสนุนการเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือเทเวศร์ มายังสถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพง รวม 11 ท่าเรือ ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 4 เขตได้แก่ เขตพระนคร เขตดุสิต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตปทุมวัน โดยมีเรือด่วนเจ้าพระยาและเรือข้ามฟากบริเวณท่าเรือเทเวศร์ เรือโดยสารคลองแสนแสบซึ่งมาบรรจบกับเส้นทางเดินเรือคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณตลาดโบ๊เบ๊ และรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่สถานีรถไฟหัวลำโพง และความยาวของคลองยังต่อเนื่องไปถึงพื้นที่ย่านตลาดน้อย ออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือข้ามฟากสี่พระยา ในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก แต่ทั้งนี้ ถนนและทางเท้าบริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมบางช่วงมี สภาพชำรุดเสียหาย รวมทั้งมีการใช้พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมการค้าขายบนทางเท้า ทำให้ศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ลดลง จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมทั้ง 2 ฝั่ง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย สร้างทัศนียภาพสวยงาม ประชาชนสามารถเดินทางสัญจรได้อย่างสะดวก และปลอดภัย ตลอดแนวคลอง
ในปี 2552 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง (สำนักผังเมือง เดิม) ได้นำเสนอผลการศึกษาโครงการปรับปรุงฟื้นฟูย่านคลองผดุงกรุงเกษมทั้ง 2 ฝั่งคลอง ใน 5 บริเวณหลัก ได้แก่ ย่านตลาดเทวราชกุญชร ย่านวัดโสมนัสวรวิหารและย่านตลาดนางเลิ้ง ย่านตลาดสะพานขาวและบริเวณโรงหนังปารีส ย่านตลาดโบ๊เบ๊ และย่านหัวลำโพง เพื่อปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญในการส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนและชุมชน และในปี 2563 กรุงเทพมหานครได้แต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างทางจักรยานคลองผดุงกรุงเกษม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับการใช้งานสำหรับทุกคน (Universal Design) มีความสะดวก ปลอดภัย ในการเดินทาง พัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อน หย่อนใจการฟื้นฟู ส่งเสริม เอกลักษณ์ของแต่ละย่าน ที่มีความสำคัญ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ต่อการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รวมทั้ง การสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งของชุมชน ในการดูแลรักษาพื้นที่ นอกจากนี้ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ยังได้ดำเนินการศึกษาแผนการพัฒนาฟื้นฟูย่าน ตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นพื้นที่เชื่อมโยงกับแนวคลองผดุงเกรงเกษม
เพื่อต่อยอดการพัฒนาพื้นที่คลองผดุงกรุงเกษม กรุงเทพมหานครจึงดำเนินการผลักดันการพัฒนาพื้นที่ตลอด 2 ฝั่งคลองอย่างบูรณาการรอบด้าน โดยการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงการเดินทางสัญจร และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบคลองผดุงกรุงเกษมเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากศักยภาพเพื่อการสัญจรของพื้นที่ ในขณะเดียวกัน กรุงเทพมหานครต้องคำนึงถึงประชาชนริมคลอง โดยส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์และ เห็นความสำคัญของการพัฒนาพื้นที่ อันจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาพื้นที่อย่างยั่งยืน |
1) เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมต่อการเดินทางในพื้นที่ตลอดแนวคลองผดุงกรุงเกษม
2) เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่สาธารณะเพื่อให้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนริมคลองผดุงกรุงเกษม
3) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนริมคลองผดุงกรุงเกษม |
1. จำนวนผู้ใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
2. มูลค่าทางเศรษฐกิจของพื้นที่/ราคาประเมินที่ดินเพิ่มขึ้น 3. รายได้เฉลี่ยของประชาชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น |
0.00 |
0.00 |
สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
2021-10-01 00:00:00 |
2022-09-30 00:00:00 |
กำลังดำเนินการ |
40.00 |
82 |
4.0.1. |
.. |
2565 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร |
ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ |
ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ |
ลงจุดแสดงตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2021-10-01 00:00:00 |
2022-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
83 |
4.0.1. |
.. |
2565 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง |
1. เพื่อสะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน
2.เพื่อให่การออกเลขหมายประจำบ้านเป็นปัจจุบัน |
เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน และสะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน |
มีการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขหมายประจำบ้านที่เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการค้นหาในการให้บริการประชาชน |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตสวนหลวง |
2021-10-01 00:00:00 |
2022-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
รวม ->83 โครงการ |
0 |
0.00 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0 |
0 |
0 |