รายงานสรุปจำนวนโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร (ระหว่าง ปี 2560 - 2563): ณ วันที่ 21/11/2024 จำนวน 571 โครงการ

ลำดับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนแม่บทไอที ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมายโครงการ งบประมาณที่ได้รับ งบประมาณที่ใช้ไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ สถานะโครงการ คืบหน้า (ร้อยละ)
1 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 4.1 โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 11 11 11 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
2 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 1.2 กิจกรรมการพัฒนาการประชุมหัวหน้าหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้รับมอบหมายให้จัดการประชุมหัวหน้าหน่ายงานของกรุงเทพมหานครเป็นประจำทุกวันพฤหัสแรกของเดือน โดยในการประชุมแต่ละครั้งจะต้องจัดทำเอกสาร รายงานการประชุม และประสานหน่วยงานเพื่อจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ตลอดจนต้องใช้ความรวดเร็วในการประสานแจ้งให้องค์ประชุมและผู้เข้าร่วมประชุมในการพิจารณารับรองรายงานการประชุม และทราบถึงกำหนดการและระเบียบวาระประชุม ดังนั้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่หัวหน้าหน่วยงาน และเป็นการลดปริมาณการใช้กระดาษ ส่วนประสานนโยบาย สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจึงได้จัดนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนางานด้านการประชุมฯ โดยได้จัดทำ QR Code ในการจัดส่งรายงานการประชุมหัวหน้าหน่วยงานฯ ผ่านเว็บไซต์หนังสือเวียนกรุงเทพมหานคร และอบรมบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานสากล กิจกรรม 1. จัดทำรายงานการประชุมหัวหน้าหน่วยงานฯ ร้อยละ 100 2. จัดทำ QR Code รายงานการประชุมฯ ทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 3. จัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรมการจัดทำ QR Code รูปแบบพี่สอนน้อง จำนวน 1 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 4. จัดอบรมบุคลากรส่วนประสานนโยบายทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 5. ผลการทดสอบความรู้ในการจัดทำ QR Code ของบุคลากรที่เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 1. เพื่อพัฒนางานด้านการประชุมฯ 2. บุคลากรส่วนประสานนโยบายมีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสม 3. ลดขั้นตอนและวัสดุในการจัดการประชุม บุคลากรส่วนประสานนโยบาย มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยผ่านการอบรมและมีผลการทดสอบความรู้ในการจัดทำ QR Code ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
3 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการข้อมูลและเอกสารการตรวจสอบภายในด้วยระบบสารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
4 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
5 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบบสารสนเทศ สำนักการโยธา .. .. ร้อยละ 80 279,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 10.00
6 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,100,000.00 1,975,016.16 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
7 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 งานบำรุงรักษาระบบวิทยุสื่อสารแบบดิจิตอลกรุงเทพมหานคร 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 1 เพื่อพัฒนาระบบติดต่อสื่อสารภายในองค์กร โดยจัดตั้งเครือข่ายระบบสื่อสารแบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ทีมีเสถียรภาพ ให้สามารถครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายวิทยุสื่อสารเพื่อการประสานงาน การควบคุม สั่งการ และติดต่อสื่อสาร ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสั่งการและติดต่อสื่อสาร ด้วยสัญญาณเสียงและข้อมูลที่ถูกต้องระหว่างผู้บริหารกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และระหว่างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการด้วยกันให้เกิดประสิทธิภาพทั้งระบบ และป้องกันการรบกวนและการลักลอบดักฟังของผู้ไม่หวังดี 4 เพื่อพัฒนาระบบเครือข่าย อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถขยาย และเชื่อมต่อโครงข่ายที่มีอยู่เข้ากับโครงข่ายของหน่วยงานอื่น เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ อย่างสอดคล้องและพร้อมเพรียงกัน 5 เพื่อเพิ่มระดับการให้บริการของหน่วยงาน และการแก้ไขปัญหาของประชาชน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1 เพื่อปรับปรุงสมรรถนะและคุณภาพของการติดต่อสื่อสาร ด้วยโครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2 ขยายขอบเขตการใช้งานของระบบการติดต่อด้วยวิทยุสื่อสารให้กว้างขึ้นและโครงข่ายมีความเป็นส่วนตัว (Private Network) มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะภารกิจรับผิดชอบในปัจจุบันของหน่วยงานที่บริหารงานในพื้นที่กรุงเทพมหานครตลอดจนถึงสามารถขยายระบบ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนภารกิจรับผิดชอบของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 ด้านการสื่อสารทางเสียง จากเดิมที่เป็นอนาลอกจะถูกเปลี่ยนเป็นระบบดิจิตอล ส่งผลให้การใช้งานคลื่นความถี่ (Frequency Carrier) เกิดความคุ้มค่ามากขึ้น ทั้งนี้ในการทดแทนระบบจากโครงข่ายระบบอนาลอกเดิมไปเป็นระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) นั้น สามารถทยอยทำที่ละส่วนได้ โดยที่โครงข่ายทั้งหมดยังสามารถติดต่อถึงกันได้หมด แต่อย่างไรก็ดีคุณภาพและขอบเขตการให้บริการในบางส่วนอาจจะต่างกันไป ขึ้นกับสถาปัตยกรรมของการออกแบบระบบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบโครงข่าย Digital Trunked Radio System (DTRS) ยังมีขีดความสามารถในการเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานอีกด้วย 2.2 ด้านความปลอดภัยจากการถูกลอบดักฟังการติดต่อสื่อสารจากผู้ไม่หวังดี เนื่องด้วย Digital Trunked Radio System (DTRS) ใช้เทคโนโลยีการผสมสัญญาณแบบดิจิตอลและมีการจัดสรรทรัพยากรของระบบ เช่น ความถี่หรือ ตำแหน่งตามเวลาสำหรับการขอเข้าใช้งานของผู้ใช้แต่ละราย ซึ่งมีลักษณะการออกแบบเช่นเดียวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.3 ด้านการสื่อสารข้อมูล โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) สามารถรองรับการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งทำให้สามารถรองรับการทำงานต่างๆได้หลากหลาย ซึ่งสามารถเลือกได้ตามความต้องการ เช่นระบบ SCADA หรือ Telemetry, การรับ-ส่งข้อความ (SMS) เป็นต้น 3 ด้านการสนับสนุนงานกู้ภัย และ บรรเทาสาธารณภัย โครงข่ายระบบ Digital Trunked Radio System (DTRS) มีฟังก์ชั่นสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ในลักษณะงานดังกล่าว เช่น ข้อมูลพิกัดตำแหน่ง (GPS) เพื่อแสดงผลบนระบบแผนที่ของกรุงเทพมหานครได้, การบันทึกบทสนทนา, การเฝ้าสังเกตการณ์จากส่วนควบคุมกลาง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประสานความร่วมมือไปยังฝ่ายงานต่างที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการคลี่คลายสถานการณ์เสี่ยงภัย ณ ขณะนั้นได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 4 เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพความคล่องตัวในการแก้ปัญหาจากทรัพยากรโครงข่ายระบบที่ไม่เพียงพอ เป็นประเด็นปัญหาซึ่งพบบ่อยโดยเฉพาะการใช้งานในกรณีฉุกเฉินจากโครงข่ายระบบอนาลอกดังเดิม เช่น ปัญหาการลักลอบใช้คลื่นความถี่วิทยุ การจัดชั้นความลับและ ปัญหาพื้นที่ครอบคลุมสัญญาณไม่เพียงพอ 34,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
8 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลด้านสาธารณภัยของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลหลักของสำนักฯ และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อนำไปพิจารณาสั่งการได้ เพื่อให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักฯ ให้สามารถพิจารณาสั่งการ และเป็นประโยชน์ในการนำฐานข้อมูลไปใช้ได้ มีฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักฯ และสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
9 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
10 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 กิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือ เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนามหานครอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเห็นถึงความสำคัญในการกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาพื้นที่กรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ ให้สอดคล้องกับแนวทางตามประกาศคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ 1/ 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมิน คุณสมบัติ วิธีการและกระบวนการในการพิจารณาการเป็นเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจึงได้จัดทำกิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนามหานครอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเป็นการศึกษาข้อมูลจากการทดลองดำเนินการในพื้นที่จริง ในการเตรียมความพร้อมของการพัฒนาพื้นที่สู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการสร้างเสริมความร่วมมือ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการระดมความคิดเห็นและกรอบแนวทางการพัฒนาพื้นที่ให้ตรงกับความต้องการและศักยภาพของพื้นที่ กำหนดเลือกพื้นที่เริ่มต้นของการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์จากการนำข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกรุงเทพมหานคร ซึ่งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการในแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564ต่อไป 2.1 เพื่อศึกษาการพัฒนาเมืองสู่มหานครอัจฉริยะ ด้วยการสร้างความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2.2 เพื่อศึกษาและคัดเลือกพื้นที่เริ่มต้นในการดำเนินการพัฒนาสู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 2.3 เพื่อจัดทำแผนเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 3.1 มีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมความคิดเห็นต่อการพัฒนาเมืองสู่มหานครอัจฉริยะ 3.2 มีการศึกษาและเลือกพื้นที่เริ่มต้นเพื่อดำเนินการพัฒนาสู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 3.3 มีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นมหานครอัจฉริยะ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
11 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการเก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดจะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลักที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
12 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การบันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล (ทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล) เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2506 - 2542 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2506-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นฝ่ายทะเบียนได้มีการ ตั้งแต่ปี 2506-2546 จำนวน18,256 ราย ฉะนั้นฝ่ายทะเบียนจึงแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2514-2522 จำนวน 5,976 ราย ช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2506-2513 จำนวน 6,497 ราย 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อสามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที 3. เพื่ออำนวยความสะดวก และความรวดเร็วให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 4. เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเก็บช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2514-2522 จำนวน 5,976 ราย 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
13 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ///////// ///////// ///////////// 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
14 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ นโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร มุ่งเน้นการบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่าง ๆ 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ดำเนินการตามเป้าหมายตามที่กองงานผู้ตรวจราชการ กรุงเทพมหานครกำหนด (ประเมินความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
15 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า "การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการประจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน" การปรับปรุงคุณภาพให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่าางมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน 2.การบริหารราชการมีเป้าหมายสุดท้าย คือ ทำให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ซึ่งพยายามให้เกิดความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล ฯลฯ ล้วนแต่ต้องการให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ หากปฏิบัติงานแล้วผู้รับบริการไม่พึงพอใจยังไม่นับว่ามีการปฏิบัติงานและการบริหารราชการได้ตามเป้าหมายอย่างแท้จริง การวัดความพึงพอใจจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
16 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2.1 2563 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
17 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
18 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล หน่วยงานมีการจัดทำฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด มีฐานข้อมูลของสำนักงานเขตคลองสาน ตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
19 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตมีการรวบรวมข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ลงใน ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) และมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) อย่างเป็นระบบ มีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน มีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
20 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ข้อมูลต่างๆ ทีเกิดจากการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนมีจำนวนมาก ที่เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและได้มีการรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ แต่ยังไม่ได้มีการรวมเป็นฐานข้อมูลเดียว ทำให้การนำมาใช้ประโยชน์จากข้อมูลไม่เต็มประสิทธิภาพ เพื่อสนองนโยบาลประเทศไทย 4.0 กรุงเทพมหานคร ได้กำหนดเป้าหมายสำคัญในการมอบหมายให้ทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครรวมถึงถึงสำนักงานเขตสาทรนั้นจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ขึ้น เพื่อรองรับตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ มิติที่ 4 การพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภพในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต สำนักงานเขตสาทรมีฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
21 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
22 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
23 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 แผนพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตบางคอแหลม ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลให้สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการวางนโยบายในอนาคต ฐานข้อมูลจำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
24 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การจัดทำฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูล ตามแผนการพัฒนาข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
25 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 ก่อสร้างอาคาร ค.ส.ล.3 ชั้น โรงเรียนสุเหร่าซีรอ (ราษฎร์สามัคคี) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 ได้กำหนดให้การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะจะมีผลการพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญหา อารมณ์ และสังคม โรงเรียนจึงเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของนักเรียน ปัจจุบันสภาพอาคาร ห้องเรียนบางส่วนชำรุดทรุดโทรมเนื่องจากใช้งานมานาน และมีไม่เพียงต่อ จึงจำเป็นต้องก่อสร้างอาคารเพิ่มขึ้น เพื่อให้พร้อมใช้งานตลอดเวลาและเพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน 1. เพื่อให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม 2. เพื่อให้มีอาคารเรียนสวยงาม - ก่อสร้างอาคาร ค.ส.ล 3 ชั้น โรงเรียนสุเหร่าซีรอ (ราษฎร์สามัคคี) 3,281,000.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 ชะลอ 67.00
26 0.0.0.
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขต ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
27 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบจากข้อมูลใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 32 ทวิ ประกอบกับกฎกระทรวงกำหนดประเภทอาคารที่ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบ พ.ศ. 2548 กำหนดให้อาคารสาธารณะ 9 ประเภท โดยการพิจารณาคัดแยกจากใบอนุญาต อ.1 และใบรับแจ้ง กทม.6 หรอื ยผ.4 ที่กองควบคุมอาคารออกระหว่าง พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 โดยฐานข้อมูลมีข้อมูลเลขที่ใบอนุญาต ใบรับแจ้ง ชื่อเจ้าของอาคาร ที่ตั้งอาคาร พิกัดอาคาร ลักษณะและการใช้สอยอาคารเป็นต้น จัดทำฐานข้อมูลอาคารสาธารณะ 9 ประเภท พร้อมผลการประเมินผลความเสื่ยงของอาคาร ร้อยละ 80 ของจำนวนใบอนุญาต อ.1 และใบแจ้ง กทม.6 หรือ ยผ.4 ของกองควบคุมอาคาร ระหว่างปี พ.ศ.2557-พ.ศ.2559 ที่ได้รับการพิจารณาคัดแยกเพื่อจัดทำฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
28 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2560 โครงการจัดหาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ (กสน.) กรุงเทพมหานครประสบปัญหาน้ำท่วมขังจากฝนตกในพื้นที่อยู่บ่อยครั้ง ทั้งท่วมขังในซอยต่างๆ และในถนนสายหลัก ซึ่งในปัจจุบันสำนักการระบายน้ำได้มีการจัดทำระบบติดตามตรวจวัดสภาพน้ำครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งข้อมูลปริมาณฝน ระดับน้ำ อัตราการไหล และระดับน้ำท่วมบนถนน แต่ยังขาดเครื่องมือประมวลผล วิเคราะห์และสั่งการ สำรหับการจัดการระบายน้ำที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นสำนักการระบายน้ำจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำแผนหลักการพัฒนาระบบจัดการการระบายน้ำเชิงรุก เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการนำเครื่องมือทีมีอยู่เดิมมาพัฒนาเพิ่มเติมให้ครบสมบูรณ์ มีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่สำหรับใช้ในการควบคุม ติดตาม คาดการณ์ได้ เพื่อจัดหาระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักการระบายน้ำ ซึ่งส่งผลต่อภารกิจด้านการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้มีประสิทธิภาพ มีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการน้ำ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ไม่ได้รับงบประมาณ 1.00
29 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 16.กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร จาก กองควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคาร 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
30 1.0.3.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 5.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างดัดแปลงรื้อถอนอาคารโดยการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
31 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2561 7.จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560 - กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 จัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอรับใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ช่วงเดือนตุลาคม 2560-กรกฎาคม 2561 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
32 1.0.5.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร (กสอ.) (ข้อบัญญัติฯ) กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสําคัญในการควบคุมกํากับดูแลการสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับอาหารให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายว่าด้วยอาหาร ในสถานประกอบการอาหารในกรุงเทพมหานคร ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตลาด และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอาหารอยู่บ่อยๆ มีทั้งผู้ประกอบการรายใหม่ เลิกกิจการ และเปลี่ยนแปลงข้อมูลของสถานประกอบการอื่นๆ โดยเป็นการปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ทั้ง ๕๐ สํานักงานเขต ประกอบด้วยภารกิจที่ต้องดำเนินการทั้งในส่วนของการตรวจประเมินสุขลักษณะสถานประกอบการ การตรวจเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ การส่งเสริมความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้สัมผัสอาหารตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข การตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปัจจุบันการดำเนินงานดังกล่าวนั้น ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกันอย่างเป็นระบบ ทำให้การปฎิบัติงานมีความยากลำบาก และทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ประกอบกับระบบสารสนเทศอาหารปลอดภัยเดิมได้ใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ มีการเสื่อมสภาพ และเทคโนโลยีไม่รองรับกับจำนวนข้อมูลที่มากขึ้นและความต้องการใช้งานของเจ้าหน้าที่ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหารขึ้นตามสภาพสังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบเดียว ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน และเป็นการจัดการระบบฐานข้อมูลให้มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านการสุขาภิบาลอาหารให้มีศักยภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในอนาคตได้ดีขึ้น กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และเชื่อมโยงข้อมูลด้านการสุขาภิบาลอาหารให้เป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการบริหารจัดการ ควบคุม จัดทำรายงาน วิเคราะห์วางแผนการปฎิบัติงาน และแผนงบประมาณในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร -//- 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานครได้ 2. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลในการดำเนินงานตามภารกิจด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกองสุขาภิบาลอาหาร และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต -//- พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสุขาภิบาลอาหารที่มีข้อมูล ครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ-//- 5,750,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
33 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
34 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2560) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
35 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2562 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศช่วยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใช้ในการวางแผน ตัดสินใจ และกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สาหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกาหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้าหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กาจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ามันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย 28,000,000.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
36 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภทที่ผ่านการรับรองตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารจากสำนักงานควบคุมอาคาร (ได้ อ.6 ปี พ.ศ. 2561) การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด การจัดทำแผนที่แสดงตำแหน่งอาคาร หมายถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ในพื้่นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนลดความเสี่ยงในการใช้อาคาร พื้นที่เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย 9 ประเภท ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลระบุอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายอาคารตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
37 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 กิจกรรม การจัดทำฐานข้อมูลอาคารที่ยื่นขอใบรับรองการตรวจสอบอาคาร (แบบ ร.1) ตรวจสอบและดำเนินการกับอาคาร ที่ถูกประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย การตรวจสอบอาคาร คือ การตรวจสอบสภาพอาคารด้านความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร โดยผู้ตรวจสอบอาคารตามมาตร 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ใช้ประโยชน์อาคาร อาคารที่ต้องตรวจสอบตามกฎหมาย 9 ประเภท ได้แก่ 1. อาคารสูง 2. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ 3. อาคารชุมนุมคน 4. โรงมหรสพ 5. โรงแรม 6. สถานบริการ 7. อาคารอยู่อาศัยรวม 8. โรงงาน 9. ป้าย 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
38 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 การจัดทำระบบสารสนเทศการควบคุมอาคาร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร ระยะที่ 1 และระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานควบคุมอาคาร จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำข้อมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศอาคาร 9 ประเภท พืนที่ 12 เขต ประกอบดัวย เขตสาทร เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตบางนา เขตพระโขนง เขตสวนหลวง เขตห้วยขวาง และเขตบางพลัด จัดทำฐานข้อมูลอาคาร 9 ประเภทที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความเสี่ยงอาคารที่ได้รับการตรวจสอบ และจัดทำระบบข้อมูลอาคารที่ไม่ได้ถูกกฎหมายตรวจสอบและเข้าประเมินความเสี่ยงได้ 51,872,400.00 15,342,000.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 76.68
39 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณ๊ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatmentplant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
