ลำดับ | ยุทธศาสตร์ 20 ปี | แผนแม่บทไอที | ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | หลักการและเหตุผล | วัตถุประสงค์โครงการ | เป้าหมายโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ | งบประมาณที่ใช้ไป | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | เริ่มโครงการ | สิ้นสุดโครงการ | สถานะโครงการ | คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
3.1. | 2563 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสารสนเทศ (New Face for Best) | สำนักงาน ก.ก. มีหน้าที่ดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ซึ่งที่ผ่านมามีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น Facebook ของสำนักงาน ก.ก. แต่เนื่องจาก Facebook ของสำนักงาน ก.ก. มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ปะปนกับข่าวการสอบ ส่งผลให้ขาดความต่อเนื่องในการเข้าถึงข้อมูลการสอบ สำนักงาน ก.ก. จึงจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสารสนเทศ (New Face for Best) เพื่อแก้ปัญหาข้างต้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสอบแข่งขัน | 1. เพื่อเพิ่มช่องทางและยกระดับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสอบแข่งขันฯ 2. เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกับผู้รับบริการให้เข้าถึงข้อมูลและตรงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น 3. เพื่อให้การสรรหาบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญมีประสิทธิภาพมากขึ้น | 1. สำนักงาน ก.ก. สามารถสร้างความเข้าใจระหว่างผู้รับบริการกับหน่วยงาน (Relationship) ด้วยรูปแบบการสื่อสารที่ชัดเจน ทันสมัย และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 2. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารการสอบสามารถสร้างความประทับใจแก่ผู้รับบริการ (First Impression) และเกิดมุมมองเชิงบวกต่อกรุงเทพมหานครจากการให้บริการด้วยใจ (Service Mind) 3. สร้างภาพลักษณ์ให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรชั้นนำที่สามารถดึงดูด คนดี คนเก่ง เข้ามาสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (Employer of Choice) | 0.00 | 0.00 | สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-06-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
2 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
3.1. | 2563 | งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 7,827,300.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-12-22 00:00:00 | 2020-10-21 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
3 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
3.1. | 2563 | งานบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงสำหรับ เชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สวนสาธารณะ, ศูนย์เยาวชน, ศูนย์กีฬา, ห้องสมุดประชาชน, สถานศึกษา, สถานีสูบน้ำ, สำนักงานเขตทั้ง 50 สำนักงานเขต, สถานีตำรวจ ทั้ง 88 สถานี, กองบังคับการตำรวจนครบาลทั้ง 9 แห่ง, ศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์, ศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์, ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) ฯลฯ เพื่อบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานได้เป็นปกติ สามารถบันทึกภาพ เรียกดูภาพ และบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้ที่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของสายเคเบิลเส้นใยนำแสงพร้อมอุปกรณ์ประกอบในการติดตั้ง ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 21,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
4 | 0.0.0. **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
3.1. | 2563 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน การตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | ตรวจสอบ 24 ครั้ง/ปี (เดือนละ 2 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางรัก | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
5 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา | 7,800,000.00 | 7,800,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
6 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 | 9,300,000.00 | 9,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
7 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 23,400,000.00 | 23,400,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
8 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 127,283,000.00 | 127,283,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 | |
9 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 50,200,000.00 | 50,200,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
10 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 7,400,000.00 | 7,400,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
11 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 22,500,000.00 | 22,500,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-11-07 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
12 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 20,000,000.00 | 20,000,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
13 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง | 23,800,000.00 | 23,800,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
14 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง | 17,700,000.00 | 17,700,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
15 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 4,900,000.00 | 4,900,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
16 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 23,900,000.00 | 23,900,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
17 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 13,700,000.00 | 13,700,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
18 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 2,300,000.00 | 2,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
19 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 25,700,000.00 | 25,700,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-11-07 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
20 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ | - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 16,300,000.00 | 16,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
21 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 2,430,000.00 | 2,430,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
22 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) | -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ | -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 11,700,000.00 | 11,700,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
23 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบึงหนองบอน ซึ่งเป็นบึงขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างไว้ให้เป็นโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริสำหรับรับน้ำในช่วงหน้าฝน ซึ่งปัจจุบันบึงรับน้ำหนองบอนเป็นศูนย์กีฬาทางน้ำ ที่มีเรือหลายชนิดไว้ให้ผู้ที่สนใจกีฬาทางน้ำได้ไปใช้บริการกัน เช่น เรือใบ วินเซิร์ฟ เรือคายัค และพื้นที่โดยรอบยังเป็นที่นิยมของผู้ที่ชอบการปั่นจักรยาน ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน จำนวน 50 ชุด โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณเส้นทางจักรยานโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอนได้ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 11,426,000.00 | 11,426,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
24 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบอาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง | ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักและรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้อำนวยการเขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางรัก | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
25 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2560 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ | กรุงเทพมหานครกำหนดแผนปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภาระกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานครให้การดำเนินการของแต่ละหน่วยงานบรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2560 ด้านที่ 9 เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานโดยการส่งมอบบริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชน ซึ่งโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร มุ่งสนองต่อความต้องการของประชาชนในสังคมยุคใหม่ให้สู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ(Best Service Organization) ด้วยการลดระยะเวลาการให้บริการอย่างรวดเร็ว ถูกต้องทั่วถึงและเป็นธรรม | 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์การชั้นเลิศด้านการบริการ 2. เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการประชาชนที่มารับบริการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎร 3. เพื่อให้ผู้มาติดต่อขอรับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด | 1. ผู้มารับบริการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ระยะเวลาการให้บริการลดลงร้อยละ 30 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตวัฒนา | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
26 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | 15.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ. 2560 | จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
27 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | 14.กิจกรรมจัดเก็บฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท (ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ที่ได้รับ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) | การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | การจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัยนอกเหนืออาคาร 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จากกองควบคุมอาคาร (ที่ได้ อ.6 ปี พ.ศ.2560) | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
28 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 23,300,000.00 | 17,475,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
29 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง | 18,300,000.00 | 13,725,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
30 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง | 26,500,000.00 | 19,875,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
31 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 19,800,000.00 | 14,850,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
32 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 25,700,000.00 | 19,275,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-11-07 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
33 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 21,900,000.00 | 16,425,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-11-07 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
34 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 7,400,000.00 | 5,550,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
35 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา | 7,800,000.00 | 5,850,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
36 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 48,600,000.00 | 36,450,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
37 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ | - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 15,000,000.00 | 11,250,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
38 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 | 9,000,000.00 | 6,750,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
39 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | เป้าหมาย ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 13,300,000.00 | 9,975,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
40 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 23,300,000.00 | 17,475,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
41 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 2,000,000.00 | 1,500,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
42 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 4,800,000.00 | 3,600,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
43 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ | กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี | 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 307,600,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
44 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | จัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 13,870,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
45 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 21,000,000.00 | 15,750,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
46 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 35,800,000.00 | 26,850,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
47 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 0.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 | |
48 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 5,800,000.00 | 4,350,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
49 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง บริเวณชุมนุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 4,100,000.00 | 3,075,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
50 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางรัก | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางรัก | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
51 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต | กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตดุสิต | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
52 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางเขน | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
53 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางเขน | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 50.00 |
54 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย | การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น | เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางขุนเทียน | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
55 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) | การตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญ เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มความปลอดภัยเพื่อให้การสนับสนุนการทำงานร่วมกับฝ่ายความมั่นคง การตรวจสอบภาพบริเวณที่เกิดเหตุ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการสำเนาภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการสืบสวนและนำไปประกอบคดีจากเหตุสาธาณภัยดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.เพื่อป้องกันและดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับสถานที่ราชการ เขตชุมชน และสถานที่สาคัญภายในพื้นที่เขต 2.เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว โดยใช้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดในการเฝูาระวังการกระทาความผิด ตรวจจับการกระทาความผิด และบันทึกภาพไว้เป็นหลักฐานในการดาเนินคดี 3.ช่วยเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตารวจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงสามารถทางานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด 4.สามารถใช้ข้อมูลจากกล้องวงจรปิดในการสืบค้นและเป็นหลักฐานในการติดตามเหตุการณ์ต่างๆเพื่อความรวดเร็วและแม่นยาในการจับกุมผู้กระทาความผิด ที่ก่อเหตุในพื้นที่ได้ | เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีราชื่อติดตั้งกล้อง (CCTV) อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตสาทร | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
56 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2561 | โครงการตรวจประสิทธิภาพการทำงานกล้องวงจรปิด (CCTV) จุดเสี่ยงภัย | เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย ,เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก ,เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน และเพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที | 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการให้บริการประชาชนที่เดินทางกลับที่พักในเวลากลางคืน ที่ไม่มีรถโดยสารกลับที่พัก 3. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเวลากลางคืน 4. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็วและทันท่วงที | 1. ซอยแสนสุข ถนนพระราม 4 2. ซอยแสนสบาย ถนนพระราม 4 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตคลองเตย | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
57 | 1.0.2. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงานการใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามโปรแกรมผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เนท (สยส.) | - จากรายงานผลการบำบัดรักษายาเสพติดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 15 ปี ที่ใช้ยาเสพติดครั้งแรกมีจำนวน 1,539 คน คิดเป็นร้อยละ 13.25 มีข้อมูลจากสถานพินิจกรุงเทพมหานครในงบประมาณ 2560 พบว่าเยาวชนในสถานพินิจทีมีอายุ 13 - 18 ปี จำนวน 171 คน พบมีการใช้ยาในทางที่ผิด ได้แก่ โปรโคดิล ทรามาดอล จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของเด็กและเยาวชน ในการใช้ยาในทางที่ผิด และจะนำไปสู่การใช้ยาเสพติดอื่นต่อไป นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 12 - 15 ปีจัดอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น (เทคนิคการทำงานของเด็กและเยาวชน : มาดี ลิ่มสกุล,2560) ของวัยรุ่นในช่วงอายุนี้จะมีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เป็นความเป็นตัวของตัวเอง อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับให้คนอื่นเห็นคุณค่า บางครั้งเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ให้ความสำคัญกับเพื่อนร่วมวัย ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการใช้ยาในทางที่ผิดและยาเสพติดได้ง่ายขึ้น กรุงเทพมหานคร ตระหนักความสำคัญของปัญหาดังกล่าว สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด จึงร่วมกับกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล พัฒนาแบบประเมินดังกล่าว โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการแปรผลและประมวลผล มีฐานข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อให้นักเรียนได้ประเมินตนเองจากแบบประเมินภูมิคุ้มกันฯ ซึ่งคัดกรองนักเรียนได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภูมิคุ้มกันปกติ กลุ่มภูมิคุ้มกันต่ำ และกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถจัดกิจกรรม ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้รวดเร็วถูกต้อง และสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที | - 1.เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมานครมีการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 109 โรงเรียน มีการคัดกรองนักเรียนโดยใช้แบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ | - 1.เพื่อค้นหาคัดกรองนักเนรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีภูมิคุ้มกันต่ำและเสี่ยงต่อการมใช้ยาและสารเสพติดและจัดบริการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม 2.เพื่อัฒนาระบบคัดครองให้มีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 0.00 | 0.00 | สำนักอนามัย | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
58 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรม การจัดทฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) | ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง | การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย | การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
59 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า | -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ | ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 13,304,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2015-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
60 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | ค่าบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 29,860,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
61 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษางานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามรายละเอียดปริมาณงาน และมาตรฐานข้อกำหนดการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารกรุงเทพมหานคร ที่กำหนด | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัณ สำนักการแพทย์ เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 – กันยายน 2562 | 21,500,000.00 | 21,500,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-11-07 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
62 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณสำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 17,500,000.00 | 17,500,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
63 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) 12 ศูนย์ | 1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 เพื่อปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtime 3 เพื่อปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอก 4 เพื่อปรับปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เพื่อเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 เพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 1 ปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคตได้ 2 ปรับปรุงระบบบริหารการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ ปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ให้มีความเสถียรและให้เกิด High Availability และลดการเกิด Downtimeได้ 3 ปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยทางด้านข้อมูลให้มีความเสถียรและป้องกันการถูกบุกรุกจากภายนอกได้ 4 ประปรุงระบบ Monitoring ให้มีความทันสมัยและสามารถใช้งานกับระบบกล้องกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)ที่เป็นระบบใหญ่ได้ 5 เชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 6 ติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพเพื่อให้บริการประชนในการสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดย้อนหลังได้ โดยมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง ณ ระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 19,880,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 | |
