รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 32 โครงการ

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 9.0.1. 4.2.1 2560 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ การส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ หรือเริ่มที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยรับตรวจ จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 9.0.2. 4.2.1 2560 กิจกรรมการจัดเก็บรายงานผลการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในสามารถนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน การนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายในได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่นำเข้าเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ภายใน ๑๐ วันทำการ นับถัดจากวันที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครลงนาม 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
3 9.0.1. 3.1. 2560 การประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครผ่านโทรทัศน์วงจรปิด การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) 150 ครั้ง 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 9.0.7. 4.2. 2560 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ 11,219,000.00 3,850,000.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2018-01-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
5 9.0.4. 3.1.1 2560 โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลงนามสัญญาแล้วเสร็จ 5,000,000.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
6 9.0.2. 4.2.1 2560 โครงการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - สำนักการคลังพิจาณาแล้วเห็นควรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบเบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผล สามารถแก้ไขความล่าช้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสามารถรองรับปริมาณงานที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตเช่นเดียวกับ กรมบัญชีกลางที่ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้เบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการและลูกจ้างประจำ รวมถึงยังเป็น เครื่องมือให้ผู้บริหารารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ในการติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ และการบริหารจัดการ งบประมาณด้านบำเหน็จบำนาญ - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - เพื่อลดขั้นตอนและลดปริมาณเอกสารในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้มีระบบจัดเก็บฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ให้ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของงาน และบริหารงานได้อย่างประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสำรองข้อมูลให้สามารถปฏิบัติงานได้ หากเกิดสถานการณ์ไม่ปกติต่างๆ - เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในการจัดองค์กรในรูแบบ e-Office - กองบำเหน็จบำนาญมีระบบการปฏิบัติงานที่มี่ประสิทธิภาพ สามารถลดขั้นตอนและลดปริมาณ เอกสารของการปฏิบัติงาน - ข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานครที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการ สามารถได้รับบำเหน็จบำนาญ รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว - ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของ กองบำเหน็จบำนาญ เพื่อการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4,119,800.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 9.0.2. 4.2. 2560 สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้มีสิทธิใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครมีความพึงพอใจในคุณภาพ การบริหารจัดการด้วยระบบและรูปแบบที่ทันสมัย เป็นกลไกที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 9.0.3. 3.2.1 2560 โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 291,233,000.00 289,896,750.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
9 9.0.2. 4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงข้อมุูลเว็บไซต์ของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครประกอบด้วยปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 77 หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย - ปฏิทินกิจกรรม - ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร - ข่าวสาร - การให้บริการ - ติดต่อเรา ผลคะแนนการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด ค่าเป้าหมาย 80 คะแนน 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 9.0.4. 4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน หน่วยงานบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเพื่อตรวจสอบยอดคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี ร้อยละ 95 ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่สามารถบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 9.0.5. 4.2.1 2560 กิจกรรมการสนับสนุนข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี นำข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณ ปริมาณข้อมูลข่าวสารและความรู้ด้านงบประมาณจัดทำผ่านระบบสารสนเทศสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณเพิ่มขึ้นกว่าปีก่อนร้อยละ 5 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 9.0.4. 1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ได้เล็งเห็นความสำคัญในการที่จะพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรกรุงเทพมหานครด้านไอซีทีจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยประสานขอความร่วมมือจากศูนย์บริหารองค์การสากล (GEMC) มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) เพื่อจัดให้มี การฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการยกระดับ มาตรฐานวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร กทม. ให้มีความรู้ ความชำนาญและทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูงต่อไป 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับประเทศ 2 เพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านไอทีของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐาน 3 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเป็นเกณฑ์ประเมิน Competencies ของบุคลากรสายงานไอที จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างเข้มข้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีสมรรถนะ และองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพไอที โดยมีผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 90 คน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 7 คนต่อรุ่น ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 5 คนต่อรุ่น และ 2) วิทยากร จำนวน 2 คนต่อรุ่น 646,000.00 228,200.