40 1.0.2.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจ้างเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการจัดการข้อมูลมูลฝอย สำหรับใช้ในการวางแผนตัดสินใจและกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร - เพื่อให้มีระบบสารสนเทศข้อมูลปริมาณมูลฝอยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน (การชั่งน้ำหนักมูลฝอยแบบอัตโนมัติ) ณ ศูนย์กำจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานครทั้ง 3 แห่ง และสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อยรัชวิภา และระบบงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เส้นทางการเดินรถเก็บขนมูลฝอย ข้อมูลรถเก็บขนมูลฝอย ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย - เพื่อให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผน ตัดสินใจ และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร 62,100,000.00 62,100,000.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
41 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการ ที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวมให้เหมาะสมกับแหล่งกำเนิดน้ำเสียในแต่ละพื้นที่และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการน้ำเสียของอาคารประเภท ก และ ข ตามกฎหมายส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพระนคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
42 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญเช่นกัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของแหล่งกำเนิดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำ สำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามประเภทแหล่งกำเนิด ได้แก่ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมจำพวกที่ 2 และจำพวกที่ 3 กลุ่มอาคารบางประเภทและบางขนาด หรืออาคารประเภท ก และ อาคารประเภท ข ที่ดินจัดสรรประเภท ก ที่ดินจัดสรรประเภท ข รวมถึงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ก และ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงประเภท ข อีกทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้การดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย ในพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
43 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัด น้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐาน ที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
44 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อน จากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เห็นผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือ ความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัด มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้ แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูล เช่น จำนวนระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ/ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผนกำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้น ๆ 1 เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตบางรัก ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2 เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2 ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
45 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตยานนาวา ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากร ประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่ม ให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตยานนาวา จึงได้จัดทำโครงการสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา เพื่อให้มีฐานข้อมูลจำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียต่อไป 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่างๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตยานนาวา และกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมายรวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวา 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตยานนาวาได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
46 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
47 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ กรุงเทพมหานครมีนโยบายการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆของแหล่งกำเนิดน้าเสียสถานประกอบการในพื้นที่ 50 เขตของกรุงเทพมหานครในรูปแบบเอกสารและข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลและจัดการข้อมูลในลักษณะต่างๆได้ ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2535 1.เพื่อสำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสีย 2.เพื่อการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบ้าบัดน้าเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ สำรวจและจัดท้าข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้าเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์และจัดส่งให้สำนักการระบายน้าให้ทันภายในเดือนมิถุนายน 2563 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
48 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 จัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร จากสถานการณ์น้ำเสียของแหล่งน้ำสาธารณะในปัจจุบัน มีปัญหาที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น กรุงเทพมหานครจึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ โดยพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น สำนักงานเขตบางกะปิ ได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องจัดทำฐานข้อมูล จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผนและกำหนดแนวทางการดำเนินงานต่อไป เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางกะปิ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางกะปิ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำในเขตบางกะปิที่มีการบำบัดน้ำเสีย โดยประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
49 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียพื้นที่เขตมีนบุรี 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ เพื่อเตรียมการจัดเก็บค่าบำบัดนำ้เสียของกรุงเทพมหานคร 1. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล ที่สำนักระบายน้ำกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้ สำนักการระบายน้ำให้ทันภายในเดือนกรกฎาคม 2563 ( 80 คะแนน) 2. มีการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัด น้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ (20 คะแนน) มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็น แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
50 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) เป็นการบูรณาการสำนักระบายน้ำเพื่อประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
51 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ -ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสพปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ -สำนักงานเขตคลองสานจึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ในพื้นที่เขตคลองสานเพื่อสนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร -เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตคลองสาน เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย -เพื่อให้สามารถรวบรวมประเมินผล และใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำทั่วทั้งกรุงเทพมหานครเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ผู้ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้ข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
52 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันแหล่งน้ำถูกแหล่งกำเนิดน้ำเสียสถานประกอบการปล่อยนำ้เสียลงแหล่งน้ำ เพื่อควบคุมไม่ให้น้ำเน่าเสียจึงต้องมีการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียขึ้น ให้มีการบำบัดก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำ เพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของแหล่งกำเนิดนำ้เสียสถานประกอบการในพื้นที่ มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
53 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าว ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผล ในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ดังนั้น สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงได้จัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น 1.เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 2.เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ เพื่อให้มีข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ สนับสนุนการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล และประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแก่ผู้ประกอบการเป้าหมาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
54 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะเป็นปัญหารที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้วความพยามยามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งแหล่งน้ำดังกล่าวโดยการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย เพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียเบื้องต้นหรือสนับสนุนให้มีระบบบำบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐาน ซึ่งแนวทางดังกล่าวจำเป็นจะต้องมีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำ ประเภทและขนาดของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำเพื่อจัดทำฐานข้อมูลในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
55 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีคูณความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณี ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็สนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัด น้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด น้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในพื้นที่เขตสาทร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในพื้นที่เขตสาทร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plant และประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียจากสถานประกอบการ และเป็นการบูรณาการร่วมกับสำนักการระบายน้ำเพื่อให้สามารถใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวในการวางแผน บริหารจัดการในด้านการจัดการคุณภาพน้ำใน 21 เขตการปกครองที่มีการบริการบำบัดน้ำเสียรวมเป็นอย่างน้อยและขยายไปให้ครบทั้ง 50 เขตการปกครอง (ทั่วทั้งกรุงเทพมหานคร) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2019-10-01 00:00:00 2020-06-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
56 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูงประกอบกับมีแม่น้ำ ลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้นได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางที่จะลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าวโดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสียเพื่อลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้แหล่งน้ำธรรมชาติ ในที่นี้คือความพยายามที่จะให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้สามารถควบคุมกระบวนการให้น้ำผ่านการบำบัดมีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้ง ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลคือ จำนวนระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ ชนิดของระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการวางแผน กำหนดแนวทาง จึงเป็นที่มาของโครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่นปริมาณน้ำเสีย คุณสมบัติ จำนวนหรือปริมาณของระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลในการประยุกต์ใช้ ในการวางแผนด้านการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับแหล่งน้ำสาธารณะ ลดการเกิดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก เช่นระบบ Onsite Treatment plantและประกอบการพิจารณาดำเนินการในเรื่องการจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่แหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
57 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการ การจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง และมีสถานประกอบการจำนวนมาก ส่งผลให้มีการใช้น้ำในปริมาณมากเช่นกัน แต่ปัจจุบันยังพบมีการลักลอบปล่อยน้ำที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ โดยเฉพาะน้ำที่ถูกปล่อยจากสถานประกอบการ ก่อให้เกิดน้ำเสียเป็นวงกว้าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน โดยใช้แนวทางการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย คือพยายามให้ผู้ประกอบการมีการบำบัดน้ำเสียขั้นต้น (Pretreatment) หรือกรณีผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเอง ก็จะสนับสนุนให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ทั้งนี้แนวทางในการดำเนินการหรือกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย จำเป็นต้องมีฐานข้อมูล ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จึงจัดทำโครงการ การจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ขึ้น เพื่อสำรวจสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ปริมาณน้ำที่ใช้ในทุกกิจกรรม และดูแลควบคุมให้มีกระบวนการบำบัดน้ำให้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ 1. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตจอมทอง ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม, อาคารประเภท ก และประเภท ข, ที่ดินจัดสรร และสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาดำเนินการในเรื่อง การจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการบำบัดน้ำเสีย มีฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย อย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
58 1.0.1.
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของผู้ประกอบการ ปัญหาน้ำเน่าเสียของแหล่งน้ำสาธารณะ เป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาในเรื่องความหนาแน่นของประชากรสูง ประกอบกับมีแม่น้ำลำคลองที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครได้รับการปนเปื้อนจากตอนบนของประเทศมาอย่างรุนแรงแล้ว ความพยายามที่จะลดความสกปรกหรือการปนเปื้อนของแหล่งน้ำดังกล่าวไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลในระยะเวลาอันสั้น ได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงมีแนวทางในการลดความสกปรกที่จะเพิ่มให้กับแหล่งน้ำดังกล่าว 1. เพื่อสำรวจข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขต ให้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักงานเขตและกรุงเทพมหานครในการพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ ลดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิด ดูแลตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียให้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งประกอบการพิจารณาดำเนินการในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสีย 2. เพื่อประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียส่งให้สำนักการระบายน้ำ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลภายในเดือนมิถุนายน 2563 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
59 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมสำรวจจัดทำฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 อาคาร 1 และอาคาร 2 เนื่องจากอาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และอาคาร 2 มีปริมาณการใช้อุปกรณ์แสงสว่างเป็นจำนวนมาก และบางจุดมีวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่าทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ จึงดำเนินการสำรวจจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่อไป 1. เพื่อทราบถึงจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างทั้งหมดที่อยู่ภายในอาคาร 1 และอาคาร 2 2. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินการเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน มีฐานข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างของสาลาว่าการกรุงเทพมหานคร อาคาร 1 และ 2 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
60 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
61 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2560 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น จำนวน ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้า ระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
62 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลไม้ยืนต้นกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญ ในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้ ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม จึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงาน และสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป 1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” 2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
63 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
64 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 โครงการเพิ่มช่องทางการรับและแก้ไขเรื่องร้องทุกข์ (โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) -เขตหลักสี่ อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขต ที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่สำคัญต่างๆ เช่น ศูนย์ราชการ มีโครงข่ายการคมนาคม เช่น ถนนแจ้ง-วัฒนะ ถนนวิภาวดีรังสิต รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่ส่วนต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ทำให้เกิดการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ว มีการสร้างคอนโดมิเนียม อาคารพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่เขตหลักสี่ มีการเดินทางสัญจรของผู้คนในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น การอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาทำงาน หรือการเดินทางเข้าออกเมือง ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การจราจร ความสะอาด ความสงบเรียบร้อย เป็นต้น การเข้าแก้ปัญหาในพื้นที่อย่างเร่งด่วนในด้านกายภาพ ไม่ว่าจะเป็นพื้นถนน/ทางเท้าชำรุด ปัญหาต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่เขตล้ม/โค่น ปัญหาฝาท่อระบายน้ำ/อุปกรณ์สาธารณูปโภคชำรุด ปัญหาน้ำท่วมขัง ปัญหาท่อระบายน้ำส่งกลิ่นเหม็น และอีกหลายๆปัญหาที่ส่งผลต่อความเดือดร้อนของประชาชนและนักท่องเที่ยว จึงมีความจำเป็นในการสร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนและกลุ่มนักท่องเที่ยว สมกับเป็นมหานครแห่งความปลอดภัยและมหานครแห่งความสุข 1. เพื่อแก้ปัญหาทางกายภาพที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแล เฝ้าระวังและแจ้งปัญหาที่พบเห็น 3. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำคัญของสำนักงานเขต 1. สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ที่ได้รับแจ้งร้อยละ 80 2. ระยะเวลามาตรฐานในการแก้ไขปัญหาที่ได้รับแจ้งผ่านเครือข่าย - กรณีเรื่องดำเนินการปกติและอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขต กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไม่เกิน 3 วันทำการ 3. เกิดเครือข่าย “เพิ่มช่องทางการรับและการแก้ไขเรื่องร้องทุกข์” ในแอปพลิเคชั่น LINE จำนวนไม่น้อยกว่า 100 ราย 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
65 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2561 กิจกรรมนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อจัดเก็บข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นให้เป็นปัจจุบัน เพื่อนำพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเข้าระบบฯให้เป็นปัจจุบัน พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นเป็นประเภทสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และ ประเภทพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่ดี และนำเข้าระบบให้เป็นปัจจุบันทุกแห่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
66 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร ยานพาหนะเป็นทรัพย์สินที่ต้องใช้พลังงาน หากมีฐานข้อมูลจำนวนยานพาหนะจะช่วยในการควบคุมวางแผนการใช้พลังงานได้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรถยนต์ราชการของกรุงเทพมหานคร รายงานฐานข้อมูลรถยนต์ จำนวน 1 ฉบับ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
67 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมสำรวจ รวบรวมและพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อนำเข้าฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครโดย 50 สำนักงานเขตและสำนักสิ่งแวดล้อม พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมฯ เพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
68 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 ฐานข้อมูลไม้ยื่นต้น กรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดมีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งการปลูกดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ สำหรับข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่สำคัญในการใช้วางแผนการดำเนินการด้านการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดหรือระบบการจัดการใดที่ดำเนินการให้สามารถเก็บรวบรวมต้นไม้ในรูปแบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการเข้าถึงข้อมูลต้นไม้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและให้บริการข้อมูลแก่ผู้สนใจ กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมจึงได้มีหนังสือถึงกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการพัฒนา “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพัฒนาไว้บนระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้นสำหรับการใช้งาน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” เกิดประสิทธิภาพ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของต้นไม้แต่ละชนิด เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต้นไม้แต่ละชนิดในโปรแกรมฯ พร้อมทั้งดำเนินการสำรวจไม้ยืนต้นรายต้นในพื้นที่จริง และนำเข้าโปรแกรมฯ เพื่อทดสอบการประมวลผลการทำงานและสามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่อไป 1 เพื่อรวบรวมข้อมูลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดสำหรับนำเข้าใน“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของ กรุงเทพมหานคร” 2 เพื่อสำรวจไม้ยืนต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อทดสอบการใช้ “โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” พัฒนา“โปรแกรมฐานข้อมูลต้นไม้ของกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1 ระบบ พร้อมสำรวจและนำเข้าข้อมูลไม้ยืนต้นในพื้นที่นำร่อง ได้แก่ สวนสาธารณะ 1 แห่ง สวนหย่อม 1 แห่ง และถนน 1 สาย เพื่อทดสอบการใช้งานโปรแกรมฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
69 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2562 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
70 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 กิจกรรมรวบรวมฐานข้อมูลต้นไม้ กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต กิจกรรมรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียว 50 เขต 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
71 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ด้วยกรุงเทพมหานครได้จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร โดยมีเป้าหมายให้แต่ละสำนักงานเขตนำพื้นที่สวนสาธารณะ สวนหย่อม สวนป่า สวนถนน และสวนบนอาคารสูง (Green Roof) ที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน มาลงในระบบฐานข้อมูลในเว็บไซด์ http://203.155.220.220/parks เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี จึงได้จัดทำ “โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2563” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจ รวบรวม ข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี มาลงในระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร และให้เป็นไปตามตัวชี้วัดเจรจาตกลงเพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อสำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ที่สำนักงานเขตราชเทวีดำเนินการเอง หรือ พื้นที่ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน 2. เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 1. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวีที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามศักยภาพของเขต 2. สำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตราชเทวี ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) 12 แห่ง ต่อปี 3. นำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่สำรวจได้ลงในระบบโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
72 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 โครงการสำรวจรวบรวมพื้นที่สีเขียวตามนิยามของฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร เนื่องจากในปัจจุบัน กรุงเทพมหานครประสบปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อมทางอากาศ ทางน้ำ เสียง ผุ่นละออง สารพิษต่าง ๆ ซึ่งจำเป็นต้องมีพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพิ้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางพลัดจีงได้จัดทำโครงการเพื่อหาพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นพื้นที่ดูดซับฝุ่นละออง ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าชคาร์บอนมอนอกไซด์จากท่อไอเสียรถยนต์ และลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2.1เพื่อดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่ 3 ในการพัฒนากรุงเทพมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อลดปริมาณฝุ่นละออง ลดภาวะโลกร้อน 2.3 เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนส่งผลให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ 2.4 เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน เป้าหมาย 3.1 พื้นที่รกร้าง ที่โล่งในศาสนสถานที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1 ไร่ ขึ้นไป 3.2 พื้นที่ทำการเกษตรเดิม 3.3 พื้นที่ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น 3.4 แหล่งน้ำ สระน้ำ หนองน้ำ บึง ซึ่งมีน้ำท่วมขัง ที่ลุ่ม คลอง 3.5 สนามกอล์ฟ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
73 2.0.1.