64 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานเชื่อมโยงและศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จากการเชื่อมโยงสัญญาณภาพของกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไม่น้อยกว่า 3,000 จุด ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพื้นที่ภายในห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจร(เสาชิงช้า) ให้สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา สำหรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกในการเข้ามาติดต่อประสานงาน 3.เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว | ดูแลบำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงกล้องฯ และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร(เสาชิงช้า) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 6,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
65 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุการณ์ตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพ บริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในระยะที่ 1 ดำเนินงานแล้วเสร็จปลายปี 2556 สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี ประกอบด้วย สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง เพื่อให้การติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่บริเวณดังกล่าว เพื่อการให้บริการประชาชน ซึ่งเป็นแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร แหล่งพัฒนาความรู้ของเยาวชน และสถานที่ออกกำลังกายตามพื้นที่ต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยระบบจะทำการเก็บบันทึกข้อมูลภาพ ณ ห้องควบคุมระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของแต่ละสถานที่ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง ๓๐ วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงจัดทำโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครประกอบด้วย สวนสาธารณะ 15 สวน รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 460 กล้อง | ๓.๑ เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในบริเวณสวนสาธารณะ ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครให้แก่ประชาชน ๓.๒ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ได้ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี ๓.๓ เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่ กรุงเทพมหานครรวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน | ติดตั้งกล้อง CCTV สวนสาธารณะ 26 สวน ศูนย์กีฬา 8 ศูนย์ และห้องสมุดประชาชน 10 ห้องสมุด รวมจำนวนกล้องทั้งสิ้น 1,440 กล้อง | 50,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
66 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง | 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 2.2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 2.5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา | 3.1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 3.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง 3.3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 3.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 3.5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
67 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | ผู้บริหารกรุงเทพมหานครมีนโยบายที่จะพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาการจราจรและความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานครเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการกรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในกิจการแก้ไขปัญหาการจราจร และรักษาความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของชาวกรุงเทพมหานคร โดยได้มีการวางเป้าหมายในการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจะขยายการติดตั้งให้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการควบคุม จัดการ และบริหารจุดเสี่ยงและความปลอดภัย การขยายการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญ ๆ ที่ให้บริการประชาชนเพิ่มเติมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริเวณสถานที่สาธารณะที่มีประชาชนพลุกพล่านเช่น ชุมชน ซอยหรือพื้นที่อันตราย เป็นต้น ทำให้ก่อเกิดความเสี่ยงต่อการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และมีการกระจายตัวครอบคลุมอยู่ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครยากต่อการควบคุมดูแล จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพและข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ระดับความละเอียด 960H และ 1080P พร้อมกัน ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา หากเกิดความชำรุดหรือการทำงานที่ผิดปกติ จะสามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ทันที และบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง | 1 เพื่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และนำภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก ไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดี 3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5 เพื่อเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุม ซึ่งจะทำให้ระบบควบคุมและเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา | 1 สนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ป้องปรามและติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และสามารถใช้สังเกตการณ์ด้านการจราจรได้ 2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 3 สามารถเฝ้าระวัง ป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรมบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก และสามารถตรวจสอบภาพเหตุการณ์ต่างๆ จากการการบันทึก และนำไปเป็นหลักฐานสำคัญในการประกอบการดำเนินคดีได้ 4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้นได้ 5 สามารถทราบเหตุขัดข้องของระบบอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และเครื่องบันทึกภาพ (DVR) ได้ตลอดเวลา และสามารถบริหารจัดการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการชำรุดขัดข้องของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
68 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
69 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
70 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
71 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต) รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | -1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
72 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณป้อมมหากาฬ | เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อีกทั้งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ ป้อมมหากาฬ ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เนื่องจากเป็นสถานที่สำคัญ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งพักผ่อนของคนกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประชาชนภายนอกมาใช้บริการกันมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณ ป้อมมหากาฬ กรุงเทพมหานคร จำนวน 36 ชุด และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน พร้อมทั้งเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลต่างๆ จากห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจรศาลาว่าการ-กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพจากศูนย์กลางได้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 2.1 เพื่อดูแลความเรียบร้อยภายในป้อมมหากาฬ 2.2 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ภายในบริเวณภายในป้อมมหากาฬกรุงเทพมหานคร โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในภายในป้อมมหากาฬ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 4.1 สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมภายในป้อมมหากาฬ และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 4.2 สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับผู้มาใช้บริการประชาชนที่ใช้บริการป้อมมหากาฬได้ 4.3 สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการ ก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4.4 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4.5 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 4.6 สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 10,240,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
73 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)ภายใน 50 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณภายในอาคารสำนักงานเขต พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่งให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ เพื่อใช้ในการดูแลความเรียบร้อยภายในสำนักงานเขตให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขต รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน เป็นไปอย่างต่อเนื่อง | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต 50 แห่ง ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลาอย่างผู้ชำนาญการพิเศษจะพึงกระทำ ตามข้อกำหนดขอบเขตของงานและข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดตั้ง และบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์ วงจรปิดของกรุงเทพมหานครกำหนด ให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี เพื่อให้การเฝ้าระวังความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่าง ๆ สำหรับสังเกตการณ์อยู่ตลอดเวลา | 6,550,000.00 | 6,550,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
74 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2559 – กันยายน 2560 | 7,570,000.00 | 7,570,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
75 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา และห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานของโครงการจัดหา และติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพสวนสาธารณะ ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 19,530,000.00 | 19,530,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
76 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 40,700,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
77 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณชุมชม ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยใในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณ ชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 2,070 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 18,300,000.00 | 18,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-11-07 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
78 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 16,500,000.00 | 16,500,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
79 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 2 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่2 ตลอด 24 ชั่วโมง | 22,050,000.00 | 22,050,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
80 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อให้โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2.จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 3.เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการ พื้นที่ 1 ตลอด 24 ชั่วโมง | 15,200,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
81 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 4,900,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
82 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนครและสำนักงานเขตดุสิต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 19,490,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
83 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 11 เขต ได้แก่ เขตบางเขน , เขตดอนเมือง , เขตบางขุนเทียน , เขตบางแค, เขตหนองแขม,เขตราษฎร์บูรณะ, เขตพระโขนง , เขตคันนายาว , เขตลาดกระบัง , เขตหนองจอก และเขตคลองสามวา เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด บริเวณสนามกีฬา Bangkok Futsal Arena และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรีที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการจัดหาและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต และบริเวณโดยรอบบ้านพักจุฬาราชมนตรี ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 11,400,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
84 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนีให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณตามแนวเส้นทางยกระดับลอยฟ้า เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 1,730,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
85 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ | - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 | 12,500,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
86 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมการเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำ และสถานีสูบน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 4,000,000.00 | 4,000,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
87 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้ง บริเวณชุมชนและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 15,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
88 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1.เพื่อดูแล รักษา ให้ระบบโทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตั้งบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน 9 แห่งให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด อยู่ตลอดเวลา 2. เพื่อซ่อมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุหรือการรื้อย้ายสาธารณูปโภคที่เกิดจากการก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ 3. จัดหาผู้รับจ้างที่มีประสบการณ์ และความชำนาญเป็นพิเศษในการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | ดูแล รักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ 50 จุด ให้ใช้งานดีอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | 3,200,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
89 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,528 กล้อง เป็นระยะเวลา 10 เดือน | 295,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
90 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน | 2,700,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
91 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณโดยรอบโครงการแก้มลิงตามแนวพระราชดำริบึงหนองบอน | 250,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
92 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลซึ่งติดตั้งอยู่ที่สำนักงานเขต ในพื้นที่ 28 เขต เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชนใกล้ประตูระบายน้ำสถานีสูบน้ำและพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน | 26,570,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
93 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ | - สำนักการจราจรและขนส่ง ได้รับผิดชอบดูแลระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง ทั้งนี้วัตถุประสงค์หลักเป็นไปตามนโยบาย ซึ่งผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้มอบหมายไว้ เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย สงบเรียบร้อย และสังเกตสถานการณ์ต่างๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆ รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะมีการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ต่าง ๆ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบ สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลาการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | -1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก และกรุงเทพเหนือ มีจำนวน 11,840 กล้อง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 | 15,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
94 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | จัดหาพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบ | กรุงเทพมหานครได้มีการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุนชน ซึ่งยังมิได้มีการเชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ติดตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอยู่ประมาณ 10,135 จุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความสงบ ความเรียบร้อยและความปลอดภัยไปแล้วนั้น เมื่อแต่ละจุดกล้องยังไม่ได้เชื่อมโยงระบบเข้าสู่ศูนย์ควบคุม ทำให้ทางกรุงเทพมหานครไม่สามารถทราบได้เลยว่า สถานะของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ใช้งานได้อยู่หรือไม่ ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลประจำเดือนเวียนตามรอบเข้าไปตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการเข้าซ่อมบำรุงเพื่อให้ใช้งานได้ปกติ ทางกรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดโครงการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบขึ้นมา เพื่อทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบรับทราบสถานะการทำงานของอุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ว่าทำงานได้ปกติหรือเกิดความชำรุด หากเกิดความผิดปกติ ก็จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตรวจสอบระบบที่เกิดความชำรุดหรือผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้อุปกรณ์กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | -กรุงเทพมหานครมคีวามประสงค์จะจ้างเหมาจดัหาพร้อมติดตงั้อุปกรณ์ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) แบบ Stand alone พร้อมเชื่อมโยงสถานะของอุปกรณ์เข้าสู่ศูนยค์วบคุม ระบบ เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบกลอ้งโทรทศัน์วงจรปิด(CCTV) และเพมิ่ประสทิธภิาพในการเข้าตรวจสอบระบบกล้องโทรทศัน์วงจรปิดของเจ้าหน้าที่ทำไเกิดความสะดวก และรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ กล้องโทรทศัน์วงจรปิด (CCTV) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชวั่โมง โดยให้มีคุณสมบัติตาม ขอ้ก าหนดรายละเอียด และรายการ ดงัน้ี | 1. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 2. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 3 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 4 สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 5. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 307,600,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
95 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม 8 | พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ กรุงเทพมหานครจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่ของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองน่าอยู่ในทุกๆ ด้านและเป็นเมืองแห่งความสะดวกปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สินชาวกรุงเทพมหานคร เป็นนโยบายสำคัญที่ต้องดำเนินการ โดยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบริเวณสถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีคนพลุกพล่าน สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดเหตุร้าย เช่น สะพานพระราม ๘ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ภายในบริเวณใกล้เคียงสะพานพระราม ๘ แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ และยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ซึ่งทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อยและสังเกตสถานการณ์ต่าง ๆ ให้สามารถป้องกัน ป้องปราม และประสานงาน เพื่อลดปัญหาการโจรกรรม อาชญากรรม และอัตวินิบาตกรรม ที่เกิดขึ้นในบริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร โดยจะดำเนินการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณสะพานพระราม ๘ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร ที่กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมไม่สามารถตรวจตราได้ เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่สะพานพระราม ๘ และบริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จำนวน 30 กล้อง โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) ไว้ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปยัง สถานีตำรวจนครบาลบวรมงคล สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตพระนคร เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพปัจจุบันและดูภาพย้อนหลัง รวมทั้งใช้ในการบันทึกภาพ โดยสามารถตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | จ้างเหมาจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบบริเวณสะพานพระราม ๘ เพื่อดูแลความเรียบร้อย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณสะพานพระราม | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมและเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. เพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 11,890,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
96 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางรักได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางรักเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | ตรวจสอบ 24 ครั้ง/ปี (เดือนละ 2 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางรัก | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
97 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมตรวจสอบกล้อง CCTV พื้นที่เขตดุสิต | กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิต มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 ตัว เพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงได้จัดทำกิจกรรมนี้ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | เพื่อตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในพื้นที่เขตดุสิตการทำงานให้เป็นปัจจุบัน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตดุสิต | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