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 9.0.4. 1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี (COM – 03) คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๗ อนุมัติหลักการแผนและมาตรการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานขั้นต่ำ และกำหนดให้ข้าราชการที่จะเลื่อนจากระดับ ๕ เป็นระดับ ๖ ต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์ สามารถทำแผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ก.พ. ได้มีมติให้เพิ่มเติมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนระดับ ๖ ทุกสายงาน มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ซึ่งมีผลปฏิบัติมาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ถือปฏิบัติและดำเนินการฝึกอบรมข้าราชการตามมติดังกล่าวมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อนุกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้มีประกาศ ลงวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญของทุกหน่วยงานเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จึงเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายจากข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ๖ และ ระดับ ๖ ว – ๗ ว/วช. เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และเพื่อให้การปฏิบัติสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีและมติ ก.พ. ดังกล่าว เห็นควรกำหนดให้มีการจัดฝึกอบรมคอมพิวเตอร์แก่ข้าราชการตามมติคณะรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 ต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญให้มีความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานและวิธีการใช้งานในขั้นพื้นฐาน สามารถปฏิบัติงานด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการจัดการงานพิมพ์เอกสาร การจัดทำแผ่นตารางทำการ และการนำเสนอผลงาน ตลอดจนได้รับการฝึกอบรมตามมติคณะรัฐมนตรีและหลักเกณฑ์มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเพิ่มเติมตามที่ ก.พ. กำหนด ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ทุกสายงาน 243,500.00 179,569.25 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
14 9.0.4. 1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมระบบข้อมูลและข่ายงานระบบคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อปรับปรุงการบริหารงาน และการบริการประชาชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในส่วนของสำนักและสำนักงานเขต ได้ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศส่วนกลาง ตามโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ได้แก่ ระบบงานจัดซื้อ จัดจ้าง บัญชีทรัพย์สิน งบประมาณ รายได้ การเงิน บัญชี บุคลากร เรื่องราวร้องทุกข์ เงินเดือน บริหารคลังวัสดุกลาง บริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล ในปัจจุบันระบบ MIS ได้เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้การจัดระบบข้อมูลของหน่วยงาน นำไปสู่ การปฏิบัติงานที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ในระดับหนึ่ง และเพื่อให้การดำเนินงานตามโครงการฯ ดังกล่าวเกิดผลสำเร็จต่อเนื่อง สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ติดตามผลการใช้ระบบ และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายและการใช้โปรแกรมระบบงานที่เป็นอุปสรรคปัญหาต่อการปฏิบัติงาน ให้เกิด ผลสำเร็จยิ่งขึ้น โดยได้ดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณดำเนินการปรับปรุงระบบงานดังกล่าว เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ และกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนั้น จึงเห็นควรดำเนินการจัดให้มี การฝึกอบรมคอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมระบบงานที่ได้พัฒนาปรับปรุงแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครทั้งระดับสำนักและสำนักงานเขต สามารถใช้ระบบงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบต่อไป เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ระบบงาน MIS ที่เกี่ยวข้องและสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ – ชำนาญการ และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ประเภทผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา 135,800.00 119,020.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 9.0.4. 4.2. 2560 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปัจจุบันนี้ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2556-2560) ในประเด็น-ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) แต่เนื่องจากข้าราชการ ของกรุงเทพมหานครยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.1.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่าง ๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้งสามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.1.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรม แบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครขั้นสูง (Advanced GIS) เป็นการฝึกอบรมแบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 286,800.00 223,050.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-03 00:00:00 2017-02-15 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 9.0.4. 