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
4.2. 2563 กิจกรรมนำเข้าข้อมูลพื้นที่สีเขียวโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เข้าสู่ระบบโปรแกรมการจัดการพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครให้เป็นปัจจุบัน -เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน -สำรวจและรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวแห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี และนำข้อมูลเข้าระบบโปรแกรม จัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
74 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2560 พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 0.00 0.00 สำนักการศึกษา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 28.00
75 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 20,100,000.00 0.00 สำนักการศึกษา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
76 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 กิจกรรมสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน ปัจจุบันสังคมมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีลักษณะเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้มากขึ้น ทุกคนในสังคมจำเป็นต้องมีความสนใจข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ สภาพสังคมเช่นนี้ส่งผลให้ข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคนในสังคม และเนื่องจากห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหลากหลาย โดยเฉพาะห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการศึกษาทั้งการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาตลอดชีวิต เพราะเป็นสถานที่ให้บริการประชาชนทุกเพศทุกวัยได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารความรู้ต่าง ๆ ทั้งยังส่งเสริมให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน เพื่อนำไปพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทั้งในการทำงานและการดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ 1. เพื่อสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน 2. เพื่อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน สำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของประชาชน 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
77 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2561 การจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 1.แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน (ตามกฎหมายประกันสังคม และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541) (ที่มา : กระทรวงแรงงาน) 2.กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังคมได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดี เช่น กลุ่มวินมอเตอร์ไซต์รับจ้างที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานเขต เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
78 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลทุกมิติ รวมทั้งการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุง เพิ่มเติม ข้อมูลปฐมภูมิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานผ่านระบบสารสนเทศได้อย่างครบวงจร ทำให้กรุงเทพมหานครมีศูนย์ข้อมูลกลางของข้าราชการครูฯ ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคลทุกระบบ ให้เป็นกลไกขับเคลื่อน ผลักดันให้ข้อมูลปฐมภูมิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร และเอกสารทะเบียนประวัติมีความถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปัจจุบันตลอดเวลาโดยเร็ว และเป็นช่องทางหนึ่งในการที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครจะสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญของตนเองได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลในการยกระดับสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตลอดจนวางแผนการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสม อีกทั้งสามารถรองรับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแบบองค์รวมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ และกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลประวัติการรับราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัด คือ สังกัดสำนักการศึกษา จำนวน 61 อัตรา สังกัดสำนักงานเขต 15,846 อัตรา และสังกัดสำนักพัฒนาสังคม 135 อัตรา รวม 16,042 อัตรา ที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ตามเอกสารทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ทั้งหมด ตลอดจนทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)ของลูกจ้างกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,172 คน พร้อมทั้งระบบสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 20 ระบบ อันจะทำให้สามารถขับเคลื่อนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา รวมถึงการบริหารจัดการแฟ้มทะเบียนประวัติและ ก.พ.7 ของข้าราชการครูฯ ที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จำนวนไม่น้อยกว่า 8,000 คน ที่สามารถใช้ข้อมูลจากระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บรักษาต้นฉบับไว้ 25,400,000.00 0.00 สำนักการศึกษา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
79 3.0.3.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว โดยส่วนห้องสมุดและการเรียนรู้ สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ มีหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาห้องสมุดและนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสอดคล้องกับระบบบริการห้องสมุดและการเรียนรู้แนวใหม่ ตามนโยบายการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life long learning) แต่ห้องสมุดทั้งหมดไม่มีระบบการบริการสืบค้นออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถนำเสนอนวตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองความต้องการตามวิถีชีวิตดิจิทัลในปัจจุบัน นอกจากนี้ ห้องสมุดมากกว่า 20 แห่ง ไม่มีระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ บางแห่งใช้ซอฟแวร์ห้องสมุดแพลตฟอร์มวินโดว์ให้บริการภายในห้องสมุดเท่านั้น ไม่ได้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน การจัดทำเครือข่ายให้บริการทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์พร้อมบริการสืบค้นออนไลน์เพื่อใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันระหว่างห้องสมุด ซึ่งเป็นรูปแบบของความร่วมมือในการจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ช่วยลดภาระ ลดปัญหาความซ้ำซ้อน ความผิดพลาดในการลงรายการหนังสือของห้องสมุดแต่ละแห่ง ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นข้อมูลสิ่งพิมพ์ผ่านระบบออนไลน์ เชื่อมโยงข้อมูลหนังสือและสามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ห้องสมุดทุกแห่งสามารถให้บริการสารสนเทศเชิงรุกที่ตอบสนองความต้องการรับรู้ข่าวสารของประชาชนในสังคมดิจิทัลสะดวก รวดเร็ว สามารถสืบค้น เข้าถึงข้อมูลห้องสมุดด้วยการใช้อุปกรณ์สื่อสารทั้ง สมาร์ทโฟน แท็บแลต คอมพิวเตอร์ การบริการเหล่านี้จะเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุด อย่างเท่าเทียมโดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานที่ 1. เพื่อให้เครือข่ายห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมโครงการ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและทรัพยากร ตลอดจนการให้บริการยืมคืนทรัพยากรร่วมกันได้ 2. สมาชิกห้องสมุด ประชาชนทั่วไปและบุคคลที่สนใจ สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และสามารถเข้าถึงข้อมูลของห้องสมุดทุกแห่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วางแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับให้ห้องสมุดทุกแห่งของกรุงเทพมหานครสามารถเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้แบบออนไลน์ 4. ยกระดับการดำเนินงานภายในให้คล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. เพื่อพัฒนาระบบการบริการของห้องสมุดกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการและการศึกษาค้นคว้าผ่านระบบจัดการสื่อความรู้ออนไลน์ ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 1. หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร และห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้น 36 แห่ง 2. ผู้ใช้บริการห้องสมุด จำนวนกว่า 2 ล้านคนต่อปี 3. ทรัพยากรสารสนเทศกว่า 9 แสนเล่ม 14,544,000.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 80.00
80 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2562 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2018-01-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
81 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง สืบเนื่องจากกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาการศึกษา โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อให้สอดคล้องตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา เป้าหมาย การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ รองรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร 14,375 คน และนักเรียนในสังกัดจำนวน 286,719 คน ทั่วพื้นที่ 50 สำนักงานเขต สำนักการศึกษาจึงจัดทำโครงการเช่าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยกำหนดวัตถุประสงค์การใช้และการบริหารจัดการห้องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพได้มากขึ้น 1. เพื่อพัฒนานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในทุกระดับ 2. เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมห้องคอมพิวเตอร์ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และเพื่อเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนและนักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย 3. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร รองรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป้าหมายรวม โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 437 โรงเรียน มีห้องคอมพิวเตอร์สำหรับจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพครบทุกโรงเรียน ด้านปริมาณ 1. พัฒนาห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 437 โรงเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ จำนวน 576 ห้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 21,916 เครื่อง 2. พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์สำนักการศึกษา จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ 1) พัฒนาศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 51 เครื่อง 2) พัฒนาศูนย์ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย จำนวน 1 แห่ง ด้านคุณภาพ 1. นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีองค์ความรู้และความสามารถใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีองค์ความรู้และความสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการสอนและสร้างสื่อการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 63,298,900.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
82 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 4.1 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการศึกษา ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) 0.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
83 3.0.2.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการศึกษา สำนักการศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร มีส่วนราชการภายใน 8 ส่วนราชการ ซึ่งแต่ละส่วนราชการมีข้อมูลต่างๆ มากมาย แต่ยังขาดระบบการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลในระดับฐานข้อมูลระหว่างส่วนราชการและสถานศึกษา ทำให้เกิดปัญหาด้านความถูกต้อง ความซ้ำซ้อนของข้อมูล และข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน การนำระบบบริหารข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะทำให้การเชื่อมโยงข้อมูลภายในส่วนราชการของสำนักการศึกษาและสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์และการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา สำหรับเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก และให้บริการข้อมูลในรูปแบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) 2. เพื่อให้สามารถบูรณาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาระหว่างหน่วยงานภายในสำนักการศึกษา โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับการใช้งานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาทุกมิติให้มีประสิทธิภาพ รองรับนโยบายของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อพัฒนาเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักการศึกษากับฐานข้อมูลกลางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ 1. ด้านปริมาณ สำนักการศึกษา และโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 437 โรงเรียน มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน 2. ด้านคุณภาพ 1. สำนักการศึกษาและโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน 2. โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศในการจัดการด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 18,226,400.00 0.00 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
84 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง กลุ่มแรงงานนอกระบบที่สำนักพัฒนาสังได้วิเคราะห์หรือกำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในลำดับต้นในการให้ความช่วยเหลือในช่วงปี 2561 และหน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่มเหล่านี้ได้ดีที่สุด เพื่อให้กลุ่มแรงงานนอกระบบการรับทราบสิทธิทางสวัสดิการและแหล่งเงินทุน หมายถึง การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผลักดันให้แรงงานนอกระบบกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบ/เข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายต่างๆ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความมั่นคงในการดำรงชีวิต อาทิ สิทธิในการประกันตนของแรงงานนอกระบบตามกฎหมายประกันสังคม มาตรา ๔๐ สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ สิทธิตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 : การเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) หรือกองทุนอื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สิทธิในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนทรัพยากรเพื่อการประกอบอาชีพ เช่น บริการสินเชื่อของธนาคารต่างๆ กองทุนที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของกลุ่มอาชีพ เช่น กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ฯลฯ การเข้ารับบริการของสถานธนานุบาล (โรงรับจำนำ) ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำในระดับชุมชน การส่งเสริมเรื่องการบริหารจัดการรายได้ สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน ส่งเสริมวินัยการออมเงิน และการบริหารหนี้สิน เพื่อให้แรงงานนอกระบบและประชาชนทั่วไปสามารถบริหารจัดการด้านการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
85 3.0.1.
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 ได้กำหนดแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนให้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับระดับความรู้ความสามารถซึ่งพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ โดยฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงได้จัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คิดค้นและดำเนินกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการของกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสแสดงออกทางความคิด และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 2.1 เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ 2.2 เพื่อส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ให้เป็นศูนย์กลางการประสานงานและการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อการแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์และเหมาะสม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความเสียสละ ยึดมั่นในคุณธรรม ดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข มีจิตสาธารณะร่วมพัฒนา ชุมชน สังคมและประเทศ 3.1 จ้างอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่ จำนวน 1 คน 3.2 กิจกรรมการประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตและผู้เกี่ยวข้องประจำเดือน จำนวน 20 คน จัดประชุม จำนวน 6 ครั้ง/ปี 3.3 กิจกรรม “เด็กไทยยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตฯ นักเรียน นักศึกษาจากสถานศึกษาในพื้นที่เขต พร้อมผู้เกี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ดำเนินการรวมทั้งสิ้น 50 คน 3.4 กิจกรรม “สานสัมพันธ์สภาเด็กและเยาวชนเขตบางกอกใหญ่”กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตฯ นักเรียน นักศึกษาจากสถานศึกษาในพื้นที่เขต พร้อมผู้เกี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ดำเนินการรวมทั้งสิ้น 60 คน ณ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 149,800.00 1,500.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
86 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 ปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จำนวน 50 เขต เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศที่มีประชากรอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่นในบางบริเวณ ทำให้สภาพพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่แทบจะตลอดเวลา สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำฐานข้อมูลทางด้านกายภาพต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ประชาชนและหน่วยงานราชการต่างๆ จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงแผนที่เชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยดำเนินการครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ฐานเชิงเลข (Digital Map) กรุงเทพมหานคร มาตราส่วน 1:4,000 ให้มีความถูกต้องทันสมัยและเป็นปัจจุบัน ให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า 175 ระวาง ปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลข (ข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย) ให้มีความถูกต้องและทันสมัยเป็นปัจจุบัน แล้วเสร็จร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
87 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบการเดินทางสะดวก มิติที่ 4.1 การขยายตัวตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.4 ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม ควบคุมและตรวจสอบการพัฒนาให้เป็นไปตามผังเมืองรวม ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
88 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการ สร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้กำหนดให้มีการส่งเสริม และสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการ ปลูกสร้างอาคารบ้านเรือนเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การตรวจสอบเพื่อค้นหาตำแหน่งที่ตั้งอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมาย ประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของ สำนักงานเขตตลิ่งชันประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จึงด้านจัดทำโครงการ “การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออก เลขรหัสประจำบ้านขึ้น” ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ในที่ดินและ อาคารตามข้อกำหนดผังเมืองของกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป 1.เพื่อสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน ให้เป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 2.เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคารและเลขหมายประจำบ้าน ในพื้นที่เขตตลิ่งชัน สำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3.เพื่อเป็นฐานข้อมูล ตรวจสอบเปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสาตร์และสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4.เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5.เพือนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ซึ่งปลูกสร้างพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งองอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหาและจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
89 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
90 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน - พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ - ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
91 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 70,000,000.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
92 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย 3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ 4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ 1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์ 3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี) 4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 10,000,000.00 1,497,786.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
93 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
94 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการนำข้อมูลในระบบสารสนเทศ (GIS) ของสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ของสำนักงานเขต สำนักงานเขตบางเขน ได้กำหนดตัวชี้วัด “ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน” ค่าเป้าหมายร้อยละ 100 และมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน 1 ระบบ ได้แก่ การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ของสำนักงานเขต (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน) -เพื่อให้มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ -มีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนาระบบ 1 ระบบ (การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
95 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม 1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ 2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
96 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
97 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 77.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดเลขรหัสประจำบ้านพร้อมเลขหมายประจำบ้านเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน 2.1 เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว 2.2 เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำรหับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 2.3 เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2.4 เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 2.5 เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 3.1 ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 3.2 ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
98 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
99 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
100 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศษตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
101 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
102 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน - พัฒนากฎหมายและมาตรการทางผังเมืองเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ - ผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองเตย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
103 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาต ก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล ระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องตาม ระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
104 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
105 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 70,000,000.00 13,939,960.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 56.00
106 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ค่าใช้จ่ายในการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎร ของกรมการปกครอง สำนักผังเมือง ได้จัดทำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เซ่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ซื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านผังเมือง ประกอบด้วย การวางผังเมือง การวางผังเฉพาะพื้นที่ การปรับปรุงฟื้นนฟูเมือง การจัดรูปที่ดินและการควบคุมทางผังเมือง และด้วยในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดทำ ปรับปรุง แก้ไข ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้อง มีความแม่นยำสูง และลดการซ้ำซ้อน จึงได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (ONLINE) ของสำนักทะเบียนกลางกรมการปกครอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมืองที่สำคัญ การบริหารจัดการมหานครให้มีประสิทธิภาพย่อมต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของคนทุกกลุ่ม ที่อาศัยในมหานครนั้น ๆ กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐต้องเข้าไปให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ เพื่อให้สามารถดูแลตนเองหรือดำรงชีพได้อย่างมีศักดิ์ศรีตามศักยภาพของตนเอง คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มักจะถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม และถูกละเลยการเอาใจใส่อย่างจริงจังในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความก้าวหน้าให้กับสังคม ด้วยผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (ที่มา: พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖) ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่มีการใช้ชีวิตที่ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนผู้ที่ยังมีอายุน้อย แม้ผู้สูงอายุจะต่างจากคนพิการ แต่สมรรถภาพในการมองเห็น เคลื่อนไหว ได้ยินหรือแม้แต่การคิดต่าง ๆ ก็ลดน้อยถอยลงไม่ต่างจากคนพิการนัก ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่จะช่วยการใช้ชีวิตภายนอกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีความสะดวกมากขึ้น โดยเป็นไปตามกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.๒๔๔๘ ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ำ ป้ายสัญลักษณ์ ที่จอดรถ บริการ ข้อมูล และอื่น ๆ (รถเข็นสำหรับคนพิการ ลิฟต์สำหรับคนพิการ ช่องทาง fast track ฉลากซองยาอักษรเบลล์ และ ไม้เท้าสี่ขา) เป็นต้น อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ สัญชาติไทยที่มีอายุ ๖๑ ปีขึ้นไป และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจำนวน ๘๖๘,๓๘๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๘ เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ๕,๕๐๒,๙๒๙ คน ซึ่งเพิ่มจากปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ๓๒๙,๓๐๓ คน จากคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีโดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชานายกรัฐมนตรีที่ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่๑๖กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗ ข้อที่ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและการสร้างโอกาศเข้าถึงบริการของรัฐ ในข้อ ๓.๔ ได้พูดถึงเป้านโยบายของรัฐบาลนี้ที่ต้องการให้มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยระบุว่า “...เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ” นอกจากนี้แผนปฏิบัติการกรุงเทพมหานครประจำปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้กำหนดเป้าประสงค์ด้านยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานครในอนาคต ในด้านที่๓ มหานครสำหรับทุกคน โดยได้พูดถึงมิติของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาศ ก็ได้ให้ความสำคัญต่อการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากแนวโน้มการเพิ่มอัตราผู้สูงอายุในสังคมปัจจุบันจะเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลตามที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสำนักผังเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการข้อมูลรายการบุคคลจาก ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง โดยเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสำนักผังเมือง ซึ่งหากไม่ดำเนินโครงการดังกล่าว อาจทำให้ข้อมูลแผนที่เซิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย การช่วยเหลือหรือให้บริการผู้สูงอายุอาจไม่ทันการ กองสำรวจและแผนที่จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการบูรณาการข้อมูลแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กับข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง เพื่อรองรับบริการสาธารณะที่เหมาะสมกับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อไปในอนาคต 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลรายการบ้าน พร้อมตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลอาคารของสำนักผังเมืองและทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง และทำการวิเคราะห์ให้ทราบถึงที่ตั้งของผู้สูงอายุและอาคารที่พักอาศัย 3. เพื่อทราบถึงความเพียงพอบริการสาธารณะที่จำเป็นของกรุงเทพมหานครต่อผู้สูงอายุ 4. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและกรมการปกครอง ในการบูรณาการข้อมูลร่วมกันอย่างเป็นระบบ 1. กรุงเทพมหานคร มีระบบการให้บริการแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS สำหรับการแลกเปลี่ยนการเชื่อมโยงข้อมูลรายการบ้านกับกรมการปกครอง ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการขอให้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนราษฎร์กลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ของสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง และข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีชั้นข้อมูลอาคารในระบบสารสนเทศภูมมิศาสตร์ เชื่อมโยงข้อมูล รายการบ้านกับในฐานข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลาง ของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครองโดยรวม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาลักษณะประชากรทั้งหมดและวิเคราะห์ 3. เพื่อทราบความเหมาะสมของการบริการสาธารณะที่จำเป็นรองรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน (สำหรับอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป) และวางแผนอนาคตรองรับบริการประชาชนกำลังเข้าสู้วัยผู้สูงอายุ (ช่วงอายุตั้งแต่ ๕๕ ปีถึงอายุ ๖๐ ปี) 4. เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของนายกรัฐมนตรีตามนโยบายของรัฐบาลที่ท่านนายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา และสอดคล้องกับมาตรการและนโยบายของกรุงเทพมหานครที่จะเตรียมรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 8,487,454.00 7,789,047.12 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
107 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมือง - เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง - เพือส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบรายงานผลของสำนักผังเมือง - ส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
108 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ จัดอยู่ในกลุ่มกรุงเทพกลาง มีสภาพพื้นที่ประกอบด้วยสถานที่และโบราณที่สำคัญ แหล่งการค้า แหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานราชการ และรวมถึงที่อยู่อาศัยที่มีจำนวนหนาแน่น เมื่อเทียบกับพื้นที่ที่มีจำกัด อาคารบ้านเรือนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะไม่เป็นระบบระเบียบ การตรวจสอบค้นหาที่ตั้งของอาคารบ้านเรือนในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์กระทำได้ยากพอสมควร เหตุนี้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่ายเพื่อการปรับปรุงแผนที่ ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับหน่วยงานต่าง ๆรวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปในการตรวจสอบค้นหาที่ตั้งและรายละเอียดของอาคารได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูลของบ้าน ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์สามารถจัดเก็บ จัดทำระบบฐานขัอมูลได้ครบถ้วน คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
109 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน 3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว ตัวชี้วัด -ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ค่าเป้าหมาย -ร้อยละ 100 วิธีการคำนวณ - จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2018-10-01 00:00:00 2019-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