98 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) | ผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานครมีนโยบายเพิ่มความปลอดภัยในพื้นที่สาธารณะและลดจุดเสี่ยงอาชญากรรม | เพื่อให้เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติหน้าที่การตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) | เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตพญาไท | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
99 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางเขน | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
100 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการตรวจตราและตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) พื้นที่เสี่ยงภัย | การดำนเนินงานเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นภารกิจร่วมของหลายหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยการทำงานแบบบูรณาการ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและความดดล่อแผลมต่อการเกิดอาชญากรรม | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความปปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายหที่อาจจะเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา และร่วมกันระวังภัยป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น | เสริมสร้างความปลอดภัยและลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตบางขุนเทียน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางขุนเทียน | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
101 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย (CCTV) | จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง | เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร | เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตสาทร | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
102 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) | จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ | 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ | จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางซื่อ | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
103 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2562 | โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) | เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย | 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว | จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตคลองเตย | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
104 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง | เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่มาใช้งาน บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู่มาใช้ บริเวณสวนสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 121,119,000.00 | 82,355,477.83 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
105 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | เพิ่มความปลอดภัยของ บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | 33,504,200.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
106 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | 43,925,100.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
107 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ชุมชน กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 43,670,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
108 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพดหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | 13,300,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
109 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 38,945,300.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
110 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงและบริเวณชุมนุมชนในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2562 - 2565) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 41,040,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
111 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง สำนักงานเขตดุสิต สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตพระนคร สำนักงานเขตวังทองหลาง สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ สำนักงานเขตราชเทวี สำนักงานเขตห้วยขวาง | - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรทัศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา | - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | 12,302,200.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
112 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | - เพี่อดูแลความเรียบร้อย และเพิ่มความปลอดลัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม - เพี่อเฝัาระรัง ปัองปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม ในพี่นที่สุ่มเสี่ยง โดยนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ จากการ บันทึกไปเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การลังเกตการณ์ ภายในพี่นที่ - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรบัศนํวงจรปิด - เพี่อเชี่อมโยงลัญญาณภาพจากกล้องโทรบัศนํวงจรปิด เข้าสู่ห้องควบคุม เพี่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบภาพ จากกล้องโทรห้ศนํวงจรปิด และเครี่องบันทึกภาพได้ตลอดเวลา | - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพตะร้นออก | 12,302,200.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
113 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | กรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อทำให้กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่น่าอยูและประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเปนภารกิจที่เกี่ยวของกับหลายหน่วยงานจำเป็นตองอาศัยการทำงานแบบบูรณาการเพื่อให้สามารถนำมาตรการต่างๆ ลงสูพื้นที่ที่มีปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใตบทบาทและอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและมีความปลอดภัย ลดโอกาส ลดปัจจัยและความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม กรุงเทพมหานครได้ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจนครบาล การแจ้งข้อร้องเรียนของประชาชน สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต และการสำรวจของหน่วยงาน เพื่อสำรวจพื้นที่เสี่ยงที่ทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่ากรุงเทพมหานครมีพื้นที่เสี่ยงกระจายอยู่ในพื้นที่เขตต่าง ๆ จากข้อมูลของกองบัญชาการตำรวจนครบาลได้สรุปสถิติฐานความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย และเพศ และฐานความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ ภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และถึงแม้กรุงเทพมหานครจะได้สนับสนุนเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ กล้อง แต่ก็ยังไม่กระจายครอบคลุมในพื้นที่เสี่ยงต่าง ๆ โดยยังพบว่ามีการร้องเรียนจากประชาชนให้ติดตั้งเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่ชุมนุมชน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงกระจายทั่วพื้นที่ กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่เสี่ยงอันตรายยากแก่การเฝ้าระวัง เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีประชาชการเพิ่มขึ้น การการเจริญเติบโตของเมืองจึงทำให้เกิดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้กำหนดให้ดำเนินโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ สำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตหลักสี่ สำนักงานเขตดอนเมือง สำนักงานเขตสายไหม สำนักงานเขตจตุจักร สำนักงานเขตบางเขน | กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานโครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย เฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ พร้อมเพื่อเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เข้าสู่ห้องควบคุมกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) | - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดลัยบริเวณพี่นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพี่นที่กลุ่มกรุงเทพเหนิอ | 12,176,600.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
114 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณบริเวณโดยรอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง(ระยะที่ 1 สะพานโอสถานนท์ถึงสะพานดำรงสถิต)เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณพื้นที่ต่อการเกิดอาชญากรรม กลุ่มกรุงเทพใต้ 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณโดยรอบคลองโอ่งอ่าง และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 12,365,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
115 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บริเวณดังกล่าวโดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือเพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณดังกล่าว โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 122,394,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
116 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย บริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 4 ปี (งบ 2563 - 2566) | -เนื่องจากการเติบโตและขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้พื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มการเกิดปัญหาการก่อเหตุอาชญากรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ได้ ทางกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เนื่องจากประชาชนภายนอกมาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และเป็นการยากที่จะให้มีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังเหตุตามจุดต่างๆ ได้ทั่วถึง จึงจำเป็นที่จะติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยจะดำเนินการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. เพื่อดูแลความเรียบร้อยบริเวณดังกล่าว 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย การสังเกตการณ์ภายในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ รวมถึงการปรับปรุงการให้บริการให้แก่ประชาชน | 1. สามารถตรวจจับผู้กระทำผิดทางกฎหมายจากการก่อเหตุอาชญากรรมบริเวณดังกล่าว และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดีได้ 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยทางด้านชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการในการทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณดังกล่าว 3. สามารถตรวจสอบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ และแจ้งเตือน เพื่อป้องปรามการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม และเป็นหลักฐานสำคัญประกอบการดำเนินคดี 4. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิ่งขึ้น 5. สามารถใช้เทคโนโลยีระบบสื่อสารข้อมูล มาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด 6. สามารถเชื่อมต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้อยู่ในระบบเดียวกัน สามารถเชื่อมโยงติดตามเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ | 12,176,600.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
117 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงาน บริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ (ม.1.2.1.1.1) ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมระบบบริหารการจัดการบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐาน เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกัน ต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในปัจจุบันระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ จำนวน 34 กล้อง ซึ่งมีความละเอียดของภาพที่ระดับ D๑ (๗๐๔x๕๗๖ Pixels) เท่านั้น รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV), อุปกรณ์บันทึกภาพ (DVR Recorder), UPS ขนาด 1 KVA, Edge Switch, Distribute Switch, เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับดูกล้อง CCTV, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบันทึกภาพ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก, ตู้ใส่อุปกรณ์ Network, กล่องสวิตซ์ตัดตอน มีอายุการใช้งานที่มากกว่า 10 ปี เริ่มเสื่อมสภาพจากการใช้งานและล้าสมัย ทำให้ภาพที่ได้จากการตรวจจับมีความละเอียดไม่เพียงพอที่จะระบุตัวตนของผู้ก่อเหตุ ระบุรูปพรรณสัณฐานของผู้ต้องสงสัย หรือเหตุการณ์ที่จะนำไปสู่การก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุความรุนแรงได้ ดังนั้นเพื่อให้อุปกรณ์ระบบโทรทัศน์วงจรปิดดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความทันยุคทันสมัยกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน สำนักการจราจรและขนส่งจึงมีความต้องการที่จะปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการก่อสร้างงานจัดหาพร้อมปรับปรุงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เดิมพร้อมอุปกรณ์การทำงานบริเวณภายในเขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐานวังเทเวศร์ เพื่อปรับปรุงและติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพิ่มเติม ให้สามารถใช้งานได้อย่างเป็นปกติมีประสิทธิภาพ ทดแทนระบบเก่าที่เสื่อมสภาพและล้าสมัย และเพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย ป้องปราม ติดตามการก่อเหตุอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม และเพื่อใช้ถวายการเฝ้าระวังได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา | - เพี่อเฝัาระรัง และรักษาความปลอดทัยบริเวณภายใน เขตพระราชฐานและบริเวณรอบนอกเขตพระราชฐาน วังเทเวศร์ | 10,982,400.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
118 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณ แบบ 3 จี ชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ | สำนักการจราจรและขนส่งได้จัดซื้อกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยและอำนวยการจราจรการจัดกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ “ปั่นเพื่อพ่อ Bike for Dad” ดังนั้น เพื่อให้อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ และสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ก็สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งยังมีความสามารถในการส่งข้อมูลภาพเหตุการณ์ปัจจุบันไปยังศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร และสามารถเรียกภาพดูย้อนหลังได้ 30 วัน อันเป็นประโยชน์ในการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยช่างผู้ชำนาญการ 2. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานตำรวจในการเฝ้าระวัง ตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย และป้องกันการก่ออาชญากรรม และการตอบสนองในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว 3. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วน อาทิเช่น เพื่อภารกิจด้านความมั่นคง การเตรียมความพร้อมหากเกิดสถานการณ์การชุมนุม การก่อความไม่สงบต่าง ๆ บริเวณสถานที่ราชการ บ้านบุคคลสำคัญ ใช้งานได้อย่างทันท่วงที | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) แบบ PTZ พร้อมอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบ ๓ จีชนิดเคลื่อนย้ายจุดติดตั้งได้ตลอด 24 ชั่วโมงและสามารถนำไปใช้ในการติดตั้งบริเวณที่มีการร้องขอให้ติดตั้งโดยเร่งด่วนได้อย่างทันท่วงที เป็นระยะเวลา 12 เดือน | 3,050,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
119 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน | กรุงเทพมหานครมีความประสงค์ดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะดำเนินการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน เพื่อเป็นการใช้สำหรับป้องปราม และรักษาความปลอดภัยระวังเหตุร้าย รวมทั้งประกอบเป็นหลักฐานในกรณีที่มีเหตุไม่ปกติเกิดขึ้น บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม | เพื่อช่วยในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ ป้องกัน และป้องปราม รวมถึงสามารถใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ บริเวณโดยรอบเส้นทางจักรยานรอบเขตพระราชฐาน รอบพระราชวังดุสิต และรอบวังสวนจิตรลดา ในถนนราชวิถี ถนนศรีอยุธยา ถนนพระรามห้า และโดยรอบวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยนำข้อมูลภาพจากการบันทึกภาพเหตุการณ์ไปใช้เป็นหลักฐานในการประกอบการดำเนินคดี โดยจะทำการบันทึกภาพข้อมูลเหตุการณ์ ต่าง ๆ ไว้ ณ จุดติดตั้ง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลังได้ถึง 30 วัน และทำการเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการเรียกดูภาพและบันทึกภาพย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 30 วัน เพื่อให้สามารถเรียกดูภาพและตรวจสอบภาพ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ต | 2,700,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
120 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาลโดยรอบเขตพระราชฐาน สถานที่สำคัญ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์รักษาความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการป้องกันต่อสถานการณ์ก่อความไม่สงบในบริเวณที่สำคัญ บริเวณโดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ซึ่งเป็นที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง โดยรอบเขตพระราชฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ คือ พระบรมมหาราชวัง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วังสระปทุม วังเลอดิส วังเทเวศร์ วังทวีวัฒนา วังศุโขทัย โครงการส่วนพระองค์ 904 พระที่นั่งอัมพรสถานและบริเวณซอยทวีวัฒนา 22 | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบและการเชื่อมโยงสัญญาณไปยังกองรักษาการณ์ประจำพระราชฐานหรือสถานีตำรวจนครบาล โดยรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา | 6,700,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
121 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | 13,364,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
122 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | 27,300,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
123 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | 17,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
124 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 587 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 218 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 267 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 123 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 390 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 96 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 990 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.15 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.16 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 120 กล้อง | 11,400,000.00 | 5,700,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
125 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง | 9,300,000.00 | 4,650,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
126 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน ๗ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางขุนเทียน, สำนักงานเขตหนองแขม, สำนักงานเขตบางแค, สำนักงานเขตทุ่งครุ, สำนักงานเขตภาษีเจริญ, สำนักงานเขตบางบอน และสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนใต้ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 55 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 107 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 154 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 780 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 381 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 208 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 134 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 44 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 45 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 95 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 51 กล้อง 3.13 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 กล้อง 3.14 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.15 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.16 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.17 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 84 กล้อง | 10,700,000.00 | 5,350,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
127 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 20,900,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
128 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน แบบ Stand Alone ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 28,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
129 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 14,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
130 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยง สัญญาณภาพไปที่ 28 สำนักงานเขต ซึ่งเป็นการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อม การเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากจุดติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดไปห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อพัฒนาศักยภาพในด้านการรักษาความปลอดภัยของพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีการติดตั้งกล้องในบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร,บริเวณสะพานลอยคนเดินข้าม,บริเวณซอยอันตราย,บริเวณโรงเรียน/มหาวิทยาลัย, บริเวณแหล่งชุมชน, บริเวณ ป้ายรถประจำทาง, บริเวณใต้สะพาน/ใต้ทางต่างระดับ/ใต้อุโมงค์ทางลอด ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้อง โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจร (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ครอบคลุมถึงความปลอดภัย บริเวณเข้า-ออกหลัก และจุดบริการต่างๆ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 23,900,000.00 | 11,950,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
131 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 370 กล้อง 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง | 16,900,000.00 | 8,450,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
132 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต | 17,100,000.00 | 8,550,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