1.2.1 2560 โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร (CIO) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ในฐานะหน่วยงานหลักซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการผลักดันและติดตามผลการดำเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดจัดการสัมมนาเพื่อพัฒนาผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการนำเทคโนโลยี-สารสนเทศมาปรับใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและบูรณาการข้อมูลให้ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานครได้ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการเป็นผู้นำในการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เอื้ออำนวยต่อการบริหารและการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครและสามารถบรรลุเป้าหมายมุ่งสู่การเป็นมหานครอิเล็กทรอนิกส์ (Digital City) 1. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติในการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเข้มแข็ง 2. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต ตระหนักถึงความสำคัญของการนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มาปรับใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและบูรณาการข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อให้ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เอื้ออำนวยต่อการบริหารและการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานเพื่อปรับปรุงขับเคลื่อนและผลักดันการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 1. ดำเนินการจัดการสัมมนาและศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร (CIO) จำนวน 1 รุ่น ระยะเวลา 4 วัน 2. กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 คน ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักและสำนักงานเขต จำนวน 18 คน ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 1 คน ผู้อำนวยการกองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 4 คน 553,200.00 417,560.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
17 9.0.4. 1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซม และบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณค่าซ่อมแซมและลดปริมาณเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่ส่งซ่อม และลดกระบวนการปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ของเจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถบริการซ่อมได้สะดวกรวดเร็วขึ้น กองบริการระบบคอมพิวเตอร์ จึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเสียเวลาในการส่งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์มายังกองบริการระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ข้าราชการเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 200 คน ประกอบด้วย 3.1 เป้าหมายหลัก จำนวน 150 คน ดังนี้ (1) ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ระดับชำนาญการลงมา จำนวน 150 คน 3.2 ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน ดังนี้ (1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 4 คน) จำนวน 20 คน (2) วิทยากร (จำนวน 5 รุ่น รุ่นละ 6 คน) จำนวน 30 คน 253,000.00 144,974.55 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 9.0.2. 4.2.1 2560 กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์และพิจารณาความเป็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เรื่องที่ได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมที่เจ้าหน้าที่ดำเนินการวิเคราะห์แล้วเสร็จ และจัดทำรายงานเสนอเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการฯ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 9.0.2. 4.2.1 2560 กิจกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงาน/ส่วนราชการมีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข ผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาการใช้ระบบโประแกรมประยุกต์ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
20 9.0.2. 4.2.1 2560 โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะเป็นหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครพิจารณาเห็นว่า เพื่อให้การพัฒนาและการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเกิดความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นสามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานและใช้ในการบริหารจัดการและการบริการภายในของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการให้บริการแก่ประชาชนและสาธารณะจึงเห็นควรจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) เพื่อเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาและดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมุ่งให้การบริการของ กรุงเทพมหานครเป็นการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหานครอิเล็กทรอนิกส์ (e-BMA) ๑. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่ครอบคลุมภารกิจระดับสำนักได้อย่างเหมาะสม ๒. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางบูรณาการข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจของหน่วยงานให้สามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการที่ดีแก่ประชาชนได้ ๓. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางการบูรณาการงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเหมาะสม ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการบริการตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕) และนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ๔. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเกณฑ์การติดตามความก้าวหน้า การดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็นรูปธรรม กรุงเทพมหานครจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร 7,870,000.00 6,280,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 9.0.2. 