110 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการ ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในฐานข้อมูลของพื้นที่เขตดุสิต การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศระบบเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงแผนที่ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ สืบค้น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของจำนวนบ้านที่ได้มีการ กำหนดเลขหมายประจำบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างบ้านเสร็จเรียบร้อย 2. เพื่อเป็นการเพิ่มและพัฒนาฐานข้อมูลรายการบ้าน ตลอดจนการสืบค้นที่ตั้งบ้าน รายละเอียดชั้นข้อมูล ของบ้านได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงานเขตดุสิตได้รับการสำรวจ จัดเก็บและจัดทำ ระบบฐานข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
111 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 24.(เจรจา)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายโยธา) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร การลงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารที่ระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารตามคำร้องของประชาชนที่ขอให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
112 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 08.(เจรจา) กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ฝ่ายทะเบียน) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
113 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
114 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
115 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาต ก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง สำรวจ จัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
116 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 74. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่แผนพัฒนากรุงเทพมหานครได้ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้กำหนดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมือง รวมกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการปลูกสร้างอาคารบ้านเรือน เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการพาณิชย์นับวันจะเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้การค้นหาและตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่ได้มีการกำหนดรหัสเลขประจำบ้าน พร้อมเลขหมายประจำบ้าน เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเพื่อให้การดำเนินงานสามารถรองรับตัวชีวัดบูรณาการของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จึงได้จัดทำโครงการ "การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน" ขึ้น ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและเป็นประโยชน์สำหรับใช้ในการตรวจสอบ การใช้ประโยชน์ในที่ดินและอาคารตามข้อกำหนดผังเมืองกรุงเทพมหานคร และของหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป 1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบค้นหาได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชันสำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใช้ในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูกสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ซึ่งปลูกสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
117 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมือง ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเป็นการบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการออกเลขหมายประจำบ้าน ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 3. เพื่อสามารถค้นหาตำแหน่งการลงจุดการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างรวดเร็ว 4. เพื่อให้ข้อมูลการออกเลขหมายประจำบ้านของสำนักงานเขตภาษีเจริญ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
118 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวณพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
119 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
120 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
121 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2562 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
122 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง 4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 5. ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
123 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางผังเมือง ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวม รายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นประจำทุกเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
124 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบ ท.ร.900 การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ท.ร.900 ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
125 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ 2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
126 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
127 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ส่งเสริมการขยา่ยตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง 1. เพื่อทราบถึงการใช้ประโยชน์ของที่ดินอย่างถูกต้องและถูกกฏหมาย 2. เพื่อทราบความหนาแน่นของประชากรในแต่ละพื้นที่ 3. เพื่อทราบจุดที่แสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ชัดเจนและถูกต้อง เพื่อทราบการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้านที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
128 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900) การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
129 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 โครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้งานระบบในการนำเครื่องมือสารสนเทศดังกล่าวไปใช้ในการวางแผน การปรับปรุง หรือแม้แต่การพัฒนาผังเมือง และการใช้ประโยชน์ในที่ดิน การตรวจสอบความหนาแน่นของจำนวนประชากรในพื้นที่ ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาหน่วยงานได้เป็นอย่างดี แต่ถ้าระบบภูมิสารสนเทศดังกล่าว แสดงผลข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากระบบดังกล่าวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้ อาจทำให้การวางแผน การปรับปรุง การพัฒนา ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างตรงเป้าหมาย หรือแม้แต่การปฏิบัติงาน หรือการให้บริการที่ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลดีได้ ผู้บริหารกรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำคัญ/จำเป็นของการปรับปรุงข้อมูลของตำแหน่งที่ตั้งของอาคารในระบบภูมิสารสนเทศ จึงกำหนดให้มีกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม เป้าประสงค์ที่ 4.1.1 ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม และเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง โดยกำหนดให้กิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านดังกล่าวเป็นตัวชี้วัดงานเชิงยุทธศาสตร์ของสำนักผังเมืองซึ่งเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดบูรณาการร่วมกับสำนักการโยธา และสำนักงานเขต เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ตามข้อมูลการให้อนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักการโยธาและสำนักงานเขต เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ สำนักงานเขตทุ่งครุ จึงจัดทำโครงการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านขึ้น 2.1 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างเป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง 2.2 เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เป็นไปอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริง ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบถ้วนคิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
130 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2562 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่ได้รับอนุญาตในแปลงที่ดินเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการอนุญาตก่อสร้างอาคารและนำไปใช้อ้างอิงในการออกเลขที่บ้าน อีกทั้งยังสามารถนำมาคำนวนพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและง่ายต่อการค้นหา ควบคุมอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารและรายงานการใช้ประโยชน์ที่ดินในการก่อสร้างอาคารได้ครบถ้วนและสรุปรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางบอน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
131 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล - มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 มีการนำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองครบทุกรายการ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
132 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง สำนักผังเมืองได้จัดทำแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๕๐ เขต แสดงลักษณะทางกายภาพของกลุ่มข้อมูล เช่น ถนน อาคาร สถานที่ตั้ง ชื่อและคำอธิบาย เป็นต้น โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแสดงรายละเอียดของข้อมูลกายภาพแต่ละประเภท รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร เชื่อมโยงกับข้อมูลกายภาพ ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ และใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารครั้งล่าสุดในปี ๒๕๔๙ ในช่วงปี พ.ศ.2550-2559พบว่า มีอาคารที่เกิดขึ้นใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นในอัตราค่อนข้างสูง และยังพบว่ามีระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน รวมถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงระบบเลขที่บ้าน ชื่อถนน ตรอก ซอยต่างๆ ใหม่ มากกว่า 35 เขต สำนักผังเมืองฐานะผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ปรับปรุง ค้นคว้าศึกษาและพัฒนาคุณภาพข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และวิธีการอันจะได้มาซึ่งข้อมูลแผนที่ที่มีความทันสมัย ถูกต้องแม่นยำสูง ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยายทุกมาตราส่วนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ใช้ข้อมูลแผนที่ในการจัดทำผังเมืองรวมและวางผังเฉพาะ และหน่วยงานต่างๆของกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการแพทย์ เป็นต้น ได้นำข้อมูลไปใช้ในการบริหารงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะช่วงเกิดอุทกภัยในปี ๒๕๕๔ มีหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนหลายราย มาขอรับบริการข้อมูลแผนที่ไปใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการ จึงจำเป็นจะต้องมีข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อให้บริการ และเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำกฎกระทรวงผังเมืองรวมให้มีความถูกต้อง อนี่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ซึ่งกองสำรวจและแผนที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนที่แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงให้แล้วเสร็จ รวมทั้งจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จากเหตุผลข้างต้น หากไม่ดำเนินโครงการฯ หรือดำเนินการล่าช้า ข้อมูลแผนที่เชิงเลขไม่ถูกต้องและทันสมัย อาจเกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานครได้ กองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และจัดทำข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมืองครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๕๐ เขตของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีความประสงค์จะว่าจ้างดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ว่าจ้างนี้จะต้องมีรายละเอียดตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เพื่อจัดทำแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และระดับชั้นความสูง ๒.๒ เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 จากแผนที่ภาพถ่ายความละเอียดสูง ในกลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานและถ่ายโอนข้อมูลเชิงบรรยายที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ไปสู่กลุ่มชั้นข้อมูลแผนที่ฐานที่ทำการปรับปรุงแล้วเสร็จ เพื่อจัดทำแผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร ๒.๓ เพื่อศึกษาและออกแบบปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จะทำการปรับปรุง พร้อมจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย และจัดทำชุดข้อมูลสถานที่สำคัญ (Point of Interest) 3.1 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีระบบข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย 3.2 เพื่อให้กรุงเทพมหานคร มีข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 “มาตรา ๑๗ ความว่า ผังเมืองประกอบด้วย (๒) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวมโดยแสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูง 3.3 เพื่อบริการข้อมูลแผนที่เชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ให้แก่หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอก รัฐวิสาหกิจ เอกชน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 61.00
133 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อมูลที่ดินของรัฐ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ดินที่เป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินแผ่นดินธรรมดา หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ซึ่งรัฐยึดถือครอบครองไว้เป็นประโยชน์แห่งรัฐ เฉพาะประเภท ที่ราชพัสดุ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมธนารักษ์ และประเภท ที่ดินที่ได้รับ นสล. (หนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง) ซึ่งเป็นหนังสือแสดงสิทธิในการขอใช้ประโยชน์หรือร่วมกันใช้ที่ดินในเขตที่ราชพัสดุ หรือเขตสาธารณประโยชน์ที่ออกโดยกรมที่ดิน โดยเป็นเอกสารสิทธิแสดงแนวเขตที่ดินของรัฐ ซึ่งอาจจะออกเป็นแปลงใหญ่รวมกันและระบุชื่อหน่วยงานที่ใช้ประโยชน์ไว้ได้ ซึ่งเป็นข้อมูลของกรมที่ดิน เฉพาะที่มีการเปลี่ยนแปลง และอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้นำส่งให้สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลักษณะขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ประกอบข้อมูลคำอธิบาย ได้แก่ เลขที่เอกสารสิทธิ ขนาดพื้นที่ และสภาพการใช้พื้นที่ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ กรุงเทพมหานครได้มีฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ข้อมูลที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบขอบเขตรูปแปลงที่ดิน ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งได้มาจากกรมธนารักษ์และกรมที่ดิน และนำมาประกอบระวางแผนที่ในลักษณะแผนที่แสดงที่ดินของรัฐในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
134 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองตามผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแผนที่เขตพระนครถูกต้องเป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ท้้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก - เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง - เพื่อส่งรายงานการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านส่งสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเป็นประจำต่อเนื่องทุกเดือน - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองครบถ้วนตามที่ได้รับอนุญาต 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
135 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลที่ กท 0502/1778 ลว.3ก.ย.2556 กำหนดให้มีการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2557 ของหน่วยงานให้เหมาะสมกับงบประมาณรายจ่ายของโครงการที่ได้รับจัดสรร และนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต ประจำปีงบประมาณ 2557 บรรจุในแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งสำนักผังเมืองและสำนักงานเขต 50 เขต ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน สำรวจ จัดเก็บ รวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง ฝ่ายทะเบียนลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายโยธาลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
136 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีภารกิจในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 โดยดำเนินการสำรวจและตรวจสอบบ้านหลังดังกล่าว เพื่อให้ทราบข้อมูลตำแหน่ง บันทึกข้อมูลลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 พศ.2561-2565 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามแผังเมืองรวม 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการสถานที่ที่มีการขออนุมัติให้มีการก่อสร้าง 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน 3. เพื่อทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 4. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 1. เป้าหมาย เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการปลูกจ้าง ดัดแปลง รื้อถอน และสามารถค้นหาข้อมูลอาคารที่มีการกำหนดเลขบ้านและเลขรหัสประจำบ้าน 2. ได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและค้นหาข้อมูลอาคารได้รวดเร็ว ตัวชี้วัด -ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ค่าเป้าหมาย -ร้อยละ 100 วิธีการคำนวณ - จำนวนการลงจุดแสดงตำแหน่ง * 100/จำนวนเลขหมายประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2019-10-01 00:00:00 2020-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
137 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาตาร เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ดำเนินการลงจุดตามคำขอเลขหมายประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
138 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS)มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย กรุงเทพมหานคร มีระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ โดยสำนักผังเมืองเป็นผู้ออกแบบ สำนักงานเขตบางเขนได้นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย เพื่อนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการค่าธรรมเนียมขยะ นำระบบสารสนเทศจากสำนักผังเมืองมาใช้ในการบริหารจัดการ 1 ฝ่าย (1 ระบบ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
139 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน สำนักงานเขตลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้สำนักผังเมืองนำไปดำเนินการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินตามตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตปลูกสร้างอาคารและการออกเลขที่บ้าน ร้อยละ 100 ของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
140 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 ทำขึ้นเพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีกรอบและทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2563 ที่ชัดเจน ในส่วนของฝ่ายทะเบียน มีลักษณะงานประจำ สอดคล้องกับสถานการณ์และทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร ด้านที่ 4 มหานครกระชับ มิติที่ 4.1 กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม กำหนดโครงการสำคัญในแผน กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแห่งพื้นที่ ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 1. เพื่อให้การสร้างฐานข้อมุลทางภูิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการให้เลขบ้าน มีความเป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบ ค้นหาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 2. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร และเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตตลิ่งชัน สำหรับการให้บริการประชาชน หน่วยงานอื่น ๆ และเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาเขต 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลตรวจสอบ เปรียบเทียบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์กับสภาพพื้นที่จริงสามรถกระทำได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบข้อมูลบ้านของประชาชนและหน่วยงานราชการ 5. เพื่อนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือแผนที่บ้านมาใชในการวางแผนบริหารพื้นที่ 1. ให้เลขหมายประจำบ้านแก่อาคารที่ได้รับอนุญาตปลูสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ซึ่งปลุสร้างเสร็จพร้อมลงจุดหรือแสดงจุดที่ตั้งของอาคารไว้ในฐานข้อมูลระบบแผที่สารสนเทศภุมิศาสตร์ (GIS) ภายใน 7 วัน นับจากวันยื่นคำขอเลขบ้าน 2. ดำเนินการตรวจสอบ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเลขบ้านเดิม เพื่อนำเข้าสู่ฐานข้อมูลระบบ (GIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
141 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
142 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเป้าหมายให้กรุงเทพมหานครพัฒนาสู่เมืองกระชับ (Compact City) โดยมีภารกิจการพัฒนา สำหรับเมืองที่มีประชากรหนาแน่นในเขตชั้นในและชั้นกลาง ให้สามารถใช้ประ โยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ จึงต้องจัดทำข้อมูลด้านกายภาพของเมืองและข้อมูลแผนที่ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงข้อมูลภูมิประเทศและระดับชั้นความสูงของกรุงเทพมหานคร สร้างจุดอ้างอิงแนวเขตที่มีมาตรฐานและค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ สามารถแก้ไขปัญหาการรุกล้ำหรือทับซ้อน ฝ่ายทะเบียนจึงมีภารกิจการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายของสำนักผังเมือง ให้สามารถตรวจสอบถึงตำแหน่งของอาคารที่สร้างเสร็จตามที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง -เพื่อให้การออกเลขหมายประจำบ้านในพื้นที่เขตดอนเมืองสามารถตรวจสอบได้ ถึงตำแหน่งอาคารที่มีผู้ยื่นคำร้องขอออกเลขหมายประจำบ้านจากระบบสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ของสำนักผังเมือง -เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจัดทำแผนที่ภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง ให้สามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ในงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการออกเลขรหัสประจำบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในพื้นที่เขตดอนเมืองได้รับการสำรวจและจัดเก็บ และจัดทำระบบฐานข้อมูลครบถ้วนทุกหลังคาเรือน โดยการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทุกหลังที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน ในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย สำนักผังเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
143 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 การส่งเสริมและสนับสนุนการออกบ้านเลขที่ ลงสู่การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้ปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2557 ของหน่วยงาน โดยนำตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักผังเมืองร่วมกับสำนักงานเขต ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยสำนักงานเขตได้รับตัวชี้วัดเรื่องร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน อยู่ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 ฝ่ายทะเบียนเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร จึงส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้าง จากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดตำแหน่งในแผนที่ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง (ตามแบบ ทร.900) 1 เพื่อตอบสนองนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการพัฒนาโครงการพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางภูมิภาค 2 พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 3 เพื่อให้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 1 เพื่อให้กำหนดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคารและการกำหนดลงจุดเลขรหัสประจำบ้านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร 2 กำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลัง และนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) ร้อยละ 100 ทั้งปี 2563 และย้อนหลังถึง ปี 2557 จนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
144 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการ การพิจารณาอนุญาตสถานประกอบกิจการให้ประกอบกิจการได้ต้องอาศัยกระบวนการตรวจสอบสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ และต้องนำเอกสารหลักฐานมายื่นขอประกอบด้วย 1. สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ของเจ้าของกิจการ 2. สำเนาบัตรทะเบียนบ้านสถานประกอบกิจการ 3. หรังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 4. หลักฐานการขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร 5. หลักฐานแสดงกรรมสิทธิหรือสิทธิ์ในการใช้อาคารที่เป็นสถานประกอบการ 6. ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการจากส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. แผนที่แสดงที่ตั้งสถานประกอบกิจการ 1.เพื่อนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน 2. เพื่อนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่ -นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานประกอบการที่ชัดเจน และนำแผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการมาประกอบการพิจารณาอนุญาตประกอบกิจการรายใหม่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
145 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่ขอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 1. ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง 4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 5. ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
146 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อนสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และการลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผลระบบรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง มีระบบควบคุมตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้อง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
147 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดที่แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร โดยส่งเสริมการกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่งในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9) 1. เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อใหัผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานและสะดวกต่อการค้นหาตำแหน่งบ้าน 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของสำนักงานเขต ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจน 4. เพื่อสะดวกและง่ายต่อการตรวจสอบ กำหนดจุดตำแหน่งบ้านได้ถูกต้องแม่นยำ 1. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานลงจุดสามารถกำหนดตำแหน่งการลงจุดแสดงตำแหน่งเลขรหัสประจำบ้านชัดเจนและเป็นไปตามมาตรฐานสากลครบทุกหลังคาเรือน ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร 2. สามารถกำหนดบ้านเลขที่และออกเลขรหัสประจำบ้านให้กับอาคารที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจากฝ่ายโยธาทุกหลังนำไปลงจุดแสดงตำแหน่ง ในแผนที่ของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.9) ทุกหลังคาเรือนได้อย่างถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
148 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง(ตามแบบ ทร.900) เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ และมีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 1.เพื่อให้ผู้ที่มายื่นคำขอเลขรหัสประจำบ้าน ณ ฝ่ายทะเบียน ได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ 2.มีการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารทีมีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักงผังเมือง (ตามแบบ ทร.900)ทั้งปี 2562 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ร้อยละ100 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
149 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการบริการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม เพื่อส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวม พื้นที่เขตวัฒนาเติบโตอย่างเป็นระบบตามผังเมืองรวม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
150 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม - กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพสอดคล้องกับระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ - ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมืองรวมและเพิ่มความหนาแน่นประชากรในเขตเมืองชั้นในและเขตเมืองชั้นกลาง - สำรวจ จัดเก็บรวบรวมและบูรณาการการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการเมือง - ลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ครบทุกจุดในระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย (GIS) ของสำนักผังเมือง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
151 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -ปัจจุบันในชีวิตประจำวันของเราได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากทำให้สะดวกรวดเร็วทั้งในการทำงาน การติดต่อสื่อสาร และทำให้มีการตัดสินใจได้อย่างแม่นยำขึ้น ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่มีบทบาทและมีความสำคัญมากในการนำไปประยุกต์ใช้งานในหลากหลายมิตินิยมใช้กันทั่วโลก ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS)คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้ฐานข้อมูลภูมิศาสตร์ (Geographic Database) สำนักงานเขตหลักสี่เล็งเห็นประโยชน์ จึงมีการนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -สามารถนำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางาน -นำระบบสารสนเทศ (GIS) มาใช้ในการบริหารจัดการหรือพัฒนางานอย่างน้อย 1 งาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
152 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และการนำระบบสารสนเทศ (GIS) ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี ปัจจุบันมีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารใหม่จำนวนมาก ซึ่งเป็นฐาานข้อมูลสำคัญที่แสดงถึงการขยายตัวของเมือง ประกอบกับมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ 1.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดสร้างเพื่อปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลแผนที่ของตำแหน่งอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างถูกต้อง 2.สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นตามข้อมูลแผนที่ที่สำนักงานผังเมืองได้จัดเตรียมไว้ทำให้สะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้สามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว รวดเร็วและมีความถูกต้อง 3.สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบความสอดคล้องการกำหนดพื้นที่ปลูกสร้างและการใช้ประโยชน์อาคารกับพระราชบัญญัติผังเมืองรวมและข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครที่บังคับใช้ 4.การใช้ประโยชน์อาคารสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลที่มีอยู่ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2. สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่จัดอยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนได้รับรู้และนำไปเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจ หรือวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ต่อไปในอนาคตได้ด้วย 3. ฝ่ายรายได้สามารถนำแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้ในการจัดเก็บภาษี 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
153 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อเป้นการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขหมายประจำบ้าน และการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ตามแบบ ทร.900) การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
154 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 (15.ทะเบียน)กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร - ด้วยกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง ได้จัดทำโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันตามข้อมูลการรายงานการอนุญาตก่อสร้างอาคารและการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งสำนักงานเขตสะพานสูง ได้รับภารกิจยุทธศาสตร์ ในการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อให้การดำเนินการตามภารกิจดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดบูรณาการของสำนักงานเขต และสอดคล้องกับโครงการของสำนักผังเมือง จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งในการปรับปรุงแผนที่ - เพื่อแสดงจุดตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง - เพื่อเป็นการสอดคล้องกับโครงการปรับปรุงแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารให้เป็นปัจจุบันของกองสำรวจและแผนที่ สำนักผังเมือง และเป็นการปฏิบัติงานต่อเนื่อง - เพื่อเป็นการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศมาใช้ในการลงจุดแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้าน - เพื่อเป็นการจัดทำข้อมูล สถิติ การออกเลขรหัสประจำบ้าน - จัดทำรายงานสรุปผลส่งสำนักผังเมือง จำนวน 12 ครั้ง/ปี (เดือนละ 1 ครั้ง) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
155 4.0.1.
ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
4.2. 2563 โครงการการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เขตวังทองหลางถือเป็นเขตชั้นในเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ซึ่งประกอบไปด้วย 9 เขตได้แก่ เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ เขตดุสิต เขตดินแดง เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตห้วยขวาง และเขตวังทองหลาง โดยสภาพทั่วไปของเขตวังทองหลางนั้น เป็นเขต ที่มีการผสมผสานระหว่างอุตสาหกรรม การพาณิชย์ ที่พักอาศัย และการคมนาคม ดังนั้น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตวังทองหลาง จึงมีความหลากหลาย ที่ผสมผสานกันทั้งวัฒนธรรม ศาสนา มีย่านเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นแหล่งรวมของร้านอาหารมากมาย ซึ่งถือว่าพื้นที่เขตวังทองหลางยังสามารถรองรับการขยายตัวของเมืองได้อีกพอสมควร การใช้ประโยชน์จากที่ดินดังกล่าว ประกอบกับความเจริญของสังคมเมือง ซึ่งต้องเติบโตไปพร้อม ๆ กันนี้เอง ทำให้ในพื้นที่เขตวังทองหลาง ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ประโยชน์จากที่ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยให้มากที่สุด การปลูกสร้างบ้านเรือน ทั้งในรูปของหมู่บ้านต่าง ๆ อาคารพาณิชย์ อาคารอยู่อาศัย ทั้งอาคารชุด อพาร์ตเม้นท์ ก็เกิดขึ้นตามมา ดังนั้นวิธีการหนึ่งที่ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ เพื่อควบคุมและตรวจสอบจำนวนบ้านในพื้นที่เขตวังทองหลาง ที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการกำหนดเลขบ้าน พร้อมให้รหัสประจำบ้านทุกหลัง ที่ได้ทำการปลูกสร้างตามที่ได้ขออนุญาตปลูกสร้างอย่างถูกต้อง และได้รับความร่วมมือจากสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร จัดทำโปรแกรมการปฏิบัติงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถที่จะกำหนดจุดบ้านที่ได้มีการให้รหัสประจำบ้านเรียบร้อยแล้ว 1. เพื่อใช้ตรวจสอบจำนวนบ้านที่ได้มีการกำหนดเลขบ้านให้เรียบร้อยแล้ว หลังจากที่ได้ทำการปลูกสร้างแล้วเสร็จ 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่เขตวังทองหลางให้รองรับการเป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. เพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยด้านโครงสร้างพื้นฐานของเมือง ร้อยละของจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ร้อยละ 100) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
156 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
4.2. 2563 โครงการบูรณาการการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (Digital Signage) เพื่อศึกษา วิเคราะห์และออกแบบเครื่องมือในการรวบรวม และบูรณาการสื่อประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อที่จะได้มาซึ่งระบบสารสนเทศที่ดี มีความเหมาะสมกับการทำงานของกรุงเทพมหานคร สามารถรองรับการบริหารจัดการได้ทุกภาคส่วน รองรับการประกันคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล สามารถนำสารสนเทศที่ได้ไปประกอบการวางแผน การตัดสินใจในการบริหาร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยข้อมูลในระบบจะต้องมีความถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือสูง ทันต่อเหตุการณ์ และมีกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความร่วมมือในการทำกิจกรรม นำไปสู่การยอมรับและปฏิบัติให้แพร่กระจายออกไปอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง 1. เพื่อร่วมศึกษาปัญหาและโครงสร้างของระบบสารสนเทศที่มีอยู่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งแนวทางการนำเสนอสารสนเทศสำหรับผู้ใช้งานในแต่ละระดับ 2. เพื่อให้สำนักงานประชาสัมพันธ์มีศักยภาพในการวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเป็นระบบ มีฐานข้อมูลที่ความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร 3. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศกลางที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้ 4. เพื่อให้สื่อประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานครได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพก่อนการนำเสนอ เพื่อให้เกิดการบูรณาการด้านการประชาสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 80 เพื่อที่จะได้มาซึ่งข้อมูลในการจัดทำระบบสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ลดขั้นตอนและเวลาในการทำงาน สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร 535,000.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 5.00
157 5.0.1.
ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
4.2. 2563 การดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานประชาสัมพันธ์ ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 5 ขี่นตอน 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
158 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม - ส่งเสริมให้มีการจัดทำระบบข้อมูลสินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์เพื่อการพัฒนา/เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยจัดเก็บอย่างเป็นระบบและเผยแพร่ผ่านช่องทาง online - เพื่อให้สินค้าผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) จำนวน 534 ผลิตภัณฑ์ ได้รับการจัดเก็บใน WWW.bangkokbrand2017.com และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เพื่อจัดเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนในระบบสารสนเทศของสำนักพัฒนาสังคม 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
159 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2563 กิจกรรมการสร้างฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักการคลัง มีภารกิจความรับผิดชอบโครงการศูนย์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร ซึ่งต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จึงควรมีการสร้างฐานข้อมูลเพื่อให้เป็นแหล่งจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูล สถิติที่เกี่ยวข้อง - เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจให้แก่นักธุรกิจและผู้สนใจ - กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและการลงทุน ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
160 6.0.1.
ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
4.2. 2563 โครงการจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน สำนักงานการส่งเสริมอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม ได้ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการได้มีสถานที่จำหน่ายและแสดงสินค้า รวมถึง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของประชาชนโดยทั่วไป ทั้งนี้จากการดำเนินงานที่ผ่านมายังพบว่าข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยังไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการสืบค้น การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การวางแผน การติดตามประเมินผลและการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงานดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการด้านการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน 1. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้มีระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อใช้ในการทำรายงาน สถิติข้อมูล 3. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการบริหารจัดการและพัฒนาผู้ประกอบการ และผลิตภัณฑ์ชุมชน 4. เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนในการคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วมจำหน่ายสินค้าในงานต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และทั่วถึง จัดทำระบบข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชนและข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการส่งเสริมการจำหน่าย 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
161 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 3.2 โครงการการพัฒนาระบบการติดตามงานด้านงานสารบรรณและธุรการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามที่ ส.กก.กำหนด ตามที่ ส.กก.กำหนด ตามที่ ส.กก.กำหนด 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
162 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 25. กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของกองกลาง (ฝบ.) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการดำเนินการ ข่าวสาร และการให้บริการแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน รวมทั้งข้าราชการลูกจ้างของกรุงเทพมหานครทางเว็บไชต์กองกลาง เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการจากกองกลาง เพื่อเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกองกลาง สร้างความสะดวกสำหรับผู้รับบริการที่จะค้นหาข้อมูล หรือติดต่อขอรับบริการจากกองกลาง และช่วยในการสร้างความรู้สึกประทับใจแก่ผู้เยี่ยมชมเว็บไชต์กองกลาง - เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกองกลาง ให้มีความทันสมัยน่าเชื่อถือ และสร้างความประทับใจแก่ผู้เยี่ยมชมเว็บไชต์กองกลาง - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม การให้บริการต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไชต์กองกลาง 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
163 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 21. กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการค้นหาเอกสารที่ได้รับการจัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (ฝอ.) กองกลาง มีภารกิจประการหนึ่งในการจัดเก็บเอกสารประเภทคำสั่งของกรุงเทพมหานคร และคำสั่งสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และเอกสารด้านการทะเบียน ซึ่งจะมีข้าราชการและบุคลากรที่จำเป็นต้องการใช้คำสั่งดังกล่าว มาติดต่อขอรับสำเนาเพื่อไปประกอบกิจธุระต่าง ๆ ตามความประสงค์ - เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วในการค้นหาเอกสารที่ได้รับการจัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้มารับบริการ - เพื่อดำเนินการจัดเก็บเอกสารต้นฉบับคำสั่งและเอกสารด้านทะเบียนให้ถูกต้องครบถ้วนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
164 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 (13) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของกองการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 30.00
165 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 (11)กิจกรรมการจัดทำใบเสร็จรับเงินด้วยระบบคอมพิวเตอร์สำหรับเรียกเก็บเงินสำหรับผู้ได้รับสิทธิพักอาศัยในอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานคร ---------------------- ------------------------- ร้อยละความพึงพอใจของผู้ได้รับสิทธิพักอาศัยในอาคารสงเคราะห์ข้าราชการและลูกจ้างประจำของกรุงเทพมหานครต่อการได้รับใบเสร็จรับเงินซึ่งจัดพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในระดับมากขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
166 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 (20)กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารบนเว็บไซต์ของกองการเจ้าหน้าที่ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของกองการเจ้าหน้าที่ให้ข้าราชการได้ทราบ 2. เพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลอีก 1 ช่องทาง การลงข้อมูลข่าวสารทางเว็บไซด์ของกองการเจ้าหน้าที่ 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
167 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 สปท./27 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียน สำนักงานปกครองและทะเบียนปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานปกครองและทะเบียน ตามข้อ 1 ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเรา ลงในเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียน (www.bangkok.go.th/ard) เพื่อปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานปกครองและทะเบียนให้มีข้อมูล ข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน 1. ปรับปรุงปฏิทินปฏิทินกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง 2. ปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 3. ปรับปรุงข่าวสาร เดือนละ 5 ข่าว/เรื่อง 4. ปรับปรุงกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัย 5. และอื่นๆ ที่เป็นประโยชนืกับผู้รับบริการ ค่าเป้าหมาย 90 คะแนน วิธีการคำนวณ ผลคะแนนการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
168 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน การจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อให้บริการประชาชน และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายในมีการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ จำนวนครั้งของการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ บนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
169 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 การรายงานสถานการณ์น้ำผ่านทาง Facebook/Twitter ข้อความประชาสัมพันธ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อรายงานสถานการณ์น้ำในช่วงเวลาต่างๆ ที่เป็นปัจจุบันผ่านทาง Facebook/Twitter ในช่วงฤดูฝน (ระหว่างเดือน พ.ค. - ก.ย. 60) ให้ประชาชนรับทราบ ข้อความประชาสัมพันธ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อรายงานสถานการณ์น้ำในช่วงเวลาต่างๆ ที่เป็นปัจจุบันผ่านทาง Facebook/Twitter ในช่วงฤดูฝน (ระหว่างเดือน พ.ค. - ก.ย. 60) ให้ประชาชนรับทราบ 250 ข้อความ 0.00 0.00 ** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-05-15 00:00:00 2016-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
170 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับงานต่างประเทศเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านสื่อออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับงานด้านต่างประเทศ และกิจกรรมด้านต่างประเทศของกรุงเทพมหานครผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศที่ www.bangkok.go.th/iad ให้ประชาชนได้รับทราบ เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานด้านต่างประเทศผ่านเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศ ประชาชนผู้สนใจทั่วไปเข้าชมเว็บไซต์ได้ตามจำนวนครั้งที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
171 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์เกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร การจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์ชื่อหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เขต แขวง ถนน ซอย เป็นภาษาอังกฤษ และให้บริการข้อมูลผ่านหน้าเว็บไซต์ของกองการต่างประเทศ เพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบตัวสะกดภาษาอังกฤษและนำไปใช้งานได้ถูกต้อง เพื่อจัดทำฐานข้อมูลคำศัพท์ชื่อหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เขต แขวง ถนน ซอย เป็นภาษาอังกฤษ ผู้ใช้บริการ ได้แก่ ประชาชนผู้สนใจทั่วไป สามารถเข้าใช้บริการทางหน้าเว็บไซต์ได้ตามจำนวนที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
172 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักการคลัง เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอิเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักการคลังไม่น้อยกว่า 24 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
173 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บโฉนดที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อป้องกันเอกสารสูญหายและเป็นฐานข้อมูลที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วนและรวดเร็ว โดยการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทเครื่องสแกนเนอร์มาสแกนโฉนดที่ดินฯ และจัดทำเป็นฐานข้อมูลโฉนดที่ดินฯ เพื่อให้ง่ายและสะดวกในการค้นหาโฉนดที่ดินฯ ที่หน่วยงานที่มาขอรับบริการ ทั้งนี้ เพื่อลดปัญหา อุปสรรค ลดการใช้ทรัพยากร เช่น กระดาษของหน่วยงาน ตลอดจนลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน 1.เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอนการทำงาน โดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 2.เพื่อไม่ให้ต้นฉบับโฉนดที่ดินฯ ได้รับความเสียหาย 3.เพื่อให้หน่วยงานผู้รับบริการสามารถรับข้อมูลสำเนาเกี่ยวกับโฉนดที่ดินฯ ของหน่วยงานตนเองในรูปแบบสื่อดิจิตอล ได้สะดวกและรวดเร็ว และมีฐานข้อมูลของหน่วยงานตนเอง สามารถปรับใช้กับสื่ออิเลคทรอนิกส์อื่น ได้มากกว่าสำเนาโฉนดที่ถ่ายจากเครื่องถ่ายเอกสาร 1.กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับโฉนดที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพมหานครในรูปแบบสื่อดิจิตอล ทัดเทียมกับยุคปัจจุบันที่มีการใช้สื่ออิเลคทรอนิกส์อย่างแพร่หลาย 2.เพิ่มช่องทางการให้บริการแก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ขอรับบริการ 3.ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และลดการใช้ทรัพยากร เช่น กระดาษ 4.หน่วยงานของกรุงเทพมหานครผู้รับบริการมีข้อมุลสำเนาโฉนดที่ดินฯ ของหน่วยงานตนเองในรูปแบบสื่อดิจิตอล ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ มากขึ้น 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
174 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
175 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ทุก 15 วัน สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองทุก 15 วัน - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
176 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเพื่อประชาคมเมือง กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาโปรแกรมด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานครใช้ในการปฏิบัติงาน และเผยแพร่สารสนเทศภูมิศาสตร์ รวมถึงการให้บริการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร จึงดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเพื่อประชาคมเมืองขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือในการนำเข้าข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์และสื่อสารข้อมูลสารสนเทศของกรุงเทพมหานครสู่ประชาชน เพื่อให้มีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่เป็นสื่อกลางในการนำข้อมูลสารสนเทศของเมืองสู่การให้บริการและการมีส่วนร่วมของประชาชน ร้อยละ 80 โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานตามที่ดำเนินการได้ (ตามขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้) 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 0.00
177 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 12 แผนภาพต่อไป 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
178 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ภายใต้ระบบ BMA GIS ONLINE ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการนำเทคโนโลยีสารเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการประชาชน ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานครระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) ในการนี้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรเพิ่มช่องทางการพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานและประชาชนทั่วไป 1. เพื่อพัฒนาระบบ e-Learning ที่สามารถบรรจุเนื้อหา รายวิชา ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ให้บริการด้านวิชาการแก่ ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชนที่สนใจ 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและสามารถเลือกสรรการเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยได้ตลอดเวลาในทุกที่ ทุกโอกาส มีผู้เรียนในระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
179 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักพัฒนาสังคม ดำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพกิจกรรม ประกาศต่างๆ หน่วยงานต้องปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด 1.ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจุจุบัน 2.ภายใน 1 ปี ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้ครบถ้วนทุกรายการตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด (ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารของสำนักพัฒนาสังคม ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5. ติดต่อเรา) 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
180 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม รายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม มีความถูกต้อง และสามารถตรวจสอบได้ เพื่อจัดทำรายงานบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินของสำนักพัฒนาสังคม ส่งทันเวลาและถูกต้อง ตามที่ สนค. กำหนด ค่าเป้าหมาย 5 คะแนน 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
181 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 ค่าใช้จ่ายโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ในการให้บริการแก่ประชาชนโดยสำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีภารกิจในด้านการสงเคราะห์และสวัสดิภาพสังคม การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนในกรุงเทพมหานครเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การจัดทำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวางกรอบแนวคิด การกำหนดแผนและการจัดลำดับความสำคัญของการพัฒนาระบบคุณภาพชีวิตที่ทำให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่อยู่ในวัยต่างๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประสบการณ์ความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ข้อคิดเสนอแนะและการให้คำปรึกษาได้ในทุกที่ทุกเวลาตามต้องการของผู้สูงอายุและคนทุกวัยในกรุงเทพมหานคร จึงจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและบุคคลทุกวัยสามารถเข้ามาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมแห่งการแบ่งปัน การแสดงความรู้สึกและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนทุกวัยในสังคมอย่างเป็นอิสระเพื่อสื่อถึงบรรยากาศความอบอุ่นของครอบครัวที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย ทำให้เกิดช่องทางของการติดต่อสื่อสารด้วยเทคโนโลยีในชนทุกระดับชั้นที่แต่ละชุมชนของกรุงเทพมหานครให้การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในแต่ละชุมชนอย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนเมืองในกรุงเทพมหานครสามารถรองรับความต้องการของประชาชนในชุมชนเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะ Social Network ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นและอินเตอร์เน็ตเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการเพิ่มช่องทางให้ผู้สูงอายุเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่เป็นความรู้ ความบันเทิง สุขภาพ คุณธรรมจริยธรรม ผ่านเว็บไซต์ www.oldisyounginbkk.com 3. เพื่อให้มีผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ตามโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร 1. จัดฝึกอบรมทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น การใช้งานโปรแกรมเว็บบราวเซอร์และการใช้เว็บไซต์ จำนวน 30 รุ่น ให้แก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป รุ่นละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 600 คน 2. จัดจ้างผู้ดูแลบริหารจัดการและบำรุงรักษาเว็บไซต์ ระยะเวลา 1 ปี 1,081,000.00 1,012,980.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
182 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพระนคร การปรับปรุงเว็บไซด์ของหน่วยงานมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานกับประชาชนและเป็นช่องทาง การให้บริการข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่อกับหน่วยงานในการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารและสร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนได้ ดำเนินกิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพระนคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
183 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การตรวจสอบและคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์ -สำนักงานเขตป้อมปราบฯ มีโรงพยาบาลหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อาทิ รพ.กลาง รพ.หัวเฉียว รพ.ยศเส จึงมีการออกสูติบัตรให้กับเด็กที่เกิดโดยสำนักงานเขตป้อมปราบฯเป็นจำนวนมาก ทำให้มีประชาชนมาติดต่อขอคัดและรับรองสูติบัตร กรณีสูติบัตรสูญหายหรือชำรุดอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการค้นหาสูติบัตรแบบเดิมที่ยังไม่มีการเก็บข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบค้นหาในห้องเก็บเอกสาร ทำให้ประชาชนต้องรอคอยเป็นเวลานานหรือบางครั้งต้องนัดหมายประชาชนมาในวันอื่่น ๆ ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชน ในการขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสูติบัตรที่่มีข้อมูลครบถ้วน (ยกเว้นสูติบัตรที่่ไม่ปรากฎชื่อผู้เกิด และ/หรือรายการในสูติบัตรที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง) โดยผ่านทาง Application Line ภายใต้ชื่อ "ป้อมปราบบริการสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์" -เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรอง สูติบัตรแบบเดิมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชาชนผู้รับบริการ โดยการลดระยะเวลาการรอคอยของประชาชน -เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชานผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบฯและกรุงเทพมหานคร -เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลารอคอยของประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมที่ต้องค้นหาด้วยระบบมือ 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
184 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับเว็บไซค์ของสำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ หน่วยงานให้บริการบนเว็บไซด์ประกอบด้วย -ปฏิทินกิจกรรม แผนงาน/โครงการที่หน่วยงานจะดำเนินการในแต่ละเดือนล่วงหน้า โดยต้องมีการลงปฏิทินกิจกรรมที่หน่วยงานจะดำเนินการเป็นรายเดือนโดยหน่วยงานจะต้องเผยแพรในเดือนนั้น เช่น กิจกรรมที ต้องมีการลงปฏิทินกิจกรรมในเดือนมกราคมให้แล้วเสร็จ -ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร - การให้บริการของหน่วยงานซึ่งอาจแยกหัวข้องานตามภารกิจของกองหรือฝ่ายตามโครงสร้างของหน่วยงาน หน่วยงานจะดำเนินการเป็นรายเดือนโดยหน่วยงานจะต้องเผยแพร่ล่วงหน้าอย่างน้อยให้แล้วเสร็จ ดังนี้ 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเราทางเว็บไซค์ 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
185 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงเว็ปไซต์ของสำนักงานเขต การดำเนินการบริการด้านสารสนเทศในยุคปัจจุบันมีความสำคัญในการให้บริการประชาชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะช่วยอำนวยความสะดวก เพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร และยังเป็นมาตรฐานที่สำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์บริการประชานสะดวก ฉับไว ให้บริการ 1. ปรับปรุงข้อมูลในเว็ปไซด์สำนักงานเขตบางรักให้เป็นปัจจุบัน 2. ประชาสัมพันธ์โครงการ / กิจกรรมต่าง ๆของสำนักงานเขตบางรักให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ให้เป็นประจำทุก 15 วัน หรือ 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