133 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 9 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง, สำนักงานเขตดุสิต, สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, สำนักงานเขตพญาไท, สำนักงานเขตพระนคร, สำนักงานเขตวังทองหลาง, สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์, สำนักงานเขตราชเทวี และสำนักงานเขตห้วยขวาง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลางตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพกลาง | 56,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
134 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | กทม ต้องการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ให้ใช้งานได้ตลอดเวลา | 21,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
135 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (เกิน) | 1 | 1 | 1 | 21,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
136 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพหนือ | 16,193,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
137 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 7 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางซื่อ, สำนักงานเขตลาดพร้าว, สำนักงานเขตหลักสี่, สำนักงานเขตดอนเมือง, สำนักงานเขตสายไหม, สำนักงานเขตจตุจักร และสำนักงานเขตบางเขน สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 16,100,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
138 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขต เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่ที่รับผิดชอบ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษาระบบกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV)เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 3.2 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.3 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.4 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.5 บำรุงรักษาระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.6 บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.7 บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายในสำนักงานเขต | 13,900,000.00 | 6,950,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
139 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือ และกรุงธนใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อใช้ในการรักษาความปลอดภัย เฝ้าระวัง ป้องกันและป้องปราบเหตุอาชญากรรม ใช้เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินคดี และเพื่อการอื่น ๆ แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลาของการใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อดูแล บำรุงรักษา ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ กรุงธนเหนือและกรุงธนใต้ ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2563 จำนวน 2,840 จุด | 7,500,000.00 | 5,000,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
140 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) | สำนักการจราจรและขนส่งที่เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบ เกี่ยวกับระบบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และระบบจราจร ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการเพิ่มความสะดวกสบายด้านการจราจรและเพิ่มความปลอดภัยให้กับประชาชนตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยติดตั้งระบบบริการจุดรับส่งปลอดภัย บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 48 จุด ที่สำคัญ และมีประชาชนใช้เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทาง โดยสามารถตอบสนองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครด้านมหานครปลอดภัย คือผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการที่มีการรับ-ส่งผู้โดยสาร บริเวณจุดรับส่งปลอดภัย สามารถมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินได้ และสามารถตอบสนองตามแผนนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้านสะดวก โดยเดินทางสะดวก ใช้ชีวิตสะดวก ข้อมูลสะดวก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 48 จุด รวม 144 กล้อง พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) เพื่อบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีการใช้จุดเปลี่ยนถ่ายนี้ในการเดินทาง โดยสามารถตรวจสอบรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของบุคคล เช่น เพศ สีผิว รูปร่าง เสื้อผ้าที่สวมใส่ เป็นต้น พร้อมสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการวางวัตถุต้องสงสัยและรายละเอียดลักษณะทางกายภาพของวัตถุได้ และสามารถตรวจสอบแผ่นป้ายทะเบียนยานพาหนะ กรณีที่มีการจอดรับ-ส่งผู้โดยสารหรือประชาชน - ติดตั้งระบบเรียกรถบริการสาธารณะอัจฉริยะ โดยระบบสามารถบันทึกภาพของผู้ใช้บริการและทะเบียนรถบริการสาธารณะที่ให้บริการ ซึ่งหากเกิดเหตุอันไม่พึงประสงค์ของผู้โดยสารหรือผู้ให้บริการ ระบบสามารถติดตามผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดีได้ หรือกรณีลืมสัมภาระ สิ่งของบนรถบริการสาธารณะ ก็สามารถติดตามคืนได้ | 1. เพื่อจัดระเบียบรถบริการสาธารณะที่จอดกีดขวางช่องทางจราจรและให้ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการสามารถเรียกใช้และให้บริการรถสาธารณะได้อย่างสะดวกและมีความปลอดภัย 2. เพื่อใช้เทคโนโลยีมาอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าตำรวจในการตรวจตรา ดูแลความเรียบร้อย ในการตรวจสอบผู้กระทำผิด | 1. ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)บริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (ล้อ-ราง-เรือ) จำนวน 48 จุด 2. เชื่อมโยงข้อมูลของระบบฯ เข้าสู่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) | 18,600,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
141 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | เพื่อทำการกระจายข้อมูลจากศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าไปตามสำนักงานเขต 12 เขตเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ตามศูนย์ต่างได้ และลดภาระของศูนย์ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า | -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับศูนย์ควบคุมหลักที่เป็นระบบใหญ่ได้ -เพื่อให้ประชาชนสามารถสืบคน้ ข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ง ๆ ย้อนหลังได้ | ติดตั้งระบบศนู ย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 12 ศูนย์ | 13,304,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
142 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทาำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงธนเหนือ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน ๘ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตบางกอกน้อย, สำนักงานเขตตลิ่งชัน, สำนักงานเขตทวีวัฒนา, สำนักงานเขตบางกอกใหญ่, สำนักงานเขตธนบุรี, สำนักงานเขตคลองสาน, สำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตจอมทอง ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงธนเหนือ | ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงธนเหนือ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 562 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 894 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาและชุมชนไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.4 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมชน ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 369 กล้อง - 2 – 3.5 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานที่ราชการ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 260 กล้อง 3.6 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพบริเวณสวนสาธารณะศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาและห้องสมุดประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 104 กล้อง 3.7 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 130 กล้อง 3.8 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 66 กล้อง 3.9 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณชุมนุมชนใกล้ประตูระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และพื้นที่สุ่มเสี่ยงบริเวณชุมนุมชน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 118 กล้อง 3.10 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล 88 แห่ง จำนวน 99 กล้อง 3.11 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณชุมนุมชน และจุดเสี่ยงภัย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164 กล้อง 3.12 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล และศูนย์เอราวัน สำนักการแพทย์ 3.13 บำรุงรักษารายการระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่สำนักงานเขตและสถานีตำรวจในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.14 บำรุงรักษารายการระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3.15 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ภายใน 50 สำนักงานเขต จำนวน 96 กล้อง | 19,600,000.00 | 9,800,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
143 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | ค่าบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพใต้ | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่สำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ และมีการเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน ๑๐ สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตสวนหลวง, สำนักงานเขตคลองเตย, สำนักงานเขตวัฒนา, สำนักงานเขตบางนา, สำนักงานเขตปทุมวัน, สำนักงานเขตสาทร, สำนักงานเขตบางรัก, สำนักงานเขตยานนาวา, สำนักงานเขตพระโขนง และสำนักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น เพื่อให้การทำงานของอุปกรณ์ของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบสภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ ดังกล่าวให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่ตลอดเวลา โดยช่างผู้ชำนาญการ | 1. เพื่อตรวจสอบ ดูแล รักษา ซ่อมบำรุง อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบควบคุม บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปยังห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพเข้าสู่ห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) ที่สำนักงานเขต สถานีตำรวจ และห้องควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่รับผิดชอบกลุ่มกรุงเทพใต้ ดูแลบำรุงรักษากล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้ เป็นระยะเวลา 12 เดือน ดังนี้ | 3.1 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 1 จำนวน 373 กล้อง 3.2 บำรุงรักษารายการติดตั้งกล้อง (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงานพร้อมเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เข้าศูนย์บริหารจัดการพื้นที่ 2 จำนวน 287 กล้อง 3.3 บำรุงรักษารายการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมเชื่อมโยงสัญญาณภาพไปที่ 11 สำนักงานเขต จำนวน 8 กล้อง 3.4 บำรุงรักษารายการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 774 กล้อง | 25,100,000.00 | 12,550,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
144 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | ค่าบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินการติดตั้งระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ โดยแบ่งตามพื้นที่ 6 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพเหนือ (ศูนย์จตุจักรและศูนย์บางเขน) กลุ่มกรุงเทพกลาง (ศูนย์ราชเทวีและศูนย์ห้วยขวาง) กลุ่มกรุงเทพใต้ (ศูนย์พระโขนงและศูนย์บางคอแหลม) กลุ่มกรุงเทพตะวันออก (ศูนย์มีนบุรีและศูนย์บึงกุ่ม) กลุ่มกรุงธนเหนือ (ศูนย์บางพลัดและศูนย์จอมทอง) กลุ่มกรุงธนใต้ (ศูนย์บางบอนและศูนย์ราษฎร์บูรณะ) เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการปรับปรุงระบบบริหารจัดการการเก็บข้อมูลการบันทึกภาพ การปรับปรุงระบบการเรียกดูภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบเชื่อมโยงสัญญาณภาพ ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และปรับปรุงพื้นที่ของศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า รวมทั้งการดำเนินติดตั้งระบบบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และบริหารจัดการแบบรวมศูนย์เพื่อแสดงภาพ ควบคุม ตรวจสอบเรียกดูภาพย้อนหลัง และปรับปรุงระบบ Multimedia ภายในห้องควบคุมเพื่อสะดวกและง่ายต่อการแสดงผล ติดตามการเคลื่อนไหวที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบตลอดเวลาและการติดตั้งระบบบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลบันทึกภาพไว้ พร้อมทั้งกำหนดให้มีพนักงานประจำศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทั้ง 13 ศูนย์ สำหรับให้บริการประชาชนในการติดต่อขอสืบค้นข้อมูลระบบการบันทึกภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ย้อนหลัง ตลอด 24 ชั่วโมง | เพื่อบำรุงรักษาระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามบัญชีรายการอุปกรณ์และจุดติดตั้งกล้องฯแนบท้าย ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | เพื่อให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของระบบศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ศูนย์ควบคุมกลางศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศูนย์บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 12 ศูนย์ ดังกล่าว สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 36,900,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
145 | 1.0.4. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ | สำนักสิ่งแวดล้อมโดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศเพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหามลพิษทางอากาศครอบคลุมพื้นที่ ๕๐ เขต โดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิม จำนวน ๔ สถานี สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี และ แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ที่ผ่านมาการรับส่งข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและรถตรวจวัดคุณภาพอากาศมายังกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ดำเนินการผ่านโปรแกรมต่างๆ ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก และแบบเคลื่อนที่ ส่งผลให้สำนักสิ่งแวดล้อมขาดการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการ เพื่อที่จะนำไปประเมินผลมลพิษทางอากาศ และวางแผนบริหารจัดการ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการโครงการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศ เพื่อเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์ อ้างอิงข้อมูลค่าตรวจวัดคุณภาพอากาศ ทำให้การประมวลผลที่ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศมีความแม่นยำและถูกต้องยิ่งขึ้น ก่อนเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวสู่สาธารณชนต่อไป โดยศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศสามารถใช้ข้อมูลสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับ หรือจากการเชื่อมโยงข้อมูลอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ อาทิเช่น ทิศทางลม การก่อสร้าง การจราจร ฯลฯ มาประกอบการวิเคราะห์ค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณจุดตรวจวัดฯ สามารถประมวลผล แปรผล และเตือนให้ประชาชนหลีกเลี่ยงในการเข้าไปในพื้นที่ที่ค่ามลพิษทางอากาศสูงอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งนี้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลคุณภาพอากาศ การแปรผล การพยาการณ์คุณภาพอากาศล่วงหน้าภายใน ๒๔ ชั่วโมง ฯลฯ ผ่านทางคอมพิวเตอร์พื้นฐาน แท็ปเล็ต และโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน ผ่านระบบแอพพลิเคชั่น โดยทางระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ประชาชนสามารถนำข้อมูลคุณภาพอากาศไปช่วยในการตัดสินใจในการทำกิจกรรมภายนอกอาคารบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศต่อตัวเองและบริเวณนั้น ซึ่งเป็นสร้างความตระหนักให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยกันมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครต่อไป | 1. เพื่อทดสอบระบบการพัฒนาระบบข้อมูลการจัดการคุณภาพอากาศในการจัดการระบบสารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศ ระหว่างสถานีตรวจวัดเดิมกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศติดตั้งบนเสาเหล็ก แบบเคลื่อนที่ และศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อทดสอบระบบจำลองการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศ ระบบเพื่อค้นหาแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ ระบบสำหรับนำเข้าและเชื่อมโยงข้อมูลด้านอากาศจากหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร และศึกษาการนำข้อมูลเข้า Big Data 3. เพื่อทดสอบระบบแจ้งเตือนประชาชนชาวกรุงเทพมหานครให้ทราบถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพ ระยะเวลาที่สามารถอยู่ได้ในพื้นที่นั้น การป้องกันตนเองเบื้องต้น หากเกิดกรณีอยู่ในพื้นที่ที่มีค่ามลพิษทางอากาศค่าสูง 4. เพื่อแปรผลข้อมูลที่บูรณาการทั้งหมดสนับสนุนให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร พิจารณา วางแผน ตัดสินใจ และกำหนดนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร | 1. กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม เป็นศูนย์สารสนเทศข้อมูลคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานครที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2. ข้อมูลคุณภาพอากาศระหว่างสถานีตรวจวัดเดิม จำนวน ๔ สถานี บนเสาเหล็ก จำนวน ๔๖ สถานี แบบเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน ข้อมูลหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร สามารถเชื่อมโยง ระหว่างกันอย่างเป็นระบบ (Platform) อยู่ในศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร (Big Data) 3. การวิเคราะห์ การประมวลผล การแปรผลเหตุการณ์ การพยากรณ์ การแพร่กระจาย การค้นหาแหล่งกำเนิด จากค่าการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ผ่านระบบ Big Data เผยแพร่สู่ประชาชนเชิงแผนที่ภูมิศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต แอพพลิเคชั่น 4. ประชาชนสามารถ รับทราบถึงความเสี่ยง ผลกระทบ การป้องกันสุขภาพของตนเองและช่วยในการตัดสินใจของประชาชนในการทำกิจกรรมใดที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ 5. ประชาชนและกรุงเทพมหานคร มีปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ข้อติชมด้านมลพิษทางอากาศ ความรู้ด้านอากาศ อื่นๆ ผ่านทางระบบ social media เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ค เป็นต้น | 8,155,000.00 | 8,155,000.00 | สํานักสิ่งแวดล้อม | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
146 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ | 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต เป็นข้อมูลในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต | 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตดุสิต | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-10-01 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
147 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | มิติที่1(บูรณาการ)กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ | - เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย - เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต | - สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 - ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตห้วยขวาง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
148 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | กิจกรรมการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV ในพื้นที่เขต | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดในการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักงานเขตบางเขนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องปรามภัยและปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงได้ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิดในพื้นที่เขตบางเขนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อให้สามารถใช้การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสบายใจ ปลอดภัยให้แก่ประชาชนการตรวจระบบกล้องวงจรปิด คือ การตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการตรวจสอบจากจอมอนิเตอร์ ถ้าพบจุดที่ชำรุด หรือบดบังจะรายงาน/ประสานไปสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการต่อไป | 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องบันทึก และกล้อง โดยการเปิดดูภาพจากกล้องวงจรปิด สิ่งที่แสดงถึงความผิดปกติ เช่น สัญญาณภาพขาดหาย มีสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ ขึ้นบนหน้าจอ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิส เป็นต้น 2. ตรวจสอบความคมชัดของกล้อง และสิ่งของที่อาจจะบังมุมมองของกล้อง 3. ดำเนินการรายงานผลการตรวจสอบให้ผอ.เขตทราบเดือนละ 1 ครั้ง | 1.ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขตบางเขน 2.ตรวจสอบ 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางเขน | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
149 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด | 1.เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางเขน ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2.เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต | 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางเขน | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
150 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | กิจกรรมการปรับปรุงสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย และการตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) | จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม หมายถึง การตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง | เพื่อป้องกันอาชญากรรมโดยการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่เขต 1)เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3)เพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 4)เพื่อให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร | เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตสาทร | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
151 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการตรวจสอบจุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) | จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ | 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ | จุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวังและตรวจตรา ร้อยละ 100 | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตบางซื่อ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