4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน มีความรับผิดชอบในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกำหนดนโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การระบายน้ำ การผังเมือง การจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ และติดตามผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสำนักและสำนักงานเขต ซึ่งในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน มีชุดความรู้ที่ใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย การให้คำแนะนำปรึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐานจึงเห็นควรทำการศึกษาเพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะนำไปสู่การมีตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากลต่อไป 1. เพื่อรวบรวมชุดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเมืองด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดตัวชี้วัดระดับการพัฒนาของเมืองในด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ดำเนินการสำรวจและรวบรวมข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน และจัดทำรายงานข้อมูล จำนวน 1 เล่ม 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 9.0.4. 1.2. 2560 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการสร้างและออกแบบแผนผังความคิด (Mind Map) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของข้าราชการและหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ให้ก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพราะในการทำงานต่างๆ ในปัจจุบัน จำเป็นต้องมีการวางแผน กำหนดกลยุทธ์และขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์และความคิดเห็นในแง่มุมจากหลายๆ ฝ่ายมาประกอบกัน ขั้นตอนในการระดมสมองมักจะได้รับข้อมูลมาเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการนำมาร้อยเรียง ให้มีความสอดคล้องเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้เป็นแง่มุมต่างๆ สามารถแสดงให้เข้าใจในจุดสำคัญได้ชัดเจนไปในทิศทางที่ถูกต้อง การอบรมในหลักสูตรนี้จะเป็นการสร้างเครื่องมือที่สามารถสร้างแผนผังความคิดให้ออกมาในรูปแบบที่ดูง่ายและชัดเจน สื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลสามารถนำไปใช้ร่วมกับโปรแกรมสำนักงานอัตโนมัติได้อย่างง่ายดาย และยังนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานนำเสนอ (Presentation) ได้อีกด้วย 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญ ของการสร้างและออกแบบแผนผังความคิด 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้สามารถสร้างและออกแบบแผนผังความคิดด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปได้อย่างถูกต้อง โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 156 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 คน ได้แก่ ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ จำนวน 120 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 30 คน) 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 36 คน ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 24 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 6 คน) 2) วิทยากร จำนวน 12 คน (จำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 3 คน) 391,900.00 232,058.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 9.0.3. 3.1.1 2560 โครงการปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์คอมพิวเตอร์หลักสำหรับรองรับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ระบบงานสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้ต่อเนื่องตลอดเวลา โดยต้องมีระบบปรับอากาศที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่ส่งผลให้เกิดปัญหากับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงต้องมีระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าได้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของทุกอุปกรณ์ แต่ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของหน่วยงาน/ส่วนราชการต่างๆ นำมาติดตั้งเพิ่มขึ้นจำนวนมากตามการเพิ่มของระบบงานสารสนเทศและการขยายระบบเครือข่ายสื่อสาร ทำให้ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมาก และมีการปล่อยความร้อนเพิ่มขึ้นจำนวนมากเช่นกัน ศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 อุปกรณ์บางส่วนจึงมีอายุการใช้งานมาไม่น้อยกว่า 20 ปี มีสภาพเก่าประสิทธิภาพต่ำและมีขนาดไม่เหมาะสมตามการใช้งานจริงในปัจจุบัน มีการเกิดปัญหาชำรุดขัดข้องของระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าทำให้ระบบงานสารสนเทศและระบบเครือข่ายสื่อสารขัดข้องส่งผลกระทบต่อการให้บริการประชาชน นอกจากนั้นระบบป้องกันอัคคีภัยที่มีอยู่เดิมมีสภาพชำรุดไม่สามารถใช้งานได้ และไม่มีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำที่อาจทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรอันเป็นความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความเสียหายได้อย่างมาก มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ พร้อมมีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ การป้องกันอัคคีภัย และมีระบบเฝ้าดูที่สามารถแจ้งเตือนไปยังผู้ดูแลระบบได้โดยอัตโนมัติ เพื่อสามารถแก้ไขเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงทีและต้องปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้จ่ายกระแสไฟฟ้าได้สอดคล้องกับปริมาณการใช้งานและไม่เกิดการขัดข้องบ่อยครั้งอันจะเป็นการลดความเสี่ยงต่อการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของระบบเครือข่ายสื่อสารเกิดความชำรุดเสียหายจากปัญหาด้านกระแสไฟฟ้า ทำให้อุปกรณ์มีอายุการใช้งานนานส่งผลให้ระบบงานสารสนเทศต่างๆและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ 2.1 เพื่อปรับปรุงระบบปรับอากาศ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของศูนย์ข้อมูลในส่วนที่อาจก่อให้เกิดปัญหาหรือลดทอนประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ และติดตั้งระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ ระบบป้องกันอัคคีภัย ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ 2.2 เพื่อติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ 2.3 เพื่อปรับปรุงระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้า ปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานคร ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้าและติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ 10,000,000.00 10,000,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