186 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับสภาพฝน สภาพน้ำท่วมผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ให้แก่ประชาชน สำนักงานเขตบางรักเป็นหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ที่มีภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการ ปฏิบัติการ ป้องกันและแก้ปัญหาน้ำท่วม สำนักงานเขตบางรักได้จัดกลุ่ม Line เพื่อกระจายข้อมูลเกี่ยวกับสภาพฝน สภาพน้ำท่วมขัง โดยกระจายข้มูลผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ผ่านกลุ่มเครือข่ายสมาชิกที่ต้องการรับทราบข้อมูล ข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน เพื่อให้ประชาชนทราบโดยมีแอดมินเป็นเจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตบางรัก ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการส่งข้อมูลผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ให้แก่สมาชิกในกลุ่มดังกล่าว เพื่อให้ประชาน หรือสมาชิกในกลุ่มไลน์ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับฝน พื้นที่น้ำท่วมขัง และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ ภายในพื้นที่เขตบางรัก กลุ่มเครือข่าย ID จำนวน 80 คน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
187 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด สำนักงานเขตบางรัก (BFC) เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลา สร้างกระบวนการที่ใสสะอาดในการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในการเข้าถึงบริการด้านทะเบียนราษฎรและการอนุญาติต่างๆ 1. เพื่อให้การดำเนินการของการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast&Clear : BFC) สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายในการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน 2. เพื่อนำไปสู่การพัฒนา ปรับปรุง การบริการที่สะดวก รวดเร็ว ทันสมัยและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นไว้บริการประชาชนได้เกินความคาดหวัง เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 2. ได้รับความพึงพอใจในการให้บริการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความมเชื่อมั่นต่อกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2016-12-20 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
188 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2017-01-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
189 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บเอกสารสูติบัตรเข้าในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฝ่ายทะเบียนมีแนวคิดที่จะจัดเก็บเอกสารเก่าในระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อสะดวกในการจัดเก็บในการค้นหาและตรวจค้นข้อมูล เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง หากเอกสารต้นฉบับสูญหาย หรือชำรุดไปตามกาลเวลา 1. เพื่อสะดวกในการตรวจสอบเอกสารสูติบัตรของเจ้าหน้าที่และประชาชนในการตรวจค้นข้อมูลสูติบัตร 2. เพื่อเกิดความสะดวกของประชาชนในการใช้สูติบัตรแสดงตนต่อหน่วยงานต่าง ๆ หรือต่อทางราชการของต่างประเทศในกรณีเอกสารสูติบัตรที่จัดเก็บ ณ ฝ่ายทะเบียนเกิดการชำรุดสูญหาย 3. เพื่อสำรองข้อมูลไว้ ณ ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนเขตปทุมวัน เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลทะเบียนราษฏรของกรมการปกครองในกรณีที่กรมการปกครองเปิดระบบให้เชื่อมต่อสัญญาณได้ 1. เป้าหมายจัดเก็บข้อมูลสูติบัตรของบุคคลที่แจ้งเกิดในพื้นที่เขตปทุมวัน ลงฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์เฉพาะสูติบัตรที่ยังมิได้จัดเก็บในฐานข้อมูลทะเบียนราษฏรของกรมการปกครองโดยเริ่มจัดเก็บสูติบัตรฉบับปลายปี พ.ศ. 2492 ถึงสูติบัตรฉบับปี พ.ศ. 2493 รวมทั้งหมด 8,535 ราย 2. ผู้รับบริการได้รับความสะดวกในการตรวจสอบและคัดรับรองรายการสูติบัตร ตัวชี้วัด 1.จัดเก็บสูติบัตรฉบับเก่าอยู่ในฐานข้อมูลสำหรับสูติบัตรที่ออกปลายปี พ.ศ. 2492 ถึง สูติบัตรที่ออกใน พ.ศ. 2493 จำนวน 8,535 ราย จัดเก็บได้ร้อยละ 80 (จำนวน 8,535 รายการ) 2.ความพึงพอใจของประชาชนในการตรวจสอบสูติบัตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
190 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear (BFC) ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง) โดยให้มีลักษณะเป็ฯศูนย์รับคำขอด้านทะเบียนราษฏรและการอนุญาตต่างๆ โดยแบ่งพื้นที่รับคำขอและพื้นที่พิจารณาแยกออกจากกัน เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลา เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดีสะดวกสบายโปร่งใสปราศจากการเรียกรับสินบน รับรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเอง ผู้รับบริการศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (BFC) มีความพึงพอใจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
191 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมปรับปรุงระบบสารสนเทศและเว็บไซด์เพื่อให้บริการประชาชน สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตาม สืบค้นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อยจำนวน 12 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
192 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์สำนักงานเขตพระโขนง เพื่อสนับสนุนการดำเนินการให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการประชาชน ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน เว็บไซต์ของหน่วยงานมีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ช่วยอำนวยความสะดวกในการให้บริการแก่ประชาชน เว็บไซต์ของหน่วยงานมีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ตามเกณฑ์ที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระโขนง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
193 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
194 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการจัดเก็บทะเบียนพาณิชย์เพื่อบริการประชาชน ด้วยสำนักงานเขตบางเขน มีนโยบายในการบริหารจัดการหน่วยงานให้เป็นไปตาม พระราชกฤษฎีกาว่าดวยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 5 และหมวด 7 โดยมีเป้าหมายที่มุ่งใหเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน เพื่อการบริการประชาชนด้านการจดทะเบียนพาณิชย์ขึ้น เพื่อสร้างมาตรฐาน ในการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน สามารถอํานวยความสะดวกให้ประชาชนในหน่วยงานได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.เพื่อจัดเก็บใบทะเบียนพาณิชย์ และสะดวกในการค้นหาของเจ้าหน้าที่ 2.เพื่อสะดวกในการค้นหาข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ แก่ผู้มาขอรับบริก 3.เพื่อปรับปรุงกระบวนการใหhริการที่สะดวกรวดเร็วและถูกต้องยิ่งขึ้น 4.เพื่อปรับทัศนคติวิธีคิด วิธีการทํางานของบุคลากรให้คํานึงถึงผลลัพธ์ในด้านการบริการ ประชาชน ผู้มาติดต่อรับบริการ 1.การสแกนใบทะเบียนพาณิชย์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555-2558 จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ 2.ความพึงพอใจในระดับมาก หรือค่าคะแนนเฉลี่ยเกินกว่า 3.51-4.50 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
195 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
196 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 พัฒนาระบบการให้หบริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อบุคคลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อบุคคลสามารถดำเนินการได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวดเร็ว สามารถตรวจสอบและคัดรับรองได้ทุกสำนักทะเบียน ไม่ต้องเดินทางมามาติดต่อขอคัดรัรบรองยังสำนักทะเบียนที่มีต้นขั้วเก็บรักษาไว้ เพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองเอกสารทะเบียนชื่อบุคคล และเป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ บันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลทตั้งแต่ปีที่มีการบันทึกเลขประชาชนลงในต้นขั้วชื่อบุคคล (พ.ศ. 2534 เป็นต้นไป) จำนวน 10,000 รายการ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การคัดรับรองทะเบียนชื่อบุคคลที่สำนักทะเบียนสะดวก รวดเร็ว และประชาชนพึงพอในในการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
197 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกให้ทันสมัยเพื่อให้ประชาชนได้สืบค้นข้อมูล 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน 2.เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสำนักงานเขตหนองจอกที่เป็นปัจุบัน ถูกต้อง และครบถ้วน ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ ตามหัวข้อ ดังนี้ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.เกี่ยวกับองค์กร 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
198 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 การเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านของเขตธนบุรี สำนักงานเขตธนบุรีมีพื้นที่การปกครอง จำนวน 8.556 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 7 แขวง มีจำนวนชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชนฯ จำนวน 44 ชุมชน ปัจจุบันข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนมีความสำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยทะเบียนบ้านของชุมชนเขตธนบุรี ทั้ง 44 ชุมชน ยังไม่มีการเพิ่มรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้าน ทำให้ไม่สามารถทราบฐานข้อมูลบ้านของชุมชน จำนวนคนที่มีรายชื่อในทะเบียนบ้าน ทำให้เกิดปัญหาในการจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในชุมชน ปัญหาคนในชุมชน ไม่สามารถสนองตอบต่อนโยบายการให้บริการสู่ความเป็นเลิศได้ ดังนั้น หากมีการนำข้อมูลของชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการขุมชนฯ มากำหนดเข้าในระบบทะเบียนบ้านแล้ว ทะเบียนบ้านแต่ละหลังที่อยู่ในชุมชน แต่ละชุมชนเข้ากับฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง จะทำให้ข้อมูลบ้านและประชากรในแต่ละชุมชนสามารถสืบค้น คัดแยกข้อมูล ได้อย่างถูกต้องจากรหัสของชุมชนที่กำหนดขึ้น ทำให้การให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการให้มีความสะดวกและมีประโยชน์มากขึ้น 1. เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการข้อมูลบ้านและประชากรในชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้รับความสะดวกเพิ่มขึ้น 2. เพื่อให้การนำข้อมูลของชุมชนมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้สะดวกยิ่งขึ้น เช่น การเลือกตั้งกรรมการชุมชน การบริการสาธารณสุข การเข้า ช่วยเหลือสิทธิต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรในแต่ละชุมชนเป็นปัจจุบันและถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้ 1. เพิ่มระบบรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านของเขตธนบุรี จำนวน 44 ชุมชน ลงในฐานข้อมูลให้ครบทุกหลังคาเรือน 2. เป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการข้อมูลบ้านและประชากรที่อยู่ในชุมชนได้อย่างถูกต้องและสะดวกเพิ่มมากขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
199 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บข้อมูลการขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้บริการประชาชนทางอินเตอร์เน็ต (รักษารอบปี 57) 1. เพื่อให้ประชาชนที่มาขอคัดสำเนาใบอนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร ได้รับความสะดวก รวดเร็ว 2. เพื่อพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น 3. เพื่อให้บริการที่ดีที่สุดแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ เพื่อจัดเก็บข้อมูลสแกนใบอนุญาตการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคารตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530- 2556 เข้าในระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 3,349 ราย และให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
200 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การให้บริการประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ นับว่ามีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่นิยมการศึกษาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่เองก็ได้เห็นความสำคัญของการให้บริการในส่วนนี้และได้จัดทำข้อมูลเพื่อประชาสัมำพันธ์ข้อมูลข่าวสารและเป็นช่องที่สามารถติดต่อสื่อสารกับประชาชนได้สะดวก เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลและการดำเนินงานของหน่วยงานให้ผู้รับบริการทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ตามแนวทางที่กำหนด ทั้ง 5 ด้านคือ ปฏิทินกิจกรรม ปรับปรุงข้องมูล การให้บริการ ข่าวสาร และติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
201 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อย http://203.155.220.217/bangkoknoi หรือ http://www.bangkok.go.th/bangkoknoi เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆและประชาชน ได้สะดวก รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง -ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน -เป็นช่องทางรับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน -เป็นช่องทางตอบคำถามข้อคับข้องใจของประชาชน -เป็นชื่อทางในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารใหักับประชาชน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
202 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตตลิ่งชัน เพื่อให้การบริการข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ภารกิจของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ให้กับประชาชนได้รับทราบเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เพื่อเพิ่มช่องทางการบริการที่สะดวกและรวดเร็วแก่ประชาชน ระดับผลผลิต 5 เรื่องต่อเดือน นับจำนวนข่าวสารที่ดำเนินการเผยแพร่ภายในปีงบประมาณ 1. ข่าวสาร โดยต้องลงวันที่ที่นำข้อมูลออกเผยแพร่ท้ายหัวข้อข่าวสารทุกรายการ ประกอบด้วย 1.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมที่หน่วยงานนำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา 1.2 ภาพกิจกรรมเป็นการนำภาพถ่าย การจัดกิจกรรมมาเผยแพร่ 1.3 ประกาศ เป็นประกาศต่าง ๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ เช่น ประกาศของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงาน ประกาศอื่น ๆ เช่น การรับสมัครงาน ประกาศการจัดซื้อ-จัดจ้าง ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคาการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ระดับผลลัพธ์ ร้อยละ 100 นับจากจำนวนครั้งของการปฏิบัติงานตามข้อ 1 - 3 คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนครั้งทั้งหมดของการปฏิบัติงานตามข้อ 1 - 3 1. ปฏิทินกิจกรรม จะต้องลงกิจกรรมต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในปฏิทินกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน 2. ปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรทุก 1 เดือน 3. เผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
203 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตภาษีเจริญ สำนักงานเขตภาษีเจริญ เล็งเห็นความสำคัญของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน จึงดำเนินการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ในเว็บไซด์สำนักงานเขตภาษีเจริญให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เพื่อให้เว็บไซด์ของหน่วยงานได้รับการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตภาษีเจริญให้เป็นไปตามเกณฑ์และเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตภาษีเจริญ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
204 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขม การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ต้องให้บริการประชาชนซึ่งอยู่ในรูปแบบเว็บไซต์ เป็นช่องทางสื่อสารที่จำเป็นในปัจจุบัน เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร สถิติและกิจกรรมต่างๆให้ประชาชนทราบ ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขมให้เป็นปัจจุบันและเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
205 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางขุนเทียน (ไม่ใช้งบประมาณ) สำนักงานเขตบางขุนเทียนมีการปฏิบัติราชการตามภารกิจของ 10 ฝ่าย เพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลข่าวสาร ภารกิจอำนาจหน้าที่ ให้บริการประชาชน จึงมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ให้เป็นปัจจุบันเพื่อให้ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับทราบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ประชาสัมพันธ์กิจกรรม โครงการต่างๆ ของสำนักงานเขตบางขุนเทียนให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์ ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5. ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
206 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
207 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการจัดเก็บข้อมูลการขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้บริการประชาชนทางอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตดอนเมืองเป็นหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มีภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้องในการให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม สุขอนามัย การศึกษา ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการของสำนักงานเขตดอนเมืองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยที่ 1 (พ.ศ. 2556 - 2560) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (Smart service) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (Smart city) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครจึงต้องมีการกำหนดนิยามของตัวชี้วัดให้มีความชัดเจนดำเนินการศึกษา รวบรวม ข้อมูลเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตดอนเมืองได้ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดเก็บฐานข้อมูลใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร ของฝ่ายโยธา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 - 2559 ซึ่งมีเป็นจำนวนมาก ทำให้การค้นหาเพื่อคัดสำเนาใบอนุญาตรายเก่าต้องใช้เวลานาน ไม่สะดวกต่อประชาชนที่มาขอรับบริการ จึงได้กำหนดให้มีการจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการสแกนใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร (อ.1) ไว้ในฐานข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตดอนเมือง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี สะดวกแก่การค้นหา และลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ 2. เพื่อเพิ่มช่องทางในการบริการประชาชนด้านการเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานได้สะดวก 3. เพื่อเพิ่มความสะดวกและความรวดเร็วต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าาที่ในการตรวจสอบข้อมูลใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร 4. เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 ของการสำรวจตามโครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
208 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 จัดเก็บทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันการให้บริการของฝ่ายทะเบียนจะบริการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ แต่ยังมีข้อมูลงานทะเบียนบางประเภทที่ยังไม่ได้มีการจัดเก็บลงระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถให้บริการผ่านระบบออนไลน์ได้ เช่นข้อมูลของทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมบางส่วนที่เป็นข้อมูลเก่าก่อนการเปิดให้บริการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะไม่สามารถตรวจสอบและคัดรับรองจากฐานข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมได้ เกิดความยุ่งยากในการตรวจสอบ และทำให้ผู้มารับบริการไม่ได้รับความสะดวกและเกิดความล่าช้าในการให้บริการ ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตจตุจักรจึงได้จัดทำโครงการจัดเก็บทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการจัดเก็บข้อมูลการทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ตั้งแต่ พ.ศ.2532-2551 ซึ่งเป็นข้อมูลที่ยังไม่ได้ดำเนินจัดเก็บลงระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำให้การบริการตรวจสอบและคัดรับรองข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเอกสารที่ต้องมีการจัดเก็บลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการ 3. เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการนำทรัพยากรขององค์กรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด และมีทัศนคติที่ดีต่อการให้บริการของฝ่ายทะเบียน ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนรับบุตรบุญธรรมและทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2532-2551 ลงฐานข้อมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
209 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 เพิ่มรหัสชุมชนในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ข้อมูลจำนวนบ้านและจำนวนประชากรมีความจำเป็นต่อการกำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและการพัฒนาในด้านต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกันระหว่างจำนวนบ้านและบุคคลที่อยู่อาศัยในทะเบียนบ้าน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงบริการและสวัสดิการต่างๆ ที่รัฐจัดสรรให้ ดังนั้น ถ้าได้มีการนำข้อมูลชุมชนมากำหนดไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร โดยกำหนดรหัสแต่ละชุมชนเข้าไว้ในฐานข้อมูลบ้านแต่ละหลังในแต่ละชุมชน ก็จะทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลบ้าน และข้อมูลประชากร ในแต่ละชุมชนได้อย่างถูกต้องตามรหัสชุมชนที่กำหนดขึ้น สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการเลือกตั้งกรรมการชุมชน การตรวจสอบบุคคลในชุมชน ใช้ในด้านการศึกษา การสาธารณสุข ทำให้สามารถให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการที่สะดวก และนำระบบสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเพิ่มข้อมูลประเภทชื่อชุมชนในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎรในพื้นที่เขตจตุจักร 2. เพื่อให้ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ สามารถนำข้อมูลบ้านที่ได้ระบุชุมชนไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ตามที่กฎหมายกำหนด 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการนำระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ 4. เพื่อให้ทราบจำนวนบ้านในแต่ละชุมชนที่ถูกต้องตรงตามฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร 1. เพิ่มรหัสชุมชน จำนวน 42 ชุมชน ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร 2. เพิ่มช่องทางการให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับบ้าน และประชากรที่อยู่ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง และสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
210 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ สำนักงานเขตบึงกุ่ม ให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบึงกุ่ม อย่างน้อย เดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
211 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซด์สำนักงานเขตสาทร หน่วยงานมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็ปไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ และติดต่อเรา 1. เพื่อสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลในทุก ๆ ด้านของสำนักงานเขตสาทรเป็นไปอย่างมีระบบ ทันสมัย และเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อให้การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผลงาน ข่าวเขตสาทร ข้อมูลต่างๆ ผ่านทางเว็บไซด์เขตสาทร ซึ่งสามารถนำไปใช้อ้างอิงได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกใหม่ให้กับผู้ต้องการข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตสาทร 5. เพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ การร้องทุกข์ 6. เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการให้บริการแก่ประชาชน 1. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผลงานต่าง ๆ ของเขตสาทร ไปยังกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด 2. เพื่อให้การปรับปรุงเว็บไซด์เขตสาทรมีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได้ศึกษาค้นคว้า และใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง 4. เพื่อเป็นสื่อกลางในการติดต่อสอบถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
212 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
213 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางคอแหลม 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ของเขตให้ประชาชนทั่วไปทราบ 2. เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ จากประชาชน นำมาพัฒนาการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ของเขตให้ประชาชนทั่วไปทราบ 2. เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ จากประชาชน นำมาพัฒนาการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลคะแนน 90 คะแนน 1. ปฏิทินกิจกรรม (10 คะแนน/ปี) โดยหน่วยงานดำเนินการตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 59 – สิงหาคม 60 ซึ่งจะต้องลงกิจกรรมต่างๆ ที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในปฏิทินกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือนและดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. เกี่ยวกับองค์กร (20 คะแนน/ปี) ดังนี้ 2.1 ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน 2.2 โครงสร้าง/ผู้บริหาร 2.3 แผนปฏิบัติราชการ 2.4 สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน ส่วนราชการ โดยแบ่งการให้คะแนน ดังนี้ 1) การนำเข้าข้อมูลให้ครบถ้วนทุกรายการ (5 คะแนน) มีกำหนดเวลาดำเนินการ ดังนี้ - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ธ.ค. 2559 ได้รับ 5 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ม.ค.2560 ได้รับ 4 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน ก.พ.2560 ได้รับ 3 คะแนน - ลงข้อมูลครบถ้วน ภายใน มี.ค.2560 ได้รับ 2 คะแนน หากพ้นจากที่กำหนด จะไม่ได้รับคะแนนในส่วนนี้ 2) การปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน (ข้อ 2.2 และข้อ 2.4) (15 คะแนน) ดังนี้ - ครั้งที่ 1 แล้วเสร็จภายใน 25 มี.ค.60 - ครั้งที่ 2 แล้วเสร็จภายใน 25 มิ.ย.60 - ครั้งที่ 3 แล้วเสร็จภายใน 25 ก.ย.60 3. ข่าวสาร (48 คะแนน) โดยต้องลงวันที่ที่นำข้อมูลออกเผยแพร่ท้ายหัวข้อข่าวสารทุกรายการ หากไม่ลงวันที่จะไม่นำเรื่องนั้นๆมารวมเพื่อคิดเป็นผลคะแนน ประกอบด้วย 3.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข่าวกิจกรรมที่หน่วยงานนำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา 3.2 ภาพกิจกรรมเป็นการนำภาพถ่ายการจัดกิจกรรมมาเผยแพร่ 3.3 ประกาศ เป็นประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ เช่น ประกาศของกรุงเทพมหานคร/หน่วยงาน ประกาศอื่นๆ เช่น การรับสมัครงาน ประกาศเกี่ยวกับการจัดซื้อ-จัดจ้าง เช่นประกาศประกวดราคาประกาศสอบราคา ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ โดยแบ่งการให้คะแนน ดังนี้ - ปรับปรุง 2 ครั้ง/เดือน ได้ 1 คะแนน - ปรับปรุง 3 ครั้ง/เดือน ได้ 2 คะแนน - ปรับปรุง 4 ครั้ง/เดือน ได้ 3 คะแนน - ปรับปรุง 5 ครั้ง/เดือน ได้ 4 คะแนน ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 4. การให้บริการ (18 คะแนน ) ประกอบด้วย 4.1 การให้บริการของหน่วยงาน (10 คะแนน) เป็นการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอนระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ โดยลงช้อมูลแล้วเสร็จ ภายใน มี.ค.60 หากพ้นจากที่กำหนด จะไม่ได้รับคะแนนในส่วนนี้ 4.2 แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ (8 คะแนน)เป็นแบบฟอร์มการให้บริการของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัด สนป.ซึ่งดำเนินการเพิ่มเติมจากปีที่ผ่านมา 1 แบบฟอร์ม เสร็จภายในเดือน ก.พ.60 ได้รับ 4 คะแนนและดำเนินการเพิ่มเติมจากเดือน ก.พ.60 อีก 1 แบบฟอร์มเสร็จภายในเดือน พ.ค.60 ได้รับอีก 4 คะแนน 5. ติดต่อเรา (4 คะแนน) ต้องแสดงข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(e-mail) และแผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน โดยดำเนินการแล้วเสร็จ ภายในเดือนธันวาคม 2559 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