152 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | โครงการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย | เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย | 1. เพื่อป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่เขตคลองเตย 2. เพื่อเป็นการดูแลและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. เพื่อแก้ไขเหตุฉุกเฉิน เหตุร้ายอย่างรวดเร็ว | จุดเสี่ยงภัยที่มีกล้องวงจรปิดได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตคลองเตย | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
153 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร (โครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ) | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แนวทางที่จะลดความสกปรกให้กับแหล่งน้ำธรรมชาติ คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น และควบคุมให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง การแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้วางแผนกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป | 1 เพื่อสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัด้ก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ | มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียจำนวน 1 ฐานข้อมูล และมีแผนที่แสดงความหนาแน่นของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย รวมถึงมีแผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตคลองเตย | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
154 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | กิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสียประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตหลักสี่เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตหลักสี่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ | เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตหลักสี่ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตหลักสี่ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย | เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการ ในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตหลักสี่และขยายไปให้ครอบคลุมทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) โดยเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ เพื่อประสานความร่วมมือกับ สถานประกอบการต่างๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตหลักสี่ | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
155 | 1.0.1. ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
3.1. | 2563 | แผนงานกิจกรรมการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย | ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม ประกอบกับการประกอบกิจการทุกประเภทได้มีผลกระทบกับแหล่งน้ำเช่นกัน ลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลเช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสียคุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของกิจกรรมสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ | 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต | 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการและประชาสัมพันธ์ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 50 แห่ง | 0.00 | 0.00 | สำนักงานเขตคันนายาว | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
156 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 8,800,000.00 | 6,600,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
157 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 11,100,000.00 | 8,325,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
158 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 29,700,000.00 | 28,896,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
159 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) | -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ | -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึง กันยายน 2561 | 11,700,000.00 | 8,775,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
160 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน | 7,300,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
161 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 9,300,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
162 | 2.0.2. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) | -กรุงเทพมหานครจ้างเหมาโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่มีอยู่เดิม ตามสำนักงานเขตให้สามารถรองรับการบันทึกภาพได้มากขึ้น พร้อมทั้งติดตั้งระบบการเรียกดูภาพของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สถานีตำรวจนครบาลบางบัว สถานีตำรวจนครบาลคลองสามวา สถานีตำรวจนครบาลทรายกองดิน สถานีตำรวจนครบาลสะพานสูง สถานีตำรวจนครบาลวังหิน สถานีตำรวจนครบาลคลองเตย สถานีตำรวจนครบาลบางจาก สถานีตำรวจนครบาลประชาอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลจอมทอง และสถานีตำรวจนครบาลเอกชัย จำนวน 10 ชุด เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและควบคุมเฝ้าระวังพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้ร่วมตรวจสอบ สังเกตการณ์ การควบคุมการก่ออาชญากรรมและวินาศกรรม พร้อมทั้งติดตั้งระบบสำรองการบันทึกภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่สำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสัญญาณภาพ จากโครงข่ายเชื่อมโยงสื่อสารระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การประกอบสำนวนคดี และป้องกันความเสียหายของข้อมูลอีกทางหนึ่ง โดยสามารถรองรับการเพิ่มจำนวนกล้องที่ติดตั้งในอนาคต และรองรับการประสานงานไปยังหน่วยงานด้านความปลอดภัยอื่น ๆ | -1. เพื่อให้ระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมอุปกรณ์การทำงาน ของโครงการปรับปรุงระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | -ดูแลบำรุงรักษาระบบการบันทึกภาพและบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2562 | 9,770,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
163 | 2.0.1. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการจราจร (ม.2.3.2.2.4) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้านการบริหารจัดการจราจรบริเวณจุดทางแยกสำคัญๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 238 กล้อง และจอแสดงผล จำนวน 50 จอ เพื่อใช้ในการตรวจสอบสภาพจราจร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะทำการส่งข้อมูลภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบการเชื่อมโยงสัญญาณข้อมูล และระบบเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มายังศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล | ตรวจสอบ ควบคุม บริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยงข้องของงานเชื่อมโยงสัญญาณภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ไปที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร กรุงเทพมหานคร (ศูนย์ควบคุมกลาง) และศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร (บก.02) กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาลสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงจำเป็นต้องดูแลบำรุงรักษา ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาโดยช่างผู้ชำนาญการ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาการจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน | 22,400,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
164 | 2.0.1. ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
3.1. | 2563 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร (ม.2.3.2.2.3) | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. เพื่อให้มีการแสดงภาพการจราจรที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) บริเวณทางแยกต่างๆ จากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลการจราจรเพื่อประกอบการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการจราจร | 1. ปรับปรุง บำรุงรักษา ตรวจสอบและแก้ไขระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร จำนวน 498 กล้อง และอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง ให้สามารถใช้งานได้ดีและมีประสิทธิภาพ 2. เชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งแสดงเส้นสีที่แจ้งถึงระดับการติดขัด | 29,600,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
165 | 3.0.2. ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
3.1. | 2561 | พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา | สำนักการศึกษานำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายเป็นหลัก จึงจำเป็นต้องพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาโดยจัดหาผู้มีความรู้ความชำนาญมาติดตั้งระบบสายสัญญาณที่มีข้อดีด้านประสิทธิภาพการส่งสัญญาณและอายุการใช้งานสายสัญญาได้ยาวนาน | 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง | ด้านปริมาณ 1. ติดตั้งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. ติดตั้งระบบไฟฟ้า (เต้ารับไฟฟ้า) จำนวน 200 จุด ด้านคุณภาพ บุคลากรของสำนักการศึกษาสามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศทั้งภายในและผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1,028,500.00 | 0.00 | สำนักการศึกษา | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 10.00 |
166 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2560 | โครงการภาคีเครือข่ายดูแลถนน (Best Service ปี 2560) | ๑.การซ่อมแซมถนน หรือการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ถนน พบว่ามีความล่าช้า ๒.การไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคใช้พื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานครเช่น ไม่คืนพื้นที่ผิวจราจร ๓.ความล่าช้าของการตอบกลับผู้ร้องเรียน และแจ้งเรื่องราวให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ไข ๔.การตรวจสอบการชำรุด ของถนน สะพานของสำนักการโยธาไม่ครอบคลุมทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕.การสื่อสารผ่านโทรศัพท์ให้ข้อมูลตำแหน่ง รายละเอียดปัญหาได้ไม่ชัดเจน ๖.เพิ่มช่องทางการร้องเรียนผ่าน Line@ Application | ๑.เงื่อนไขประกอบการอนุญาตให้หน่วยงานสาธารณูปโภคเข้าดำเนินการในพื้นที่ถนนของกรุงเทพมหานคร ๒.การใช้ Line Applicationในการเพิ่มช่องทางการร้องเรียน ส่งรูปภาพ ตำแหน่งปัญหา แจ้งหน่วยงานและติดตามการแก้ไข ๓.การเพิ่มบทบาทให้ภาคประชาชนในการมีส่วนร่วมในการแจ้งปัญหาการชำรุดเสียหายของถนน สะพาน | ๑.ดำเนินการเชิงรุกแก้ปัญหาได้รวดเร็ว ๒.ส่งรูป ตำแหน่งเรื่องราวร้องเรียนได้ชัดเจน ๓.ผู้รับบริการ เครือข่าย มีช่องทางการติดต่อที่มากขึ้น | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
167 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ส่งรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 | 20,000,000.00 | 24,965,480.00 | สํานักการโยธา | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
168 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.2.1 | 2561 | โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) | 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี | 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น | 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ | 415,484,400.00 | 410,315,400.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
169 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2561 | บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 8,400,000.00 | 6,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
170 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2561 | ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง | ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง เริ่มใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในเชื่อมโยงระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ระบบ MIS ระบบหนังสือเวียน ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำหรับศูนย์บริการข้อมูลเมือง (One Stop Service Center) ซึ่งระบบดังกล่าวมีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี ทำให้ระบบมีปัญหาการทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. เป็นเทคโนโลยีที่ล้าสมัย ไม่รองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน 2. ปัจจุบันสำนักผังเมืองมีข้อมูลขนาดใหญ่จำนวนมาก จึงเกิดปัญหาการโอนย้ายข้อมูลทำได้ช้า 3. ไม่รองรับระบบคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ และ Smart Device ทำให้ไม่สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 4. ข่ายสายสัญญาณเก่ารับส่งสัญญาณได้น้อย 5. การกระจายจุดเชื่อมโยงระบบไม่ทั่วถึง 6. ระบบป้องกันภัยคุกคามของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นระบบเก่า ทำให้ระบบฐานข้อมูลของสำนักผังเมืองมีความเสี่ยงถูกภัยคุกคามจากภายนอกเข้าโจมตี ดังนั้น การปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงมีความจำเป็นเพื่อให้สามารถสนับสนุนนโยบายและการบริหารงานส่วนกลาง และสนับสนุนให้การดำเนินงานของสำนักผังเมืองโดยองค์รวมประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการปรับปรุงในครั้งนี้เป็นการทดแทนของเดิมที่เป็นอุปกรณ์เก่าและมีอายุ ใช้งานมากกว่า 10 ปี เพื่อให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการใช้งานของผู้ใช้งานภายในสำนัก ผังเมือง และเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครที่ปรับปรุงใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | เพื่อให้สำนักผังเมืองมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีโครงสร้างพื้นฐานที่มีความมั่นคง สามารถสนับสนุน นโยบายและการบริหารงานส่วนกลางสามารถสนับสนุนให้การดำเนินงานของสำนักโดยองค์รวมประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เกิดการบูรณาการ และเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงานภายในสำนักผังเมือง และเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร สามารถให้การบริการได้อย่างต่อเนื่องและพร้อมใช้งาน โดยไม่เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในและภายนอก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งเพราะช่วยให้การโอนย้ายข้อมูลสามารถเชื่อมโยงและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้รับบริการด้านข้อมูลสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารจัดการเมือง และนโยบายต่าง ๆ ด้วยความรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ | ดำเนินการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักผังเมือง ดังนี้ 1. จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับระบบเครือข่ายมีสาย 2. จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย 3. จัดหาและติดตั้งระบบบริหารจัดการระบบเครือข่าย 4. จัดหาและติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยจากภัยคุกคามจากภายนอก 5. จัดหาและติดตั้งระบบพิสูจน์ตัวตนเพื่อตรวจสอบสิทธิ์ของผู้ใช้งานระบบเครือข่าย 6. จัดหาและติดตั้งสายใยแก้วระหว่างอาคาร และภายในอาคาร 7. การติดตั้งสายสัญญาณอย่างน้อยเป็น UTP Category 6 จากสวิตช์ไปยังเต้ารับแบบ Structure Cabling ไม่น้อยกว่า 250 จุด 8. จัดหาและติดตั้งเครื่องสํารองไฟฟ้า (UPS) 9. จัดหาและติดตั้งระบบสายส่งกระแสไฟฟ้า รองรับการปรับปรุงระบบทั้งหมด | 7,000,000.00 | 4,868,500.00 | สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
171 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของศูนย์บริการกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) | ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้กำหนดแนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบให้กับสำนักงานเขต เห็นชอบให้ดำเนินการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของศูนย์บริการกรุงเทพมหานครจำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) และให้เพิ่มระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานเขต ทั้ง 4 แห่ง จัดซื้อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 มีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี จึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทดแทน และจัดหาเพิ่มเติมให้เพิ่มเติม ให้ฝ่ายอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC | สำนักงานเขต จำนวน 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC และมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ | 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่มีอยู่เดิม ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของฝ่ายต่าง ๆ 2. ให้เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 3. กรุงเทพมหานครมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและระบบประชาสัมพันธ์ 4. กรุงเทพมหานครมีระบบการจองคิวรับบริการด้วย Mobile Application | 30,338,600.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
172 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) | ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้กำหนดแนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบให้กับสำนักงานเขต เห็นชอบจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) และให้เพิ่มระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานเขต ทั้ง 7 แห่ง จัดซื้อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 มีอายุการใช้งานมากกว่า 6 ปี และไม่มีเครื่องสำหรับให้บริการของฝ่ายอื่น ๆ จึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทดแทน และจัดหาเพิ่มเติมให้ฝ่ายอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC | สำนักงานเขต จำนวน 7 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตบางซื่อ ดอนเมือง สายไหม บางกะปิ คลองสามวา ประเวศ และบางแค) มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มี ความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC | 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่มีอยู่เดิม 2. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมให้ฝ่ายต่าง ๆ ที่ลงมาปฏิบัติงานณ ศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC | 42,391,500.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
173 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ พร้อมระบบคิวและระบบการประเมินความพึงพอใจ เพื่อติดตั้ง ณ ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast &Clear : BFC) | ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast &Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่-พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขตต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของ สำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 ได้เห็นชอบการกำหนดแนวทางการจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พร้อมระบบและอุปกรณ์ให้กับสำนักงานเขต โดยให้ใช้รายละเอียดเดียวกันกับการจัดหาให้แก่ 4 สำนักงานเขต (สำนักงานเขตพระโขนง สาทร หนองแขม และวังทองหลาง) เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC โดยจะจัดหาให้แก่สำนักงานเขต จำนวน 39 เขต และจุดบริการด่วนมหานคร 11 จุด | สำนักงานเขต จำนวน 39 เขต และจุดบริการด่วนมหานคร 11 จุด มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานที่มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC และมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ | 3.1. เพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของฝ่ายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC 3.2. กรุงเทพมหานครมีระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและระบบประชาสัมพันธ์ 3.3. กรุงเทพมหานครมีระบบการจองคิวรับบริการด้วย Mobile Application | 66,952,800.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
174 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐของกรุงเทพมหานคร | คณะกรรมการบูรณาการฐานขอมูลประชาชนและการบริการภาครัฐโดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเปนประธานกรรมการ มีมติที่ประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๘ เห็นชอบแนวทางการดําเนินการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ และเมื่อวันอังคารที่ 22 มีนาคม 2559 กรุงเทพมหานครได้ลงนามบันทึกข้อตกลงกับสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง จำนวน 2 ฉบับ ประกอบด้วย บันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยวิธีเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และการใช้ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของกรุงเทพมหานคร และบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้โปรแกรมสำหรับอ่านข้อมูลจากบัตรประจำตัวประชาชน ต่อมาปลัดกรุงเทพมหานครมอบหมายให้ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการวางระบบเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลทะเบียนกลางฯ ให้กับ สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักผังเมือง สำนักพัฒนาสังคม และสำนักการคลัง โดยให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลประสานการปฏิบัติงานกับหน่วยงานดังกล่าว รวมทั้งจัดทำรายละเอียดประมาณการในการดำเนินการและขอจัดสรรงบประมาณไปยังสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ตามหนังสือสำนักงานปกครองและทะเบียนที่ กท 0406/2791 ลงวันที่ 25 เมษายน 2559 ดังนั้น เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถดำเนินการเพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร จากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยวิธีเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐเพื่อสนับสนุนการให้บริการประชาชนต่อไป | 1. กรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลประวัติทะเบียนราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อให้บริการประชาชนแบบ Online ได้ 2. ประชาชนมีความสะดวกในการรับบริการจากกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น โดยสามารถใช้เพียง บัตรประจําตัวประชาชนแบบอเนกประสงค (Smart Card) ในการขอรับบริการ 3. เจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการประชาชนด้วยความรวดเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้น 4. กรุงเทพมหานครสามารถเชื่อมโยงและใช้ข้อมูลประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อเป็น ไปตามบันทึกข้อตกลงฯ และมติที่ประชุมคณะกรรมการบูรณาการฐานขอมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ | 1.มีระบบเชื่อมโยง (Linkage Center) เพื่อให้บริการข้อมูลประวัติทะเบียนราษฎร จากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง เพื่อให้บริการประชาชนแบบ Online ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีการติดตั้งอุปกรณ์อ่านบตรประจำตัวประชาชนให้ฝ่ายต่าง ๆ ของสำนักงานเขตรวม 8 ฝ่าย เพื่อสามารถให้บริการต่อประชาชนแทนการใช้สำเนาบัตรประชาชน | 5,955,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
