ลำดับ |
ยุทธศาสตร์ 20 ปี |
แผนแม่บทไอที |
ปีงบประมาณ |
ชื่อโครงการ |
หลักการและเหตุผล |
วัตถุประสงค์โครงการ |
เป้าหมายโครงการ |
งบประมาณที่ได้รับ |
งบประมาณที่ใช้ไป |
หน่วยงานที่รับผิดชอบ |
เริ่มโครงการ |
สิ้นสุดโครงการ |
สถานะโครงการ |
คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 |
4.0.3. |
3.1. |
2560 |
จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี
3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง
|
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา |
30,000,000.00 |
30,000,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
2 |
4.0.3. |
3.1. |
2560 |
บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา
3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร
|
เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา |
8,400,000.00 |
8,400,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
3 |
4.0.3. |
3.1. |
2560 |
บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
|
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร
ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 |
11,300,000.00 |
11,300,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
4 |
4.0.3. |
3.1. |
2560 |
โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร |
สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ
|
1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา
2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร
3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์
|
ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 |
8,900,000.00 |
8,900,000.00 |
สํานักการจราจรและขนส่ง |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
5 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
15. กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) |
เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด
|
ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกะปิ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
6 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม
|
1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ
2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง
|
การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
7 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ |
เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข
บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน
ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้
การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์
ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม
ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย
|
1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม
2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว
6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น
|
1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร
2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง
3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน
4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น
5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน
6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตบางกอกน้อย |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
8 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต
สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม
อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application)
ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน
การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน
ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ
ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น
การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร
|
ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
9 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ
การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)
ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
|
เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้ัองตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง
|
ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้องร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
10 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 |
การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
|
1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ
2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตประเวศ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
11 |
4.0.2. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) |
เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา
|
เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคาร รหัสประจำบ้าน ที่มีประชาชนมาขอรับบริการ
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 |
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตคันนายาว |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-09-30 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
12 |
4.0.4. |
4.2. |
2560 |
กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน |
|
การนำแผนฯไปสู่การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
|
การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
|
0.00 |
0.00 |
สำนักงานเขตทุ่งครุ |
2016-10-01 00:00:00 |
2017-10-01 00:00:00 |
แล้วเสร็จ |
100.00 |
รวม ->12 โครงการ |
0 |
0.00 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0.00 |
0 |
0 |
0 |
0 |