24 9.0.4. 6.2. 2560 โครงการสัมมนาเชิงวิชาการนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถแก่ตัวข้าราชการและหน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้ก้าวหน้าและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การให้ความรู้ในเรื่องนวัตกรรม (Innovation) หมายถึงการนำสิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีความทันสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม การนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (Innovation) มาประยุกต์ใช้ในองค์กร ซึ่งก็คือการนำเอาสิ่งใหม่อาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำรวมทั้งสิ่งประดิษฐ์เข้ามาใช้ในองค์กร เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ระบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียนและช่วยประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย การใช้วีดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เป็นต้น การนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่มาใช้กับกรุงเทพมหานคร จะส่งผลให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีความสามารถทัดเทียมและแข่งขันกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครนำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มศักยภาพภายในการปฏิบัติงาน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 360 คน ดังนี้ 1)ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญทุกระดับ จำนวน 360 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 180 คน) 2. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน ดังนี้ 1)เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 30 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 15 คน) 2)วิทยากร จำนวน 10 คน (จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 5 คน) 362,000.00 278,193.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
25 9.0.2. 4.2.1 2560 กิจกรรมการให้บริการซ่อมแซมและบำรุงรักษาไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง เพื่อแก้ปัญหาข้อขัดข้องของระบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ใช้งานในลักษณะ Stand Alone ให้กับผู้บริหารและทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถแก้ไขและใช้งานได้ ร้อยละ 85 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
26 9.0.4. 4.2.1 2560 กิจกรรมจัดทำวารสารไมโครวิชั่น เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี จึงต้องมีการเผยแพร่ความรู้ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 ครั้ง/ปี 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 9.0.3. 3.1.1 2560 โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) กรุงเทพมหานครได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร โดยพัฒนาโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ประกอบด้วยระบบงาน 13 ระบบสามารถปฏิบัติงานได้ตามหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลถึงกันมีระบบฐานข้อมูลที่ใช้งานร่วมกัน โดยมีระบบคอมพิวเตอร์เครื่องแม่ข่ายและระบบฐานข้อมูลติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ชั้น 6 อาคาร 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 (ดินแดง) ปัจจุบันการสำรองข้อมูลจัดทำเป็น Tape Backup โดยเก็บไว้ที่กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ 1 ชุด ส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องแม่ข่าย (Server) ต่าง ๆ ไม่มีเครื่องสำรองซึ่งหากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ แผ่นดินไหว การชุมนุมทางการเมือง เป็นต้น จะทำให้ไม่สามารถให้บริการระบบงานดังกล่าวได้ ดังนั้น เพื่อให้การบริการประชาชนและการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ แม้จะเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องมีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) ๑.มีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)เพื่อให้ระบบสารสนเทศหลักของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ 1. ระบบรายได้ 2. ระบบการเงิน 3. ระบบบัญชี 4. ระบบงบประมาณ 5. ระบบจัดซื้อ 6. ระบบจัดจ้าง 7. ระบบบัญชีทรัพย์สิน 8. ระบบบุคลากร 9. ระบบงานเงินเดือน 10. ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ 11.ระบบงานบริหารคลังพัสดุกลาง 12. ระบบงานบริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และ 13. ระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล สามารถให้บริการประชาชนแลtการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานครได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายและระบบงานที่ติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเกิดขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ 2.เพื่อป้องกันไม่ให้ระบบฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครที่อยู่ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ เกิดความเสียหาย ซึ่งอาจจะทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลกลับมาใช้งานได้อีก 1. จัดหาระบบที่สามารถรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 2.ระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)สามารถทำงานได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็วในกรณีเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ 3.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถปฏิบัติงานได้ตลอดเวลาและมีประสิทธิภาพ  0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ยกเลิก 10.00
28 9.0.2. 4.2. 2560 การบันทึกทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 -เนื่องจากข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของเขตป้อมปราบฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)ในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถ ตรวจสอบค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนได้ ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ลงฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ซึ่่งมีจำนวนมากถึง 45,842 ราย โดยแบ่งการดำเนินกาารเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ระหว่างปี พ.ศ.2530-2546 จำนวน9,524 รายเรียบร้อยแล้ว และช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 จะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคฯ ระหว่างปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย -เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) -เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล (ชื่อตัว) จากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที่ -เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการด้านทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว) -สามารถจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย ได้แล้วเสร็จ -ประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