175 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน ที่จุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยเปิดให้บริการในส่วนของการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและคัดรับรองสำเนา รวมถึงการให้บริการชำระภาษีและการให้บริการ รับจดทะเบียนพาณิชย์ ปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 - 8 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้อง ทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับ ปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานคร อีกทั้งประชาชนได้รับความสะดวกสบายในการเข้ารับบริการ และเป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการกำหนดรูปแบบและแนวทางการปรับปรุงด้านกายภาพของสำนักงานเขต ศูนย์บริการประชาชน และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับให้บริการประชาชนของสำนักงานเขต ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 มิถุนายน 2560 เห็นชอบให้ดำเนินการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนของจุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร | จุดบริการด่วนมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ให้สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ และได้รับความพึงพอใจจากประชาชน | 1. ปรับเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ให้บริการ ณ จุดบริการด่วนมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง 2.เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชนสามารถทำงานร่วมกับระบบของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1,533,100.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
176 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2561 | จัดหาระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ในบริเวณศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร(ดินแดง) โดยกำหนดให้มีพื้นที่ใช้งานประกอบด้วยห้องประชุมสภากรุงเทพมหานคร ห้องประชุมย่อยสำหรับใช้เป็นห้องประชุมกรรมาธิการ ห้องปฏิบัติงานของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ห้องปฏิบัติงานสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งภายในอาคารดังกล่าวยังไม่มีระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการสำหรับเจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ สำหรับให้บริการรับส่งข้อมูลและมีระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเป็นการสื่อสารภายในองค์กรในรูปแบบการสื่อสารแบบง่ายประหยัด (Easy use and Save cost) และปลอดภัยมีความเป็นส่วนตัว ด้วยการพัฒนารูปแบบของเทคโนโลยีที่พกติดตัวผู้ใช้อยู่ตลอดเวลาอย่างสมาร์ทโฟน (Smart Phone) และแอปพลิเคชัน (Application) บนสมาร์ทโฟนทำให้เกิด Community และเอื้อต่อการบริหารงานภายในหน่วยงานมากขึ้น | จัดทำระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลสำหรับอาคารสภากรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ดินแดง)เพื่อเป็นโครงข่ายสื่อสารข้อมูลหลักสำหรับสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและเจ้าหน้าที่เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อใช้งานระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงานและให้บริการประชาชนผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ Smart Phone และสามารถเชื่อมต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ ครอบคลุมพื้นที่อาคารสภากรุงเทพมหานคร | จัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลพร้อมระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานครศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ดินแดง)โดยเชื่อมต่อเข้ากับโครงข่ายสื่อสารข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานครพร้อมอุปกรณ์และสายสัญญาณครอบคลุมทุกชั้นของอาคารเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ สามารถเชื่อมโยงเข้าถึงเครือข่ายของกรุงเทพมหานครได้อย่างสมบูรณ์ และให้เจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร และสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 | 28,697,200.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
177 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2561 | พัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครมีศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครและติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร เพื่อรองรับการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศในการให้บริการกับประชาชนครอบคลุมพื้นที่ 50 สำนักงานเขต โดยมีพื้นที่ของศูนย์คอมพิวเตอร์สำหรับติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร เพียง 100 ตารางเมตร เริ่มใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันมีการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพิ่มขึ้นกว่าในอดีตแบบก้าวกระโดด ตามสภาวะเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ทำให้ต้องเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาและขยายขีดความสามารถจากศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานมานานและมีข้อจำกัดทางกายภาพให้เป็นศูนย์กลางที่มีประสิทธิภาพในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร สำหรับรองรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และการบริการประชาชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพจึงจำเป็นต้องจัดหาสถานที่ที่มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 500 ตารางเมตร เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์ข้อมูล (Data Center)สำหรับให้บริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานครในการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายเพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานและเป็นศูนย์บริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับรองรับการอำนวย ความสะดวกในการบริการประชาชนของกรุงเทพมหานคร | ๑ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูล (Data Center) ขนาดไม่น้อยกว่า 500 ตารางเมตร สำหรับรองรับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ๒ เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) สามารถบริหารจัดการพื้นที่ บริหารจัดการด้านพลังงานและการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการได้อย่างเอกเทศ ๓ เพื่อให้การบริหารจัดการการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การติดตั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมรักษาความปลอดภัย ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ | เพื่อให้การบริหารจัดการพื้นที่สำหรับติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์ควบคุมและรักษาความปลอดภัยสำหรับบริการหน่วยงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมสำหรับสนับสนุนหน่วยงานในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริการและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด และสอดคล้องตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย | 91,019,700.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2017-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
178 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | โครงการบริหารการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร (SBMC Unified Communications) | สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีแนวคิดที่จะพัฒนาการประชุมสภากรุงเทพมหานคร ให้มีความสะดวกรวดเร็ว ก้าวสู่ความเป็นเลิศ มีความทันสมัย รองรับการเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 | 1. เพื่อให้สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีระบบการบริหารจัดการด้านการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์สำหรับให้บริการแก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครและบุคลากรของหน่วยงาน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงานภายในสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร | 1. ผู้รับบริการสามารถติดต่อสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน รวมถึงสามารถค้นหาและส่งผ่านข้อมูลที่เกี่ยวกับภารกิจของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครและข้อมูลอื่นๆ ตลอดรวมถึงสามารถรับทราบกิจกรรมการประชุมอันเป็นภารกิจที่สำคัญ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา 2. การใช้กระดาษสำหรับจัดทำเอกสารเชิญประชุมคณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญและคณะอนุกรรมการลดลง 3. อย่างน้อย 1 ระบบ | 0.00 | 0.00 | สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
179 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2.พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ดำเนินดารโครงการแล้วเสร็จ | 22,900,000.00 | 12,947,370.00 | สํานักการโยธา | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
180 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) | สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ | 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ | ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
181 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 24,700,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
182 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2562 | บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 6,250,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-12-22 00:00:00 | 2019-10-21 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
183 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2562 | โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) | เพื่อเก็บข้อมูลตามโครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) | เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง | มีฐานข้อมูลและรายละเอียดของการนำสายครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง ของ กทม | 35,000,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2018-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
184 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและขอบเขตการให้บริการระบบอินเทอร์เน็ตของกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครสามารถเปิดให้บริการแก่ข้าราชการของกรุงเทพมหานครในด้านการเข้าใช้งาน ในระบบอินเทอร์เน็ตของกรุงเทพมหานครแล้วแต่หน่วยงานจะร้องขอ เนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องของปริมาณ การใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตสำหรับหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร มีความต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก เนื่องจากระบบงานต่าง ๆ ที่หน่วยงานต้องใช้ในการปฏิบัติราชการต้องใช้งานผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น เช่น การรับจดทะเบียนพาณิชย์ การปฏิบัติงาน ตามระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) เป็นต้น ดังนั้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร สามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ จึงจำเป็นต้องจัดหาปรับเปลี่ยนรูปแบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการให้สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย มีความครอบคลุมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย และจัดหาระบบจัดเก็บข้อมูลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ให้สอดคล้องกับการขยายการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตที่เพิ่มมากขึ้นด้วยซึ่งจะทำให้สามารถจัดเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้ใช้แต่ละผู้ใช้เป็นรายบุคคลได้ครบถ้วน ตามกฎหมายต่อไป สำหรับการให้บริการเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) และระบบบริหารจัดการการเข้าถึงข้อมูล (Web Portal) รวมถึงการให้บริการพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ มีระบบจัดเก็บข้อมูลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 แต่ยังไม่ครอบคลุมในทุกเหตุการณ์ (Event) อีกทั้งยังไม่มีระบบการวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาตรวจสอบความผิดปกติต่าง ๆ เพื่อใช้สำหรับการป้องกันการบุกรุกในลักษณะต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้งานและวิเคราะห์เหตุการณ์ ในระดับโปรแกรมประยุกต์ | 1. สามารถรองรับการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตของหน่วยงานกรุงเทพมหานครได้ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานคร โดยสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติราชการได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 2. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครทุกคน สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ ค้นคว้า หาความรู้ต่าง ๆ บนระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถรองรับการจัดเก็บข้อมูลการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ตามจำนวนผู้ใช้งานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 | 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย LAN ของกรุงเทพมหานครสามารถออกสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ และสนับสนุนการปฏิบัติงานที่ต้องใช้ระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 2. เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครสามารถค้นหาข้อมูลเพื่อพัฒนาความรู้ได้ตามความต้องการ สามารถนำไปเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนได้อย่างกว้างขวาง ทันสมัยต่อเหตุการณ์ได้ดียิ่งขึ้น 3. สามารถเก็บข้อมูลผู้ใช้งานและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานของผู้ใช้ได้ครบถ้วน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 4. สามารถเก็บข้อมูลการใช้งานและวิเคราะห์เหตุการณ์ ระดับโปรแกรมประยุกต์ เพื่อหาความผิดปกติและเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 5. สามารถให้บริการต่อเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครได้ 40,000 คน โดยมีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใช้งานได้ 20,000 เครื่อง | 29,500,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
185 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง สำหรับการบริหารจัดการและการบริการ ณ ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร | ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละระบบทำงานบนเครื่องแม่ข่ายของตนเองทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง จากการที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายมีจำนวนมาก มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงและต้องเปิดระบบปรับอากาศอย่างเพียงพอต่อการควบคุมอุณหภูมิห้องให้เหมาะสม ประกอบกับเครื่องแม่ข่ายที่ใช้งานอยู่เดิม มีอายุนานหลายปี มีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน มีความเสี่ยงสูงต่อการชำรุดเสียหาย อีกทั้งไม่สามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรของเครื่องให้เต็มขีดสมรรถนะและยืดหยุ่นเหมาะสมกับสภาวะการใช้งานจริงของแต่ละระบบงานในแต่ละช่วงขณะดังที่ต้องการได้เช่นเดียวกับเทคโนโลยีเครื่องแม่ข่ายในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง ทำการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ข่ายให้ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน ด้วยเทคโนโลยี Virtualization เพื่อรองรับการนำระบบสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครติดตั้งระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน โดยมีการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน ช่วยลดขนาดพื้นที่ในการติดตั้ง จัดการ การใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาลดลง ประหยัดพลังงานไฟฟ้าทั้งนี้ยังทำให้การบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลดความซับซ้อนในการจัดการ รวมไปถึง สามารถดูข้อมูลเครื่องแม่ข่ายทั้งหมดได้สะดวกและง่ายขึ้นในหน้าจอเดียวกัน ตอบสนองต่อภารกิจพิเศษที่ต้องการ ใช้งานทรัพยากรของระบบเครื่องแม่ข่ายได้ในเวลารวดเร็ว พร้อมทั้งรองรับปัญหาการขาดแคลนเครื่องแม่ข่ายที่นำมาทดแทนเครื่องที่มีอายุการใช้งานนาน มีการเสื่อมสภาพ มีสมรรถนะต่ำไม่สามารถรองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นได้ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาเครื่องแม่ข่ายเสมือน เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งเพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐเพื่อผลักดันสู่ไทยแลนด์ 4.0 | 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเครื่องแม่ข่ายเสมือนที่มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการทำงานของระบบสารสนเทศได้หลากหลายระบบ 2.เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรเครื่องแม่ข่ายเสมือนให้เป็นแบบรวมศูนย์และให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 3.เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการการใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดการใช้พลังงาน 4.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องแม่ข่ายในอนาคต รวมถึง License ของ Software อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถรองรับการเติบโตในอนาคต | จัดหาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมให้กับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในภาพรวม | 89,000,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
186 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | จัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์สำหรับศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการจัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล พร้อมทั้งระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์ และโครงข่ายของศูนย์ข้อมูลขึ้น โดยในการจัดหาซอฟต์แวร์ที่ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการระบบสารสนเทศของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานสำหรับศูนย์ข้อมูล (Data Center) ครอบคลุมทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ (Infrastructure as a Service : IaaS) และซอฟต์แวร์ Platform as a Service (PaaS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร | เพื่อให้ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมีซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.จัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่จำเป็นต้องใช้ในระบบการบริหารจัดการและการให้บริการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร 2.จัดหาซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับศูนย์ข้อมูล 3.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล 4.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์และเครือข่ายของศูนย์ข้อมูล 5.จัดหาซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารจัดการคอมพิวเตอร์แบบศูนย์กลาง | 84,401,900.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
187 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | ปรับปรุงและทดแทนระบบการแจกและควบคุมหมายเลข IP Address | กรุงเทพมหานครได้นำระบบการจัดการหมายเลข IP Address (IPAM) ใช้มาตั้งแต่ปี 2554 ในการให้บริการแจกหมายเลข IP Address แบบอัตโนมัติแก่หน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อลดระยะเวลาในการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย และช่วยบริหารจัดการหมายเลข IP Address ของแต่ละหน่วยงานให้มีความถูกต้องเป็นมาตรฐาน สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว โดยมีอุปกรณ์ให้บริการแจกหมายเลข IP Address ใช้งานอยู่เดิมจำนวน 58 เครื่อง ซึ่งติดตั้งเพื่อให้บริการแจกหมายเลข IP Address ที่สำนักและสำนักงานเขต ปัจจุบันอุปกรณ์ดังกล่าวเริ่มมีการชำรุดเสี่ยงต่อการไม่มีอะไหล่ในการที่จะซ่อมแซมหรือเปลี่ยนทดแทน เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตได้ยกเลิกสายการผลิตไปแล้ว ดังนั้นเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากความล่าช้าในการให้บริการการเชื่อมต่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและอุปกรณ์ต่อพ่วง จึงจำเป็นต้องจัดหาระบบการแจกและควบคุมหมายเลข IP Address มาทดแทนของเดิมที่เสื่อมสภาพและชำรุดต่อไป | 1.เพื่อให้ระบบสามารถแจก IP Address ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้งานได้โดยอัตโนมัติและสามารถบริหารจัดการระบบเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างรวดเร็วและมีความพึงพอใจในการรับบริการ 2.เพื่อบริหารจัดการและเพิ่มความปลอดภัยให้กับระบบ DNS โดยมีกระบวนการในการตรวจสอบ (Validation) และพิสูจน์ตัวตน (Authentication) ของ DNS Server และความถูกต้องของข้อมูลจาก DNS | เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและรองรับการแจกหมายเลข IP Address ได้รวดเร็วและครอบคลุมทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของกรุงเทพมหานครจำนวนไม่น้อยกว่า 20,000 อุปกรณ์ | 20,137,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
188 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2562 | ระบบควบคุมงานจากส่วนกลาง | สามารถนำมาใช้ตรวจสอบ ควบคุม ผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาให้ดำเนินการให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามสัญญาการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) โดยการแจ้ง Incident ต่างๆ ที่มีปัญหาไปให้กับผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบ Manual ระบบจะบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นในรูปแบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้สรุปปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปของรายงาน หน่วยงานปลายทางสามารถ แจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นผ่านระบบควบคุมงานจากส่วนกลางได้ และสามารถจัดเก็บแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบฐานข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขในอนาคตได้ (Knowledge Management) เมื่อระบบนี้ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครสามารถนำไปใช้เพื่อตรวจสอบ และควบคุม ผู้รับจ้างดูแลบำรุงรักษาให้ดำเนินการให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ตามสัญญาการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA)ได้ทุกหน่วยงาน | เพื่อให้มีเครื่องมือที่สามารถแจ้งเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ Incident ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและส่งปัญหาไปให้กับผู้รับจ้างที่รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงระบบได้โดยอัตโนมัติ เร่งรัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้เป็นปกติได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งลดเวลาในการเกิด Downtime ของการให้บริการประชาชนของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร | จัดหาและติดตั้งระบบติดตามผลแบบ Real Time ได้ตลอด 24 ชั่วโมง และประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคตเพื่อป้องกันเหตุในเชิงบูรณาการ | 16,987,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