214 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต - หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน ๗๗ หน่วยงาน - เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) หรือเว็บไซต์ที่หน่วยงานจัดทำขึ้น และมีการ Link มายังเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร - ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตามข้อ ๑ ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย - ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เพื่อให้เพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตให้แก่ประชาชน กำหนดและปรับปรุงหัวข้อในเว็บไซต์ 5 หัวข้อ ดังนี้ 1 ปฏิทินกิจกรรม 2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3 ข่าวสาร 4 การให้บริการ 5 ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
215 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
216 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานและแผนที่ สำนักงานเขตบางพลัด สำนักงานเขตบางพลัดในฐานะหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะ การบริหารการปกครอง ความมั่นคง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งจำเป็นต้องมีการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่ตั้งชุมชน หน่วยออกเสียง และข้อมูลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง นำไปจัดแผนที่แสดงการดำเนินการลงในเว็บไซต์ Google maps ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน การวางแผนและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านที่ 9 เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน มิติที่ 9.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป้าประสงค์ที่ 9.5.1 นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการประชาชน มาตรการสร้างข้อมูลสารสนเทศเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน ของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2560 1. เพื่อเป็นคลังข้อมูลของสำนักงานเขตบางพลัด 2. เพื่อสร้างแผนที่ข้อมูล GIS โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 4. เพื่อประโยชน์ในการศึกษาของนักศึกษา และประชาชนทั่วไป จำนวนแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 แผนที่ (นับจากจำนวนแผนที่ที่ได้จัดทำแล้วเสร็จและสามารถเผยแพร่ให้บริการประชาชนผ่าน Google map และเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
217 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงบริการต่างๆในกทม. มีการลงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 1 เพื่อให้การรายงานข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางพลัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพิ่อปรับปรุงข่าวสารของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด อย่างน้อย 3 หัวข้อต่อเดือน ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม มีการลงกิจกรรมต่างๆที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน และดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ประกอบด้วย ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน โครงสร้าง/ผู้บริหาร แผนปฏิบัติราชการ สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน และข้อมูลทางกายภาพ 3. ข่าวสาร เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรมที่ได้นำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา ภาพกิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินการ ประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ 4. การให้บริการ การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอน ระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ ตามภารกิจหน้าที่ของสำนักงานเขตครบทุกฝ่าย 5. ติดต่อเรา ข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และ แผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
218 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็ปไซต์สำนักงานเขตจอมทอง เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ภาพกิจกรรม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน เพื่อปรับปรุงข้อมูลต่างๆ ในเว็ปไซต์ของสำนักงานเขตจอมทองให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ดำเนินการปรับปรุงเว็ปไซต์แต่ละหัวข้อ ดังนี้ 1. ปฏิทินกิจกรรม 12 คะแนน 2. เกี่ยวกับองค์กร 20 คะแนน 3. ข่าวสาร 48 คะแนน 4. การให้บริการ 16 คะแนน 5. ติดต่อเรา 4 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
219 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสวนหลวงให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อบริการประชาชน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชนเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกที่มากขึ้น 1.เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้านการให้บริการผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อพัฒนาหน่วยงานของกรุงเทพมหานครให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัยมีข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
220 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมพัฒนาเว็บไซต์หลักสี่เพื่อบริการข้อมูลแก่ประชาชน ปัจจุบันการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต้องมีความถูกต้องและรวดเร็ว ดังนั้นสำนักงานเขตหลักสี่จึงมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานและให้บริการบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ปฏิทินกิจกรรม 3.2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3.3 ข่าวสาร 3.4 การให้บริการ 3.5 ติดต่อเรา - ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานให้มีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน - เผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของสำนักงานเขตเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้รับทราบ - เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของสำนักงานเขต - เว็บไซต์ของหน่วยงานได้รับการให้มีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน - เผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของสำนักงานเขตเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้รับทราบทุกสัปดาห์ - เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของสำนักงานเขตและปรับปรุงให้ทันเหตุการณ์ 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
221 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสำนักงานเขตหลักสี่ ผ่านแอพพลิเคชั่น Line@ ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทำให้การติดต่อสื่อสารมีความสะดวก รวดเร็วขึ้น ซึ่งแอพพลิเคชั้น Line@ เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะทำให้การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูล ข่าวสาร เกิดความรวดเร็ว สำนักงานเขตหลักสี่จึงได้นำ Line@ มาให้ประโยชน์ในการส่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ต่างๆให้ประชาชนได้ทราบ เพื่อที่จะช่วยทำให้ประชาชนและผู้รับบริการ ได้รับความสะดวก รวดเร็วในการติดต่อกับสำนักงานเขตหลักสี่ - จำนวนผู้ติดตามผ่านเครือข่ายแอพพลิเคชั่น Line@ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 100 ราย -ผู้ติดตามผ่านเครือข่ายแอพพลิเคชั่น Line@ มีความพึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
222 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear(BFC) การดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร การดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ผู้รับบริการของศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear (BFC) เกิดความพึงพอใจสูงสุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
223 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2560 โครงการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม โครงการ ด้วยระบบสารสนเทศและเว็บไซต์ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม โครงการ ด้วยระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เป็นการเพิ่มช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างประชาชนและสำนักงานเขต เพื่อช่วยให้ภาคเอกชนและภาคส่วนต่างๆ รับรู้การทำงานและเกิดเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน 1. เพื่อให้ข้อมูลของเขตสายไหมเป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลของสำนักงานเขตได้ เพื่อให้ประชาชนผู้มาใช้บริการของสำนักงานเขตสายไหมและประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตสายไหมได้อย่างสะดวก รวดเร็วและได้ข้อมูลที่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
224 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ด้วยการบริการของสำนักงานเขตคันนายาว จำเป็นต้องให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมไปถึงการให้บริการด้านอิเล็กทรอกนิกส์ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว และสะดวกมากยิ่งขึ้น จึงต้องมีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อยู่เสมอ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอีเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
225 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์การประเมินผล สำนักงานเขตวังทองหลางวังทองหลาง เล็งเห็นความสำคัญของเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน จึงดำเนินการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ในเว็บไซต์สำนักงานเขตวังทองหลางให้เป็นปัจจุบัน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว 1. เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเป็นปัจจุบัน 2. เพื่อให้ประชาชนหรือผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวก ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของสำนักงานเขตวังทองหลาง เป้นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
226 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของสำนักงานเขตคลองสามวา ปรับปรุงเว็ปไซค์สำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตคลองสามวาได้อย่างรวดเร็ว 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์ของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านการบริหารจัดการแนวใหม่ 3 . เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
227 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 ปรับปรุงเว็บไซต์เขตบางนาให้เป็นปัจจุบัน ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตบางนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตบางนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเผยแพประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตบางนา 2. ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางนาให้เป็นปัจจุบัน 3. เพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชน หน่วยงานมีการปรับปรุงเว็บไซต์ ทุก 15 วัน จำนวนครั้งในการปรับปรุงมากกว่า 2 ครั้ง/เดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
228 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 กิจกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตทวีวัฒนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตทวีวัฒนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้กับประชาชน 2. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน มีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงาน จำนวน 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. เกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5.ติดต่อเรา ให้เป็นปัจจุบัน โดยปรับปรุงอย่างน้อย 2 หัวข้อต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
229 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตทุ่งครุ เพิ่มระบบสารสนเทศและ/หรือระบบภูมิสารสนเทศเพื่อบริการประชาชนหรือหน่วยงานภาครัฐ (e-Service/m-Service) เพิ่มระบบสารสนเทศและ/หรือระบบภูมิสารสนเทศเพื่อบริการประชาชนหรือหน่วยงานภาครัฐ (e-Service/m-Service) และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานราชการอิเล็กทรอนิกส์ ปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตทุ่งครุ 2 ครั้งต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
230 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2560 โครงการปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทะเบียนราษฎร 1.เพื่อปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนราษฎร ให้เป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการสืบค้น และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง สร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ 2.เพื่อรวบรวมข้อมูลดัชนีของแฟ้มเอกสารต่างๆ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 1.ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารงานทะเบียนราษฎร ประเภทใบแจ้งย้ายถิ่นที่อยู่ ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2541 - 30 กันยายน 2560 2.ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารทะเบียนบ้านฉบับปี 2499, ปี 2515, ปี 2526 และปี 2530 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
231 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 5.กิจกรรมการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร(สำนักงาน ก.ก.) ได้มีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร โดยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. และเชื่อมโยงกับเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ ดังนั้นเพื่อให้การบริการข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครบนเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. มีความทันสมัย จึงจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุง/พัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ให้มีการจัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าใช้บริการให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. สามารถให้บริการข้อมูล ข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจความรับผิดชอบที่มีความทันสมัย ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
232 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 7. กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการให้เป็นศูนย์ฯ โดดเด่น (ฝอ.) นายกรัฐมนตรีกำหนดให้ปี 2560 เป็นปีแห่งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ ทุกส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐทุกแห่งมีศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ รวมทั้งให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีีร่วมกับทุกหน่วยงานเปิดเผยข้อมูลข่าวสารในการบริหารงานภาครัฐให้ได้ภายในปี 2560 และนำผลงานมาคัดเลือกเพื่อมอบประกาศเกียรติคุณศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการโดดเด่น ซึ่งหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 หน่วยงาน สมัครเข้ารับการคัดเลือก และสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารโดดเด่น สำหรับปี 2561 กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จะดำเนินการผลักดันให้หน่วยงานอื่น ๆ มีการดำเนินการได้ระดับเกณฑ์มาตรฐานขั้นสูงจนกระทั่งสามารถสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ โดดเด่นได้ กระตุ้นให้หน่วยงานมีความตื่นตัวในการดำเนินการอันเป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย และส่งผลให้หน่วยงานมีการดำเนินการด้านข้อมูลข่าวสารเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน เป็นการยกระดับคุณภาพการดำเนินการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพ-มหานคร และสอดรับกับนโยบายการบริหารงานของผู้ว่าราชการกรุงเทพเทพมหานคร "นโยบายทันใจ" นโยบายที่ 1 สะอาด (CLEAN) การบริหารราชการใสสะอาด - กระตุ้นให้หน่วยงานมีความตื่นตัวในการดำเนินการอันเป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย และหน่วยงานมีการดำเนินการศูนย์ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐาน - ผลักดันให้หน่วยงานสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารโดดเด่น ไม่น้อยกว่า 8 หน่วยงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
233 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 (5) กิจกรรมการส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 เพื่อจัดทำฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหานคร 2 เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของลูกจ้างกรุงเทพมหาครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีการใช้องค์ความรู้ และนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 80 ของผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
234 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 (16) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของกองการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
235 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล และบันทึกเป็นฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในหน่วยงาน จำนวนองค์ความรู้ด้านการตรวจสอบภายใน หรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การประชุม การเผยแพร่ในระบบอินทราเน็ต การจัดทำคู่มือ การจัดทำรายงาน ฯลฯ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
236 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ การส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ หรือเริ่มที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยรับตรวจ จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
237 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน การจัดทำระบบสารสนเทศและเว็บไซต์เพื่อให้บริการประชาชน และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายในมีการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ จำนวนครั้งของการปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข่าวสารกิจกรรม การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ฯลฯ บนเว็บไซต์ของสำนักงานตรวจสอบภายใน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
238 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดเก็บรายงานผลการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในสามารถนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน การนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายในได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่นำเข้าเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ภายใน ๑๐ วันทำการ นับถัดจากวันที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครลงนาม 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
239 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 2. โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นองค์กรหลักที่มีหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรและองค์กรของกรุงเทพมหานครอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง มุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการโดยยึดหลักสมรรถนะและการพัฒนาขีดความสามารถ เพื่อให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ ส่วนวิชาการ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร โดยจัดทำระบบ e-Learning ซึ่งได้รับความสนใจจากข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานครเข้าเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวเน้นการเรียนรู้จากความสนใจของผู้เรียนที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดทักษะที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง 1. เพื่อให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ online ได้ตามความสะดวกทั้งด้านเวลา และสถานที่ 2. เพื่อให้มีหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ผ่านระบบสารสนเทศ ที่รองรับรูปแบบการเรียนรู้ในอนาคต 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สถาบันฯ ในการควบคุม และพัฒนาระบบการเรียน online จัดทำเนื้อหาการเรียนรู้และให้บริการในระบบ e - Learning ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง/ปี เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร และผู้สนใจทั่วไป สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ online ซึ่งจะรองรับได้ไม่ต่ำกว่าปีละ 500 คน 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
240 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 29. กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการวางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นปัจจุบัน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจในการพัฒนาองค์การและทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จึงได้มีการจัดเก็บฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการแต่ละหลักสูตรที่สถาบันฯ เป็นผู้จัดดำเนินการ 1. เพื่อออกแบบและจัดทำระบบฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2561 ของสถาบันฯ ร้อยละ 90 ของความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
241 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติฯ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,000,000.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
242 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (กพส.) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน โดยกองการพยาบาลสาธารณสุข เริ่มการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 มีรายงานจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่จากการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระหว่างเดือน เมษายน-กันยายน 2559 มีจำนวน 4,784 ราย และระหว่างเดือนตุลาคม 2559 -มีนาคม 2560 มีจำนวนถึง 9,273 ราย นับว่าเป็นสถานการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาโปรแกรม การจัดเก็บข้อมูลของผู้ป่วยและผู้สูงอายุเพื่อการดูแลต่อเนื่อง (Home Health Care) นั้น โปรแกรมในส่วนของระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และระบบการให้การพยาบาลในลักษณะ Home Ward ของศูนย์บริการสาธารณสุข ยังมีข้อจำกัดในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน เนื่องจากข้อจำกัดของการพัฒนาโปรแกรม รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล ในปัจจุบันที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงความต้องการในการใช้ข้อมูลทางการรักษาพยาบาลและข้อมูลการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะข้อมูลพยาบาลผู้จัดการสุขภาพ (Nurse Care Manager) ข้อมูลผู้ดูแลช่วยเหลือ (Caregiver) ข้อมูลแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ซึ่งเป็นข้อมูลที่สนับสนุนการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพของการพยาบาล ได้แก่แผนการจัดระบบการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) การพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา เพื่อวางแผนให้การพยาบาลผ่านระบบสารสนเทศ เชื่อมโยง Family doctor เชื่อมโยงการสั่งการรักษาพยาบาลผ่านระบบ Telemedicine เป็นการนำเทคโนโลยีมาช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลเครือข่าย เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางและค่าใช้จ่ายเพื่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล เป็นบริการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ปัจจุบัน กองการพยาบาลสาธารณสุขตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้เกิดระบบงานที่สนับสนุนการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ให้เกิดความรวดเร็ว เพื่อการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของหน่วยบริการปฐมภูมิอย่างเหมาะสมไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวมากเกินไป ให้บริการดูแลด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตามปัญหาสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี เข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้างสังคมแห่งความเอื้ออาทร และสมานฉันท์ กองการพยาบาลสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถช่วยให้กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และส่งมอบบริการที่ดีมีคุณภาพให้กับประชาชนต่อไป 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาลและการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน ในการบริหารจัดการงานการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) และการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศให้สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระหว่างหน่วยงาน กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานครโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และ สถานพยาบาลเครือข่าย ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และให้อยู่บนระบบ Cloud ของ กรุงเทพมหานคร 3 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 4 เพื่อพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ดูแล (Mobile Application for Caregiver) สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 1 ระบบสารสนเทศสามารถใช้งานระบบการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างประสิทธิภาพ โดยมี 1.1 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 1.2 ระบบการรายงาน (Management Report Systems) 1.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Report System) 1.4 ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems) 2 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 3 ระบบสารสนเทศเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลการรักษาพยาบาลและระบบการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านระหว่างหน่วยงาน ได้แก่โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร และอยู่บนระบบ Cloud ของ กทม. 4 ระบบสารสนเทศของแผนการพยาบาลเฉพาะโรค แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Nursing Care Plans) 5 โมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile Application for Caregiver) สำหรับผู้ดูแล (Caregiver) สามารถใช้งานสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 1 ระบบ 15,918,258.00 0.00 สำนักอนามัย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