29 9.0.2. 4.2.1 2560 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3)ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา เป็นเขตแม่จากการแบ่งพื้นที่การปกครองเป็น 3 เขต จึงมีทะเบียนชื่อบุคคลเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนเป็นจำนวนมาก 2.เพื่อให้การตรวจสอบ ค้นหาทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) สามารถดำเนินการได้รวดเร็ว และตรวจสอบได้ทุกสำนักทะเบียนทั่วราชอาณาจักร 3.เพื่อลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการค้นหาด้วยมือ 4.ประชาชนได้รับความสะดวก และความพึงพอใจ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา 1.เพื่อลดระยะเวลา ขั้นตอนในการปฏิบัติงานเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน ในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3) 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการให้บริการขอสำนักทะเบียน โดยสามารถตรวจสอบและเรียกค้น ทะเบียนชื่อบุคคล ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บริการในเชิงรุก สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อป้องกันการชำรุด และเสื่อมสภาพของเอกสารทะเบียนชื่อบุคคล โดยสามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างถาวร 5.เพื่อสนองตอบต่อนโยบายผู้บริหารที่ต้องการให้กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยบริการที่ดีที่สุด และสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 1.นำเข้าข้อมูลทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ตั้งแต่วันที่ 17 พ.ค. 2532-2545 ประมาณ 12,700 รายการ จัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ได้ครบถ้วนถูกต้อง 2.ประชาชนที่มาติดต่อตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ณ สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลารอคอย พึงพอใจในบริการ 3.ประชาชนที่ต้องการตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ซึ่งจัดเก็บที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา สามารถรับบริการ ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 9.0.2. 4.2.1 2560 โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชื่อตัว งานทะเบียนถือเป็นภารกิตหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยมีสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานในการให้บริการเกี่ยวกับงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน งานทะเบียนราษฎร และงานทะเบียนทั่วไป จากสถิติการรับบริการงานด้านทะเบียนทั่วไป พบว่า ในปัจจุบันประชาชนมาขอรับบริการเปลี่ยนชื่อตัวเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากมีความเชื่อในเรื่องความเป็นศิริมงคล จึงนิยมมาขอเปลี่ยนเป็นจำนวนมาก ซึ่งการรับบริการเปลี่ยนชื่อตัว เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อตัว (แบบ ช.3) เรียบร้อยแล้ว ณ งานทะเบียนที่วไป จากนั้นประชาชนจะต้องมารับบัตรคิวที่งานทะเบียนราษฎร เพื่อรับบริการแก้ไขรายการชื่อตัวในทะเบียนบ้าน แล้วจึงไปกดบัตรคิวต่อขอเปลี่ยนบัตรประชาชนใหม่ ณ งานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนต่อไป รวมแล้ว 3 ขั้นตอน ทำให้ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกเท่าที่ควร ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถสนองตอบความต้องการของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชือตัว เพื่อจะได้นำผลการดำเนินการในด้านลดขั้นตอนระยะเวลาขอรับบริการมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อยกระดับการให้บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. เพื่อพัฒนาการบริการประชาชนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการรับบริการ ลดขั้นตอนระยะเวลาการให้บริการเปลี่ยนชื่อตัวและแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านแล้วเสร็จ ณ จุดเดียวโดยลดระยะเวลาบริการให้น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 50 นาที (ไม่รวมเวลารอเรียกตามคิว) 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 9.0.2. 4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตจตุจักร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานเขตจตุจักร มีภาระกิจ ครอบคลุมทุกด้านตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านจึงมีความจำเป็นต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความแพร่หลายและมีความถูกต้อง -เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับประชาชน - เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินงาน ให้ประชาชนได้รับทราบ -เพิ่มช่องทางให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บริหารเขต มีการลงข้อมูลผลงานและกิจกรรมลงในระบบสาสนเทศทุกวันและมีการรายงานผู้บริหารเขตทราบทุก 15 วัน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้สืบค้นข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 9.0.2. 4.2.1 2560 ปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน ๗๗ หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) หรือเว็บไซต์ที่หน่วยงานจัดทำขึ้น และมีการ Link มายังเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตามข้อ ๑ ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรมข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสารการให้บริการติดต่อเรา ปรับปรุงข้อมูลตามเกณฑ์การประเมิลผลการปปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานกรุงเทพมหานครตามเกณฑ์ ประเมินผลที่กำหนด ปรับปรุงบริการบนเว็บไซต์ หัวข้อ ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->32 โครงการ 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0