189 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | โครงการบริหารการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร (SBMC Unified Communications) | สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีแนวคิดที่จะพัฒนาการประชุมสภากรุงเทพมหานคร ให้มีความสะดวกรวดเร็ว ก้าวสู่ความเป็นเลิศ มีความทันสมัย รองรับการเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 | 1. เพื่อให้สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร มีระบบการบริหารจัดการด้านการสื่อสารภายในองค์กรแบบรวมศูนย์สำหรับให้บริการแก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครและบุคลากรของหน่วยงาน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงานภายในสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานคร | 1. ผู้รับบริการสามารถติดต่อสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน รวมถึงสามารถค้นหาและส่งผ่านข้อมูลที่เกี่ยวกับภารกิจของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครและข้อมูลอื่นๆ ตลอดรวมถึงสามารถรับทราบกิจกรรมการประชุมอันเป็นภารกิจที่สำคัญ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา 2. การใช้กระดาษสำหรับจัดทำเอกสารเชิญประชุมคณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญและคณะอนุกรรมการลดลง 3. อย่างน้อย 1 ระบบ | 0.00 | 0.00 | สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
190 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดประเวศ (สยส.) | -- สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดเป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย มีหน่วยงานในสังกัดที่ให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2 แห่งคือ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบบริหารจัดการด้านข้อมูล และการให้บริการประชาชนเพื่อบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดเกิดความล่าช้า ประกอบกับการจัดเก็บข้อมูลที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นต้องติดตั้งระบบเครือข่าย LAN (Local Area Network) ภายในอาคาร เพื่อรองรับงานบริการของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ โดยนำโปรแกรม ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาใช้ในทุกจุดบริการโดยผ่านระบบเครือข่ายภายใน เป็นการส่งเสริมยกระดับการดูแลรักษาผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้กับองค์กร บุคลากร ตลอดจนผู้บริหาร เนื่องจากปัจจุบัน ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) สามารถช่วยเสริมและอำนวยความสะดวกของสถานพยาบาลในหลายๆ ด้าน ทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ สร้างความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้มากขึ้นด้วยจำนวนบุคลากรที่มีจำกัด พร้อมเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายส่วนกลางของกรุงเทพมหานคร โดยผ่านเครือข่ายของสำนักอนามัยและสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์กระจายสัญญาณชนิดไร้สายเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการในอนาคต | -- 1. เพื่อติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ 2. เพื่อติดตั้งโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดของคลินิกบำบัดยาเสพติด2 ลาดพร้าวและสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ | -- ติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารและโปรแกรมระบบบำบัดและรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดครอบคลุมจุดให้บริการ ของคลินิกบำบัดยาเสพติด 2ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ | 365,900.00 | 365,900.00 | สำนักอนามัย | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
191 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | โครงการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา | ปัจจุบันสำนักการศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สายเป็นหลัก แต่จากการสำรวจส่วนราชการในสำนักการศึกษา ปรากฏปัญหาการส่งสัญญาณไร้สายมีประสิทธิภาพต่ำและบางพื้นที่อับสัญญาณ สาเหตุมาจากอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สายเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ประกอบกับมีสัญญาณรบกวนอื่นๆ จำนวนมากจากสถานที่ใกล้เคียง ส่งผลกระทบต่อการทำงานของบุคลากรในสำนักการศึกษา สำนักการศึกษาจึงมีโครงการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสำนักการศึกษา โดยจัดหาผู้มีความรู้ ความชำนาญมาติดตั้งเครือข่ายไร้สายในสำนักการศึกษา เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย | 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในสำนักการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนภารกิจของสำนักการศึกษาเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง | ด้านปริมาณ 1. ติดตั้งเครือข่ายไร้สาย พร้อมอุปกรณ์ประกอบใน 8 ส่วนราชการของสำนักการศึกษา 2. ติดตั้งระบบไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบใน 8 ส่วนราชการของสำนักการศึกษา ด้านคุณภาพ บุคลากรของสำนักการศึกษาสามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3,145,800.00 | 0.00 | สำนักการศึกษา | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 10.00 |
192 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา (Best Service) คงไว้ | สำนักการโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจพื้นที่โครงการ การออกแบบ เพื่อให้ได้แบบสำหรับการก่อสร้าง การควบคุมงานก่อสร้างทั้งด้านคุณภาพและวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งการก่อสร้างจะมีระบบสาธารณูปโภคทั้งบนดินและใต้ดินที่หน่วยงานภายนอกจะต้องขออนุญาตกับกรุงเทพมหานครในการดำเนินการรื้อย้ายหรือติดตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครในขณะเดียวกันโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ยังมีความจำเป็นที่จะต้องบำรุงรักษาให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัยต่อประชาชน การดำเนินงานของโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักการโยธาทั้งสิ้น อาทิ สำนักงานออกแบบ สำนักงานวิศวกรรมทาง สำนักงานจัดกรรมสิทธิ์ สำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักงานควบคุมอาคาร กองสำรวจและแผนที่ที่ดิน กองควบคุมการก่อสร้าง กองวิเคราะห์และวิจัย และกองแผนงานและประสานสาธารณูปโภค ดังนั้น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธาจึงมีความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช้แสดงรายละเอียดข้อมูลเพื่อการวางแผนและการติดตามผลโครงการก่อสร้างที่อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา สามารถใช้ในการสืบค้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสามารถ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห์ความต้องการงบประมาณในการก่อสร้างและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม และความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ รวมถึงสามารถติดตามสถานะงานก่อสร้างที่มีอยู่ของสำนักการโยธาได้ | 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรของสำนักการโยธาในด้านการใช้ระบบการบริหารงานโครงการและการติดตามผลงานก่อสร้างให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 พัฒนาระบบการจัดทำข้อมูล/จัดเก็บข้อมูลการติดตามผลและรายงานผลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยสามารถนำเข้าข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลด้าน มิติ เป้าประสงค์ มาตรการ นำเข้าข้อมูลโครงการ รายการ กิจกรรมรายละเอียดต่าง ๆ 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถเก็บข้อมูลตามรูปแบบที่เหมาะสมกับสำนักการโยธา โดยจะสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศที่มีอยู่ และโมดูลอื่น ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมของสำนักการโยธาได้ | ระบบฐานข้อมูลงานก่อสร้างของสำนักการโยธา โดยใช้ระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อรวบรวมข้อมูลบนแผนที่ดิจิตอล 1 : 4000 3.2 รวบรวมข้อมูลโครงการก่อสร้างของสำนักการโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2562 3.3 ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง/ประชาชน สามารถค้นหาข้อมูลด้วยตนเองผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 3.4 ลดระยะเวลาค้นหาข้อมูล สามารถค้นหาข้อมูลงานก่อสร้างได้รวดเร็วขึ้น 3.5 ลดจำนวนบุคลากรในการค้นหาข้อมูล ผู้ขอรับบริการ/ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาข้อมูลได้ด้วยตนเอง 3.6 มีผู้ใช้งานระบบไม่น้อยกว่า 2,000 ราย (บุคลากรสำนักการโยธา/ประชาชน) | 0.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
193 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | โครงการจ้างสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบบริหารจัดการเครือข่ายสายไฟเบอร์เส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2562 - 2563) | ดำเนินการตามโครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินของการไฟฟ้านครหลวงบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) และเชื่อมโยงระบบเชื่อมโยง ของกล้อง CCTV และทรั้ง เรดิโอ | เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง และตามแผนงานของการไฟฟ้าที่จะนำเสาสายไฟลงใต้ดิน | นำสายสื่อสารของ สจส. ลงดินบริเวณถนนพระราม 4 (ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย) | 29,720,000.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
194 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายสำนักการจราจรและขนส่ง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) | เนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบยังคงปรากฏในหลายพื้นที่และกระจายเป็นวงกว้าง กรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่เป้าหมายสำคัญอีกแห่ง เนื่องจากเป็นเมืองหลวงของประเทศและมีผู้คนอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ซึ่งสถานการณ์ก่อความไม่สงบบางส่วนได้เกิดขึ้นแล้วในบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร ก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตของผู้คน รวมทั้งส่งผลต่อธุรกิจท่องเที่ยวและเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากสถานการณ์ความไม่สงบดังกล่าวแล้ว การที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนเป็นจำนวนมาก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เพิ่มขีดความสามารถในด้านการดูแลรักษาสวัสดิภาพของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของกรุงเทพมหานคร โดยได้แบ่งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ออกเป็น 2 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ 1. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับรักษาความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งใช้เฝ้าระวัง ตรวจจับ ตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งใช้ในการป้องปราม การก่อความไม่สงบโดยวิธีการก่อวินาศกรรมหรือภัยคุกคามต่อสวัสดิภาพของประชาชน ทำให้เกิดความเสียหายกับระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สำหรับการแก้ไขปัญหาการจราจร รวมทั้งปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาน้ำท่วม อุบัติเหตุบนท้องถนน การจัดระเบียบทางเท้า อาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร มีกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ที่ติดตั้งและใช้งานด้านสังเกตการณ์สภาพจราจร และปัญหาน้ำท่วมกระจายอยู่ตามทางแยกต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่ง กรุงเทพมหานคร โดย สำนักการจราจรและขนส่ง ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ได้แก่ เครื่องเรียกดูภาพจากกล้องฯ, เครื่องแม่ข่ายสำหรับบริหารจัดการระบบ, อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก และเน็ตเวิร์คสวิตซ์ ติดตั้งกระจายอยู่ตามศูนย์ควบคุมฯ, ศูนย์บริหารจัดการ และห้องควบคุมกล้องฯ เป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีการบริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในบางส่วน ที่ติดตั้งในตู้ใส่อุปกรณ์ Network กระจายตามพื้นที่กรุงเทพมหานคร เช่น ทางแยก สะพานลอย ซอยอันตราย ตลาด จุดเปลี่ยนถ่ายในการเดินทางและจุดเสี่ยงภัยต่างๆ ประตูระบายน้ำ โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ห้องสมุดประชาชน สถานีตำรวจ กองรักษาการณ์ประจำพระราชฐาน เป็นต้น ซึ่งเป็นการยากที่จะมีการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของอุปกรณ์บริหารจัดการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) และในปัจจุบันมีผู้ใช้งานทั้งจากภายในและจากภายนอกสำนักการจราจรและขนส่ง ตลอดจนภัยคุกคามระบบเครือข่ายจากภายนอกมีเพิ่มมากขึ้น การแทรกแซงเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) สามารถทำได้ง่าย ทั้งจากบุคคลภายนอกและบุคคลภายใน อีกทั้ง จากการทำงานปัจจุบันพบว่าอุปกรณ์ที่ใช้บริหารจัดการในระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) มีฐานเวลาไม่ตรงกัน ทำให้การ Synchronized เรื่องเวลาและเหตุการณ์คลาดเคลื่อน มีการเข้าถึงได้จากหลากหลายช่องทาง โดยไม่มีการควบคุม ที่ดี การเข้าถึงอุปกรณ์เครือข่ายหลักทางกายภาพเป็นไปโดยง่ายและไม่มีการตรวจสอบ และการติดตามหาผู้กระทำมารับผิดชอบได้ยาก แก้ไขเปลี่ยนการตั้งค่าการทำงานของอุปกรณ์ผิดพลาดทำให้ระบบมีปัญหาได้ อีกทั้ง ปัจจุบันระบบของกรุงเทพมหานครขยายใหญ่ขึ้น โดยไม่มีการจัดระเบียบหรือปรับปรุงการใช้งาน IP Address ให้มีประสิทธิภาพตาม เนื่องจากยังไม่มีระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค (Security Network) | - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโครงสร้างพิ่นฐานด้านระบบ เครือข่ายของกรุงเทพมหานคร โดยศึกษา ออกแบบ และแกํไข ระบบเครือข่ายภายในกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้ถูกต้อง ตามหล้กมาตรฐาน - เพี่อฟ้องทันและรักษาความปลอดทัยของระบบเครือข่าย เทคโนโลยีและข้อมูลของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) - เพี่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบในการเฝัาระวังรักษาความปลอดทัย ของเครือข่ายเน็ตเวิร์ค สามารถปฏิบตการความมั่นคง ปลอดทัย และเฝัาระวังความปลอดทัยด้านระบบเครือข่ายพร้อมเครี่องมีอ ในการบริหารวัดการ Hardware และ Software ที่เป็นมาตรฐาน สากล สามารถรองรับการเฝัาระวังและตอบสนองฟ้ญหาด้าน ความปลอดทัยของระบบเครือข่ายได้ตลอด 24 ชั่วโมง | - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย สำนักการจราจรและขนส่ง | 19,757,800.00 | 0.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
195 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบ web portal กรุงเทพมหานคร | เพื่อให้การบริการระบบเว็บไซต์กรุงเทพมหานครและเว็บไซต์หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร มีเทคโนโลยีที่เป็นปัจจุบันเป็นช่องทางหลักในการสื่อสารกับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพระบบ web portal กรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของการปรับปรุงโครงสร้าง การทำงานของระบบและรูปแบบการทำงานที่ต้องเข้าถึงระบบ Social Media และรองรับการทำงานลักษณะ Web Service ซึ่งเป็นการออกแบบเว็บไซต์ในยุคแห่งการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน รวมถึงระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยและการตรวจสอบระบบเว็บไซต์ | 1.เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการทำงานของระบบ web portal กรุงเทพมหานคร (Web Server Architecture) ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อปรับปรุงรูปแบบการทำงานของระบบ web portal กรุงเทพมหานคร (Application Architecture) ให้สามารถเข้าถึงระบบ Social Media และรองรับการทำงานลักษณะ Web Service 3.เพื่อตรวจสอบสถานะการทำงานของเว็บไซต์ที่อยู่ภายใต้ระบบ web portal กรุงเทพมหานคร | 1.เว็บไซต์กรุงเทพมหานครและหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร สามารถเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วผ่านอุปกรณ์ Smart Device 2.ข้อมูลของเว็บไซต์สามารถเชื่อมโยงไปยัง Social Media ต่าง ๆ ได้ เช่น Facebook , Twister , Instragram เป็นต้น 3.ปรับปรุงโครงสร้างและรูปแบบของข้อมูลระบบ web portal ให้สามารถรองรับการจัดทำ Web Service 4.มีระบบตรวจสอบสถานะการทำงานของเว็บไซต์ (Website Monitoring) อย่างน้อย ๕๐๐ เว็บไซต์ | 8,500,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 70.00 |
196 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | เพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูล | กรุงเทพมหานครได้มีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยมีศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ และเครื่องมือบริหารจัดการประสิทธิภาพสูงเพื่อรองรับระบบสารสนเทศของหน่วยงาน ดังนั้นโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องมีระบบบริหารจัดการ เพื่อตรวจสอบเหตุการณ์ ประเมินประสิทธิภาพของอุปกรณ์ สำหรับการวางแผนในการดูแลบำรุงรักษาให้เกิดความต่อเนื่องในการให้บริการและสอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของศูนย์สารสนเทศภาครัฐ กรุงเทพมหานครอยู่ระหว่างการพัฒนาศูนย์ข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นศูนย์ให้บริการของระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร มีการให้บริการที่จำเป็นสำหรับการพัฒนา การปฏิบัติงาน และการให้บริการทางด้านดิจิทัล ในลักษณะของบริการโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure as a Service : IaaS) และบริการแพล็ตฟอร์ม (Platform as a Service : PaaS) โดยแบ่งการดำเนินการเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ การสร้างศูนย์ข้อมูล การพัฒนาระบบคลาวด์ และการจัดเตรียมแพล็ตฟอร์ม เช่น ระบบฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการ แต่การดำเนินการศูนย์ข้อมูล ยังขาดเครื่องมือในการตรวจสอบระบบและควบคุมโครงสร้างพื้นฐานของศูนย์ข้อมูล | เพื่อเพิ่มระบบตรวจสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ภายในศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุมโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมยกระดับความสามารถของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครให้อยู่ในระดับ4(Cross Agency DC)ตามมาตรฐานศูนย์ข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ(Government Data Center Modernization:GDCM)ของรัฐบาล | 1.มีระบบตรวจสอบการใช้พลังงานไฟฟ้าซึ่งสามารถตรวจสอบการใช้พลังงานย่อยลงไปถึงระดับแต่ละตู้อุปกรณ์ได้ 2.มีระบบตรวจสอบคุณภาพแบตเตอรี่ของระบบสำรองไฟฟ้า เพื่อการวางแผนในการบำรุงรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.มีระบบบริหารจัดการในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถแสดงตำแหน่งอุปกรณ์ในลักษณะ ๓ มิติ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียดแบบออนไลน์ได้ | 14,211,800.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 90.00 |
197 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | ปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครได้ติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักโดยใช้สายใยแก้วนำแสงเป็นตัวกลางเชื่อมต่อกับหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ในสังกัดของกรุงเทพมหานครทั้งสำนักงานเขต 50 เขต สำนัก 16 สำนัก และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อเข้าใช้งานระบบงานสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ระบบงานทะเบียนราษฎร และบัตรประจำตัวประชาชน และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยสายใยแก้วนำแสงมีอายุการใช้งานมากกว่า 12 ปี มีสภาพเก่า ชำรุดเสื่อมสภาพ จนทำให้ด้อยประสิทธิภาพและขาดเสถียรภาพ จากเหตุผลดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อการใช้งานและการบริการประชาชนมีความล่าช้าในการเรียกใช้ข้อมูลของระบบสารสนเทศต่าง ๆ จนส่งผลให้ต้องหยุดการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ณ หน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครอยู่บ่อยครั้ง ต้องใช้ระยะเวลาแก้ไขปัญหาเพื่อให้สามารถกลับมาใช้งานได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง อีกทั้งปัจจุบันกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการพัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) พร้อมระบบคลาวด์ (Cloud System) เพื่อให้บริการระบบสารสนเทศทั้งหมดของกรุงเทพมหานคร โดยใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักส่งผ่านข้อมูลไปยังหน่วยงานต่าง ๆ จากปัญหาที่กล่าวถึงข้างต้นจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน รวดเร็ว มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลสำหรับการเรียกใช้บริการระบบสารสนเทศจากศูนย์ข้อมูลและจากระบบคลาวด์ของกรุงเทพมหานคร | เพื่อปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว | จ้างใช้บริการเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน รวดเร็ว มีเสถียรภาพในการรับส่งข้อมูลของสำนักงานเขต 50 เขต และหน่วยงานส่วนกลาง 19 หน่วยงาน | 75,012,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 80.00 |
198 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | ปรับปรุงระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ | ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการแก่บุคลากรของกรุงเทพมหานครตั้งแต่ ปี ๒๕๔๒ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันภายใต้ user@bangkok.go.th ซึ่งเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกันภายในองค์กร และหน่วยงานต่างๆ ภายนอกองค์กร โดยให้บริการในรูปแบบของ Web Mail และ Client Mail รวมถึงให้พื้นที่ในการจัดเก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คนละ ๑ GB โดยมีการดูแลบำรุงรักษาและปรับปรุงระบบดังกล่าวเป็นอย่างดีมาโดยตลอดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการใช้งานสูงสุดแก่ผู้ใช้งานภายในองค์กร | 1.เพื่อพัฒนาให้เป็นระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หลักของกรุงเทพมหานคร รองรับการใช้งาน ของเจ้าหน้าที่ทุกคน มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง และแพร่หลายรวมถึงเกิดความสะดวกในการใช้งานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร 2.สามารถรองรับการใช้งานในรูปแบบ Web Mail และ Client Mail ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.สามารถรองรับการใช้งานในรูปแบบ Mobile Application และการเชื่อมต่อกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ปฏิทิน ตารางนัดหมายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.สามารถรองรับผู้ใช้งานได้ จำนวน 70,000 คน และมีพื้นที่ในการจัดเก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ คนละ ๑๐ GB 2.รูปแบบการใช้งานทั้งในส่วนของ Web Mail และ Client Mail เป็นไปตามมาตรฐานสากล และผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก อีกทั้งง่ายต่อการใช้งาน 3.มีระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ Mobile Application เพื่ออำนวยความสะดวก ต่อการใช้งานให้ผู้ใช้งาน สามารถใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา 4.มีระบบ Mail Engine ที่มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเสถียรภาพ 5.มีระบบป้องกันจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็น Spam ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา | 10,741,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 100.00 |
199 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | จัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุงและทดแทนระบบทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 10 เขต และ 8 โรงพยาบาล | ตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบายที่ 1 “สะอาด” (CLEAN) : บ้านเมืองสะอาด การบริหารราชการใสสะอาด ภารกิจที่ 1 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC รับคำร้องด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาตต่าง ๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำร้องและพื้นที่พิจารณาออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา และสร้างกระบวนการที่ใสสะอาด ตามมาตรฐาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ ในการดำเนินการดังกล่าวฝ่ายทะเบียนของสำนักงานเขต ต้องรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนที่จะมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับ สำนักงานเขต จำนวน 10 สำนักงานเขต ได้แก่ สำนักงานเขตคันนายาวดุสิต บางพลัด พญาไท มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว และห้วยขวาง ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน จัดซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้องทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งระบบคอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการด้านทะเบียนราษฎร ณ โรงพยาบาล จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลางโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลตำรวจโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชและโรงพยาบาลราชวิถีจัดซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 มีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี เสื่อมสภาพ มีการขัดข้องทำให้ไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง | 1.พื่อให้ทั้ง 10 สำนักงานเขต และ 8 โรงพยาบาล มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน 2.เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้อย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clearหรือ BFC | สำนักงานเขตทั้ง 10 สำนักงานเขต และ 8 โรงพยาบาล มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่มีความทันสมัย และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อให้สามารถให้บริการประชาชนด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน รวมทั้งให้บริการตามมาตรฐานของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clearหรือ BFCได้อย่างต่อเนื่อง สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้รับความพึงพอใจจากประชาชน | 49,084,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 70.00 |
200 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1. | 2563 | ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต | ปัจจุบันเครือข่ายสื่อสารรับส่งข้อมูลภายในสำนักงานเขต ที่เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) ไปยังอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ของฝ่ายต่าง ๆ รวมถึงจุดให้บริการประชาชน โดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางที่เป็นสายนำสัญญาณแบบเกลียวคู่ (UTP) ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้งานมามากกว่า 10 ปี มีสภาพชำรุดและเสื่อมสภาพ อีกทั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง(Access Switch) มีอายุการใช้งานมากกว่า 7 ปี เริ่มมีสภาพเก่า มีการชำรุดเสียหายบ่อยขึ้นและล้าหลังในความสามารถทางด้านเทคโนโลยี จากเหตุผลดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในการใช้ปฏิบัติงานและการบริการประชาชน เช่น การปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มจุดเชื่อมต่อเครือข่ายทำได้ลำบาก อุปกรณ์กระจายสัญญาณมีสภาพเก่าและล้าสมัย ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่มีเสถียรภาพ ส่งผลกระทบต่อการทำงานในวงกว้างของกรุงเทพมหานครที่ต้องการใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานด้านความเร็ว มีเสถียรภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขตเพื่อรองรับการใช้งานอย่างบูรณาการ โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุนและผลประโยชน์ของประชาชนผู้มารับบริการและความคล่องตัวรวดเร็วของบุคลากรกรุงเทพมหานครในการปฏิบัติงานและให้บริการแก่ประชาชน | พื่อปรับเปลี่ยนเครือข่ายสื่อสารข้อมูลโดยส่งข้อมูลผ่านตัวกลางแบบไร้สายแทนที่ระบบสื่อสารแบบสายนำสัญญาณแบบเดิม และปรับเปลี่ยนอุปกรณ์กระจายสัญญาณรอง (Distribute Switch) และอุปกรณ์กระจายสัญญาณปลายทาง (Access Switch) ให้รองรับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพเหมาะสมกับ การให้บริการประชาชนในปัจจุบัน | จัดหาอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารแบบไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่การปฏิบัติงานของแต่ละฝ่าย และจุดให้บริการประชาชน ทั้ง 50 สำนักงานเขต (เอกสารแนบแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารไร้สาย) | 87,672,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2021-01-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 80.00 |
201 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง สำหรับการบริหารจัดการและการบริการ ณ ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร | ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละระบบทำงานบนเครื่องแม่ข่ายของตนเองทำให้ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง จากการที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายมีจำนวนมาก มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงและต้องเปิดระบบปรับอากาศอย่างเพียงพอต่อการควบคุมอุณหภูมิห้องให้เหมาะสม ประกอบกับเครื่องแม่ข่ายที่ใช้งานอยู่เดิม มีอายุนานหลายปี มีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน มีความเสี่ยงสูงต่อการชำรุดเสียหาย อีกทั้งไม่สามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรของเครื่องให้เต็มขีดสมรรถนะและยืดหยุ่นเหมาะสมกับสภาวะการใช้งานจริงของแต่ละระบบงานในแต่ละช่วงขณะดังที่ต้องการได้เช่นเดียวกับเทคโนโลยีเครื่องแม่ข่ายในปัจจุบัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง ทำการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ข่ายให้ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดทำระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน ด้วยเทคโนโลยี Virtualization เพื่อรองรับการนำระบบสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครติดตั้งระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือน โดยมีการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน ช่วยลดขนาดพื้นที่ในการติดตั้ง จัดการ การใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาลดลง ประหยัดพลังงานไฟฟ้าทั้งนี้ยังทำให้การบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลดความซับซ้อนในการจัดการ รวมไปถึง สามารถดูข้อมูลเครื่องแม่ข่ายทั้งหมดได้สะดวกและง่ายขึ้นในหน้าจอเดียวกัน ตอบสนองต่อภารกิจพิเศษที่ต้องการ ใช้งานทรัพยากรของระบบเครื่องแม่ข่ายได้ในเวลารวดเร็ว พร้อมทั้งรองรับปัญหาการขาดแคลนเครื่องแม่ข่ายที่นำมาทดแทนเครื่องที่มีอายุการใช้งานนาน มีการเสื่อมสภาพ มีสมรรถนะต่ำไม่สามารถรองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นได้ จึงมีความจำเป็นต้องจัดหาเครื่องแม่ข่ายเสมือน เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศของหน่วยงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งเพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐเพื่อผลักดันสู่ไทยแลนด์ 4.0 | 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเครื่องแม่ข่ายเสมือนที่มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการทำงานของระบบสารสนเทศได้หลากหลายระบบ 2.เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรเครื่องแม่ข่ายเสมือนให้เป็นแบบรวมศูนย์และให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 3.เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการการใช้งานพื้นที่ที่มีจำกัดของศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดการใช้พลังงาน 4.เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องแม่ข่ายในอนาคต รวมถึง License ของ Software อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถรองรับการเติบโตในอนาคต | จัดหาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมให้กับศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานกรุงเทพมหานครในภาพรวม | 89,000,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
202 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
3.1.1 | 2563 | จัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์สำหรับศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการจัดหาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล พร้อมทั้งระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์ และโครงข่ายของศูนย์ข้อมูลขึ้น โดยในการจัดหาซอฟต์แวร์ที่ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการระบบสารสนเทศของตนเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อให้ศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานสำหรับศูนย์ข้อมูล (Data Center) ครอบคลุมทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ (Infrastructure as a Service : IaaS) และซอฟต์แวร์ Platform as a Service (PaaS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร | เพื่อให้ศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมีซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่จำเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบเป็นไปตามมาตรฐานสากลและรองรับความต้องการใช้งานของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.จัดหาซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่จำเป็นต้องใช้ในระบบการบริหารจัดการและการให้บริการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของศูนย์ข้อมูลของกรุงเทพมหานคร 2.จัดหาซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับศูนย์ข้อมูล 3.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสำหรับศูนย์ข้อมูล 4.จัดหาซอฟต์แวร์ระบบตรวจสอบและเฝ้าระวังประสิทธิภาพการให้บริการ อุปกรณ์และเครือข่ายของศูนย์ข้อมูล 5.จัดหาซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารจัดการคอมพิวเตอร์แบบศูนย์กลาง | 84,401,900.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-29 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 90.00 |
203 | 4.0.3. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
3.1. | 2560 | จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 30,000,000.00 | 30,000,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
204 | 4.0.3. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ดำเนินงานติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานคร รวมอุปกรณ์การทำงาน ทั้ง 46 หน่วยงาน ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1 เพื่อบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ในพื้นที่สำนักงานเขตพระนคร และสำนักงานเขตดุสิต ให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2 เพื่อซ่อมแซมบำรุง ดูแล รักษา ระบบโทรทัศน์วงจรปิดให้ครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุ การรื้อย้ายสาธารณูปโภค ที่มีผลกระทบต่อระบบโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอดเวลา 3 จัดหาเอกชนที่มีประสบการณ์อย่างผู้ชำนาญการพิเศษมาดำเนินการบำรุงรักษาระบบโทรทัศน์วงจรปิดของกรุงเทพมหานคร | เพื่อดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายสื่อสารของกรุงเทพมหานครให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | 8,400,000.00 | 8,400,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
205 | 4.0.3. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
3.1. | 2560 | บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด(CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ) เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถทำงานร่วมกับกองบังคับการตำรวจจราจรเพื่อบริหารการจราจรของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องได้ โดยให้มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)เพื่อการบริหารจัดการจราจรของกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 | 11,300,000.00 | 11,300,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
206 | 4.0.3. ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก |
3.1. | 2560 | โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร | สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) ดังนั้นเพื่อให้การทำงานของระบบและอุปกรณ์ของโครงการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การใช้งานโดยช่างผู้ชำนาญพิเศษ | 1. เพื่อให้โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ใช้งานได้ดีตลอดเวลา 2. จัดหาผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ ความชำนาญงานพิเศษ ในการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร 3. เพื่อดูแล บำรุงรักษา โครงการบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ให้ครอบคลุมถึงกรณีอุบัติเหตุ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเหตุการณ์ | ดูแลบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อตรวจสอบและสั่งการแก้ไขปัญหาการจราจร ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 ถึง กันยายน 2560 | 8,900,000.00 | 8,900,000.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
207 | 9.0.1. ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน |
3.1. | 2560 | การประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครผ่านโทรทัศน์วงจรปิด | การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) | การประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์วงจรปิด เพื่อเผยแพร่ภารกิจ นโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) | 150 ครั้ง | 0.00 | 0.00 | ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
208 | 9.0.4. ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน |
3.1.1 | 2560 | โครงการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร | กรุงเทพมหานครจะมีฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลถนน สะพาน อาคาร การควบคุมงานก่อสร้าง และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาบริหารจัดการด้านงบประมาณและเพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองมหานครที่น่าอยู่ โดย 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. นำเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ของสำนักการโยธา และบูรณาการให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลบนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศบนแผนที่ของกรุงเทพมหานคร 2. พัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และมีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการภายในสำหรับให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่ภายใต้หน่วยงานของสำนักการโยธาและหน่วยงานภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ฝึกอบรมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในด้านการใช้งานระบบการบริหารงานโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานระบบและข้อมูลที่มีอยู่บนเทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ลงนามสัญญาแล้วเสร็จ | 5,000,000.00 | 0.00 | สํานักการโยธา | 2016-10-01 00:00:00 | 2018-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
209 | 9.0.3. ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน |
3.2.1 | 2560 | โครงการติดตั้งระบบวิทยุสื่อสารเคลื่อนที่แบบดิจิตอล (Digital Trunked Radio System) | 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี | 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น | 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ | 291,233,000.00 | 289,896,750.00 | สํานักการจราจรและขนส่ง | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | กำลังดำเนินการ | 75.00 |
210 | 9.0.3. ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน |
3.1.1 | 2560 | โครงการปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ | ศูนย์คอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์คอมพิวเตอร์หลักสำหรับรองรับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่ายสื่อสาร และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ระบบงานสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้ต่อเนื่องตลอดเวลา โดยต้องมีระบบปรับอากาศที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่ส่งผลให้เกิดปัญหากับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงต้องมีระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าได้เพียงพอต่อความต้องการใช้งานของทุกอุปกรณ์ แต่ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของหน่วยงาน/ส่วนราชการต่างๆ นำมาติดตั้งเพิ่มขึ้นจำนวนมากตามการเพิ่มของระบบงานสารสนเทศและการขยายระบบเครือข่ายสื่อสาร ทำให้ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมาก และมีการปล่อยความร้อนเพิ่มขึ้นจำนวนมากเช่นกัน ศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 อุปกรณ์บางส่วนจึงมีอายุการใช้งานมาไม่น้อยกว่า 20 ปี มีสภาพเก่าประสิทธิภาพต่ำและมีขนาดไม่เหมาะสมตามการใช้งานจริงในปัจจุบัน มีการเกิดปัญหาชำรุดขัดข้องของระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าทำให้ระบบงานสารสนเทศและระบบเครือข่ายสื่อสารขัดข้องส่งผลกระทบต่อการให้บริการประชาชน นอกจากนั้นระบบป้องกันอัคคีภัยที่มีอยู่เดิมมีสภาพชำรุดไม่สามารถใช้งานได้ และไม่มีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำที่อาจทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรอันเป็นความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความเสียหายได้อย่างมาก มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ พร้อมมีระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ การป้องกันอัคคีภัย และมีระบบเฝ้าดูที่สามารถแจ้งเตือนไปยังผู้ดูแลระบบได้โดยอัตโนมัติ เพื่อสามารถแก้ไขเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงทีและต้องปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้จ่ายกระแสไฟฟ้าได้สอดคล้องกับปริมาณการใช้งานและไม่เกิดการขัดข้องบ่อยครั้งอันจะเป็นการลดความเสี่ยงต่อการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและอุปกรณ์ของระบบเครือข่ายสื่อสารเกิดความชำรุดเสียหายจากปัญหาด้านกระแสไฟฟ้า ทำให้อุปกรณ์มีอายุการใช้งานนานส่งผลให้ระบบงานสารสนเทศต่างๆและระบบเครือข่ายสื่อสารสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ | 2.1 เพื่อปรับปรุงระบบปรับอากาศ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของศูนย์ข้อมูลในส่วนที่อาจก่อให้เกิดปัญหาหรือลดทอนประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศ และติดตั้งระบบตรวจจับการรั่วซึมของน้ำ ระบบป้องกันอัคคีภัย ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ 2.2 เพื่อติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ 2.3 เพื่อปรับปรุงระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้า | ปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบบไฟฟ้าของศูนย์คอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานคร ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และป้องกันปัญหาการขัดข้องของกระแสไฟฟ้าและติดตั้งระบบที่สามารถเฝ้าดูและแจ้งเตือนสภาวะความผิดปกติได้โดยอัตโนมัติ | 10,000,000.00 | 10,000,000.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
211 | 9.0.3. ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน |
3.1.1 | 2560 | โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) | กรุงเทพมหานครได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร โดยพัฒนาโครงการจัดระบบข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ของกรุงเทพมหานคร (ระบบ MIS) ประกอบด้วยระบบงาน 13 ระบบสามารถปฏิบัติงานได้ตามหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลถึงกันมีระบบฐานข้อมูลที่ใช้งานร่วมกัน โดยมีระบบคอมพิวเตอร์เครื่องแม่ข่ายและระบบฐานข้อมูลติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ชั้น 6 อาคาร 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 (ดินแดง) ปัจจุบันการสำรองข้อมูลจัดทำเป็น Tape Backup โดยเก็บไว้ที่กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ 1 ชุด ส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องแม่ข่าย (Server) ต่าง ๆ ไม่มีเครื่องสำรองซึ่งหากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ แผ่นดินไหว การชุมนุมทางการเมือง เป็นต้น จะทำให้ไม่สามารถให้บริการระบบงานดังกล่าวได้ ดังนั้น เพื่อให้การบริการประชาชนและการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ แม้จะเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องมีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site) | ๑.มีระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)เพื่อให้ระบบสารสนเทศหลักของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ 1. ระบบรายได้ 2. ระบบการเงิน 3. ระบบบัญชี 4. ระบบงบประมาณ 5. ระบบจัดซื้อ 6. ระบบจัดจ้าง 7. ระบบบัญชีทรัพย์สิน 8. ระบบบุคลากร 9. ระบบงานเงินเดือน 10. ระบบงานเรื่องราวร้องทุกข์ 11.ระบบงานบริหารคลังพัสดุกลาง 12. ระบบงานบริหารน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น และ 13. ระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล สามารถให้บริการประชาชนแลtการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานครได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายและระบบงานที่ติดตั้ง ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ กองควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเกิดขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ 2.เพื่อป้องกันไม่ให้ระบบฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครที่อยู่ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ เกิดความเสียหาย ซึ่งอาจจะทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลกลับมาใช้งานได้อีก | 1. จัดหาระบบที่สามารถรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 2.ระบบคอมพิวเตอร์สำรองฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร (Disaster Recovery Site)สามารถทำงานได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็วในกรณีเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ 3.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถปฏิบัติงานได้ตลอดเวลาและมีประสิทธิภาพ | 0.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2016-10-01 00:00:00 | 2017-09-30 00:00:00 | ยกเลิก | 10.00 |
รวม ->211 หน่วยงาน | 0 | 0.00 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0 | 0 | 0 |