243 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment การดำรงชีวิตของผู้คนในปัจจุบันต้องการความสะดวก รวดเร็ว โดยเฉพาะการให้บริการภาครัฐ ซึ่งต้องมีบริหารจัดการที่รวดเร็วซึ่งปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการชำระภาษีอยู่แล้วรวม 7 ช่องทาง เพื่อเพิ่มความพึงพอใจแก่ประชาชนจึงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาเพิ่มช่องทางการรับชำระภาษีอีก 1 ช่องทาง คือ การรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกปลอดภัย โดยไม่ต้องพกเงินสดรวมทั้งไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จจ่าย 1.เพื่ออำนวยความสะดวกและเพิ่มทางเลือกการชำระให้แก่ประชาชนผู้ชำระจากธนาคารเดียวเป็นหลายธนาคาร 2.เพื่อให้บริหารประชาชนในการชำระภาษี ด้วยวิธีการที่ทันสมัย สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน 3.พัฒนารูปแบบการให้บริการของกรุงเทพมหานคร เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Goverment) 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานด้านการเงิน และการจัดเก็บรายได้ของกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเพิ่มบริการทางเลือกให้แก่ประชาชนในการชำระภาษี 3.ประชาชนมีความพึงพอใจในการให้บริการของกรุงเทพมหานครเพิ่มมากขึ้น 500,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
244 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
245 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 โครงการ Application Bangkok2U รู้ทันเหตุการณ์ สำนักการจราจรและขนส่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการอำนวยความสะดวกด้านการจราจรที่มีเครือ ข่ายข้อมูลที่สามารถต่อยอดและใช้ประโยชน์เพื่อการบริการข้อมูลการเดินทางและการท่องเที่ยวของประชาชนและผู้มาเยือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิเช่น ข้อมูลจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ข้อมูลจากสำนักระบายน้ำ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รวมถึงข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมอุตุนิยมวิทยา บก.จร. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น ปัจจุบันกรุงเทพมหานครประสบปัญหาด้านการจราจรซึ่งมีสภาพหนาแน่นและติดขัด เนื่องจากปริมาณจำนวนยานพาหนะที่เพิ่มขึ้น มีการก่อสร้างรถไฟฟ้าหลายสาย และปัญหาอีกส่วนหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสภาพการจราจรในกรุงเทพมหานครคือ ปัญหาน้ำท่วมขังผิวการจราจรหลังจากเกิดเหตุฝนตกหรือปริมาณน้ำฝนจำนวนมากที่รอการระบายลงสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ ทำให้เกิดปัญหาสภาพการจราจรที่ติดขัดสะสมเพิ่มมากขึ้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว ทำให้เกิดปัญหาวิกฤตการจราจรเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมง โครงการ Application Bangkok2U เป็นหนึ่งในภารกิจของผู้ว่ากรุงเทพมหานครที่ได้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรุงเทพมหานครในการบริการประชาชนและผู้มาเยือนในเขตกรุงเทพมหานครในทุกๆ ด้าน เพื่อบริหารและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและผู้มาเยือนในการรับข้อมูลข่าวสารจากกรุงเทพ มหานคร เช่น ตรวจสอบสภาพการจราจรรับทราบข้อมูลสภาพอากาศ ข้อมูลสถานการณ์ฝนตก และการระบายน้ำท่วมขังในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แบบเป็นปัจจุบัน (Real Time) และข้อมูลเส้นทางรถและเรือสาธารณะ เป็นต้น นอกจากนี้ทางประชาชนและผู้มาเยือนยังสามารถรับข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร และแจ้งเหตุได้ด้วย ผ่านทาง Application Bangkok2U บนสมาร์ทโพนในระบบ IOS และ Android หรือ คอมพิวเตอร์ชนิดแท็บเล็ต (Tablet) และผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อให้ประชาชนเตรียมตัวได้ทันท่วงที เลือกวางแผนหรือจัดการเส้นทางการเดินทางได้อย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงเส้นทางที่สภาพการจราจรที่หนาแน่น เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางลดพลังงานเชื้อเพลิง ลดมลภาวะทางด้านอากาศและเสียง 1 พัฒนา Application Bangkok2U เพื่อให้ประชาชนและผู้มาเยือนได้มีข้อมูลในการตัดสินใจในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) อาทิเช่น ข้อมูลสภาพฝน สภาพน้ำท่วม สภาพจราจรบนท้องถนน และข้อมูลอื่นที่เป็นประโยชน์ในการเดินทางและการท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร 2 สร้างช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลข่าวสารและข้อเสนอแนะในการเดินทางและการท่องเที่ยวที่สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย 32,900,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
246 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,699,099.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 94.54
247 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ทุก 15 วัน สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
248 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง - การจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง หมายถึงหน่วยงานสามารถจัดทำ งบการเงินประจำปีได้ถูกต้อง ตามคู่มือการบัญชีกรุงเทพมหานครโดยสามารถส่งงบการเงินให้กองบัญชี สำนักการคลัง ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 - กองบัญชีฯ จะตรวจสอบงบการเงินประจำปีของหน่วยงานโดยกระทบยอดและตรวจสอบความสัมพันธ์ของรายการบัญชีของหน่วยงานและสอบยันยอดบัญชีของส่วนกลางเฉพาะรายการบัญชีที่ต้องยืนยันยอดระหว่างส่วนกลางและหน่วยงาน - สำนักการคลังโดยกองบัญชี ตรวจสอบความถูกต้องและประเมินผลสำเร็จตามกรอบการประเมินและเกณฑ์การให้คะแนนในตัวชี้วัดจากความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
249 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง ความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง เพื่อความสำเร็จของการจัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง จัดทำงบการเงินทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
250 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง ความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง เพื่อจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2560 ทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
251 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต คิดเป็นร้อยละ 80 (ตามเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2561) 26,855,300.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2019-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
252 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 16 แผนภาพต่อไป 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
253 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปัจจุบันนี้ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2556-2560) ในประเด็น-ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) แต่เนื่องจากข้าราชการ ของกรุงเทพมหานครยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.1.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่าง ๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้งสามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.1.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรม แบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2. หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 75 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2.1 ด้านการใช้ทรัพยากรส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 25 คน 2.2 ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 25 คน 452,000.00 227,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-03 00:00:00 2018-02-15 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
254 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการการใช้งานระบบสารสนเทศสนับสนุนการเชื่อมโยง หนึ่งแอพพลิเคชั่นจะมีชุดชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านหนึ่งชุด ยิ่งในองค์กรขนาดใหญ่มีหลากหลายแอพพลิเคชั่น ผู้ใช้บริการก็จะมีความยุ่งยากในการจดจำรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านของแต่ละระบบ การพัฒนาเทคโนโลยีการเข้าถึงการใช้บริการของระบบด้วยการพิสูจน์ตัวตนเพียงครั้งเดียว (Single Sign-On : SSO) ช่วยแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น เพราะ SSO จะจัดการให้ผู้ใช้บริการกรอกล็อกอินเพียงครั้งเดียว ก็จะสามารถเข้าใช้งานระบบทุกระบบที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ จึงช่วยลดปัญหาการจดจำรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ปัญหาการต้องเปลี่ยนรหัสผ่านในทุกแอพพลิเคชั่นเมื่อถึงเวลาอันควร ปัญหาความล่าช้าในการล็อกอิน ความพยายามล็อกอินซ้ำ ๆ การลืมรหัสผ่านหรือรหัสผ่านหมดอายุ 1 เพิ่มประสิทธิผลการทำงานของผู้ใช้ (Improved user productivity) ผู้ใช้งานระบบใช้การล็อกอิน ครั้งเดียวและเข้าใช้ได้ ทุกแอพพลิเคชันที่ตนเองมีสิทธิ์ 2 ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาทรัพยากรในการจัด เก็บ Username และ Password (Reduced account maintenance) 3 ง่ายต่อการรักษาความปลอดภัยของระบบ (Strengthen security) 4 ช่วยให้การพัฒนาระบบเป็นไปอย่างรวดเร็ว (Improved developer productivity) 5 ช่วยให้การบริหารจัดการง่ายขึ้น (Simplified administration) 1 รวบรวมข้อมูลผู้ใช้งาน สิทธิ์ในการเข้าถึงระบบงาน และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำเป็นฐานข้อมูล 2 มีระบบการจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน สิทธิ์ในการเข้าถึงระบบงาน และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 3 มีระบบบริหารจัดการผู้ใช้งานของกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยและลดความซ้ำซ้อน ในการจัดเก็บข้อมูล เป้าหมายร้อยละ 80 49,989,300.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
255 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ตามโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 ระยะเวลาที่ผ่านการใช้งานมานานกว่า 5 ปี ทำให้อุปกรณ์มีสภาพที่เก่าและคุณสมบัติต่ำลงเมื่อเทียบกับภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในเทคโนโลยีปัจจุบัน และมีความสามารถไม่ทันกับภัยคุกคามของเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยงานเห็นความสำคัญตรงจุดนี้จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการปรับปรุง ระบบเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ตามโครงการระบบรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 เพื่อป้องกันปัญหา ภัยคุกคามต่าง ๆ ที่มีการพัฒนารูปแบบการโจมตีอย่างรวดเร็วและซับซ้อน ในปัจจุบันเพื่อทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยเดิมที่มีอยู่ทำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันความเสียหายจากภัยคุกคามและผู้ไม่หวังดีต่อระบบการทำงานของกรุงเทพมหานคร เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันภัยระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ให้มีความสามารถเชิงการป้องกันและรักษาความปลอดภัย โดยไม่มีช่องโหว่ตลอดเวลา และสามารถวิเคราะห์ปัญหาการโจมตีเพื่อการป้องกันในอนาคตได้ จัดหาอุปกรณ์ป้องกันภัยระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ เพื่อป้องกันภัยคุกคามทุกด้านต่อการทำงานของระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร เป้าหมายร้อยละ 80 49,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
256 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการศึกษาดูงานสารสนเทศการวางแผน การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครในแต่ละด้าน กรุงเทพมหานครควรมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ให้แก่นักวิเคราะห์นโยบายและแผนรวมทั้งผู้บริหารกรุงเทพมหานครใชัประกอบการตัดสินใจในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อให้คณะผู้บริหาร และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการข้อมูลสารสนเทศ 2. เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ และวางแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร 1. คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน 40 คน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
257 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน” การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. การบริหารราชการมีเป้าหมายสุดท้าย คือ ทำให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ซึ่งพยายามให้เกิดความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการมีประสิทธิภาพมีประสิทธิผล ฯลฯ ล้วนแต่ต้องการให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ หากปฏิบัติงานแล้วผู้รับบริการไม่พึงพอใจยังไม่นับว่ามีการปฏิบัติงานและการบริหารราชการได้ตามเป้าหมายอย่างแท้จริง การวัดความพึงพอใจจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงาน โดยครอบคุมประเด็นต่างๆ เช่น 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กโทรนิกส์ 4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน ฯลฯ ดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.25ุ61 โดยได้ระดับความพึงพอใจ ระดับ 5 โดยรอการประสานงานจากผู้ตรวจราชการ เกี่ยวกับแบบสำรวจ ซึ่งมีจำนวน 300 ชุด ตามกลุ่มเป้าหมายที่จะมีการกำหนดจากผู้ตรวจราชการ โดยดำเนินการสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการ เรื่องการให้บริการของสำนักสิ่งแวดล้อม ในประเด็นต่างๆ เช่น 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กโทรนิกส์ 4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน ฯลฯ 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
258 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) หน่วยงานจำเป็นต้องคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาจากภารกิจ อำนาจหน้าที่ สภาพปัญหาในการปฏิบัติงาน ความต้องการของผู้รับบริการหรือประเด็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อผู้รับบริการ ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข/พัฒนาการให้บริการ หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ โดยนำแนวคิด/เทคนิคทางการบริหารสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน 2. เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ผู้รับบริการของหน่วยงาน หมายถึง 1. ประชาชนผู้มารับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร หรือ 2. บุคลากรหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่ได้รับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
259 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินการตามมาตรการเสริมสร้างธรรมมาภิบาลเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบได้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกรุงเทพมหานครจึงได้กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร และให้ทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครนำแผนดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดระบบการทำงานที่ดี สามารถป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นที่อาจจะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน 1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธ์ศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงานในตรวจสอบ แก้ไข เมื่อเกิดการทุจริตหรือกำลังจะเกิด จากการได้รับข้อมูลการทุจริตในหน่วยงานอันมีสาเหตุมาจากพฤติการณ์อันมิชอบของเจ้าหน้าที่ในสังกัด 1. สำนักสิ่งแวดล้อมมีการกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ 2. สำนักสิ่งแวดล้อมสามารถนำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของสำนักสิ่งแวดล้อมบรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในองค์กร 3. สำนักสิ่งแวดล้อมเกิดภาพลักษณ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
260 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการ และการดำเนินการติดตามความคืบหน้าของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนผู้รับบริการได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานครซึ่งปรากฏในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS)โดยให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถจัดการกับเรื่องร้องเรียนได้ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
261 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2561 ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยในมิติที่ ๒ ด้านประสิทธิภาพของการของการปฏิบัติราชการ ได้กำหนดกรอบในการประเมินประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ประกอบกับผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ได้มอบหมายให้กองนโยบายและแผนงานจัดทำแผนการบริหารโครงการ/กิจกรรม และแผนการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น เพื่อให้สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีได้ตามตามเป้าหมายที่กำหนด กองนโยบายและแผนงานจึงกำหนดจัดกิจกรรม “การสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารโครงการ/กิจกรรม และแผนการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวมีระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (DSS: Decision Support System) ในการบริหารโครงการ/กิจกรรม และติดตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๖๑ ของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
262 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ผ่านระบบ และสามารถแก้ไข/ชี้แจงได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของประชาชน จัดให้มีระบบร้องเรียนหรือรับเรื่องราวร้องทุกข์และการแจ้งกลับผู้ร้องเรียน ตามที่กองกลางกำหนด 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
263 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชนผู้รับบริการ สำนักงานเขตพระนครเป็นหน่วยงานหลักที่ให้บริการแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตพระนครให้ครอบคุมภารกิจทุกด้าน อาทิ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ การป้องครองท้องที่ การทะเบียนราษฎร์ และการทะเบียนปกครองต่างๆ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องดูแลทุกข์สุขของประชาชนให้ครอบคุมภารกิจต่างๆ ที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อน โดยการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ หรือขจัดปัญหาเรื่องเดือดร้อนของประชาชนให้หมดสิ้นไป เพื่อให้ประชาชนได้เกิดความพึงพอใจในระดับสูงสุด 3.1.1 เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ให้ครอบคุมทุกภารกิจที่ให้บริการ 3.1.2 เพื่อให้ประชาชนได้ร้บความพึงพอใจในระดับสูงสุด 3.1.3 เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นไปตามหลักราชการใสสะอาด 3.2.1 ร้อยละของความสำเร็จของการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนผ่านระบบ MIS2 ตามขั้นตอนที่กองกลางกำหนด ร้อยละ 100 3.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 93.00
264 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 การตรวจสอบและคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์ สำนักงานเขตป้อมปราบฯ มีโรงพยาบาลหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ อาทิ รพ.กลาง รพ.หัวเฉียว รพ.ยศเส จึงมีการออกสูติบัตรให้กับเด็กที่เกิดโดยสำนักงานเขตป้อมปราบฯเป็นจำนวนมาก ทำให้มีประชาชนมาติดต่อขอคัดและรับรองสูติบัตร กรณีสูติบัตรสูญหายหรือชำรุดอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการค้นหาสูติบัตรแบบเดิมที่ยังไม่มีการเก็บข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบค้นหาในห้องเก็บเอกสาร ทำให้ประชาชนต้องรอคอยเป็นเวลานานหรือบางครั้งต้องนัดหมายประชาชนมาในวันอื่่น ๆ ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชน ในการขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสูติบัตรที่่มีข้อมูลครบถ้วน (ยกเว้นสูติบัตรที่่ไม่ปรากฎชื่อผู้เกิด และ/หรือรายการในสูติบัตรที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง) โดยผ่านทาง Application Line ภายใต้ชื่อ "ป้อมปราบบริการสูติบัตรแบบเดิมด้วยระบบออนไลน์" -เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรอง สูติบัตรแบบเดิมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชาชนผู้รับบริการ โดยการลดระยะเวลาการรอคอยของประชาชน -เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชานผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบฯและกรุงเทพมหานคร เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลารอคอยของประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองสูติบัตรแบบเดิมที่ต้องค้นหาด้วยระบบมือ 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
265 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 การบันทึกทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2503-2514 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของเขตป้อมปราบฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)ในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถ ตรวจสอบค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนได้ ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ลงฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ซึ่่งมีจำนวนมากถึง 45,842 ราย โดยแบ่งการดำเนินกาารเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ระหว่างปี พ.ศ.2530-2546 จำนวน9,524 รายเรียบร้อยแล้ว ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 รายเรียบร้อยแล้ว และช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ 2561 กำลังดำเนินการจัดเก็บ ระหว่างปี พ.ศ. 2503 - 2514 จำนวน22,266 ราย -เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) -เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล (ชื่อตัว) จากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที่ -เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการด้านทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว) สามารถจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ. 2503 - 2514 จำนวน22,266 ราย ได้แล้วเสร็จ -ประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
266 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินงานตามระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เพื่อค้นหาและระบุความเสี่ยง จัดทำลำดับความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานพร้อมทั้งมีการวางแผนและติดตามประเมินความเสี่ยงนั้น เพื่อทำให้ความเสี่ยงนั้นหมดไปหรือลดลงให้อยุ่ในระดับยอมรับได้และมั่นใจสามารถบรรลุประสงค์ที่กำหนดไว้ เพื่อค้นหาและระบุความเสี่ยง จัดทำลำดับความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานพร้อมทั้งมีการวางแผนและติดตามประเมินความเสี่ยงนั้น เพื่อทำให้ความเสี่ยงนั้นหมดไปหรือลดลงให้อยุ่ในระดับยอมรับได้และมั่นใจสามารถบรรลุประสงค์ที่กำหนดไว้ เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารที่ได้บริหารงานที่ได้ประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
267 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการ การเพิ่มฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน กำหนดนโยบายของรัฐในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาชุมชน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนบ้านและบุคคลผู้อาศัยในชุมชน ซึ่งข้อมูลจำนวนบ้านในชุมชนเปลี่ยนแปลงทุกปี เนื่องจากอาจถูกจำหน่าย รื้อถอน หรือปลูกสร้างบ้านเพิ่มตลอดเวลา สำนักงานเขตปทุมวัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชนเข้าในระบบทะเบียนบ้านเขตปทุมวัน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทำให้การสืบค้น คัดแยกข้อมูลบ้านและประชาชนในชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร 2.เพื่อปรับปรุงระบบทะเบียนบ้านให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการกำหนดขอบเขตของชุมชนที่แน่นอน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลชุมชนแก่หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถใช้ระบบฐานข้อมูลรหัสชุมชน ให้เป็นประโยชน์ต่อภารกิจของสำนักงานเขตและหน่วยงานอื่น 1.ปรับปรุงข้อมูลรหัสชุมชน จำนวน 17 ชุมชน ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรให้เป็นปัจจุบัน 2.จัดระบบทะเบียนบ้านลงในรหัสชุมชน จำนวน 2,822 หลังคาเรือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตปทุมวัน 2017-01-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
268 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน ช่องทางด่วนพิเศษ (Fast Track) 1.มีประชาชนมารับบริการงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนในแต่ละวันเป็นจำนวนมาก 2.การให้บริการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแด่พระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ผู้พิการและสตรีมีครรภ์ ในช่องทางด่วนพิเศษ (Fast Track) 3.ลดขั้นตอน ลดระยะเวลาในการใช้บริการ หากเข้าสู่ระบบปกติที่ต้องใช้เวลารอคอย ลดความเสี่ยงในการถูกร้องเรียน 1.เพื่อลดขั้นตอน ลดระยะเวลาในการให้บริการ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการของสำนักทะเบียน 3.เพื่อสนองตอบต่อนโยบายผู้บริหารและสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อจัดการความเสี่ยงที่จะถูกร้องเรียนกรณีการให้บริการช้า ร้อยละของความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการมากกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
269 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวามีหน้าที่ความรับผิดชอบในการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับงานทะเบียนชื่อบุคคลซึ่งในการให้บริการจะต้องเป็นไปด้วย ความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะการตรวจสอบค้นหารวมถึงการคัดและรับรองเอกสารดังกล่าวเพื่อนำไปใช้อ้างอิงพิสูจน์สิทธิต่างๆเนื่องจากเขตยานนาวาเป็นสำนักทะเบียนเก่าที่ต่อมาให้แบ่งพื้นที่การปกครองเป็น3เขตและทะเบียนชื่อบุคคลยังคงจัดเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ซึ่งเป็นเขตแม่ จำนวนมากหลักฐานเหล่านี้มักจะมีหน่วยงานราชการอื่นประสานขอตรวจสอบอยู่เนืองๆ ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ที่ประสงค์ขอตรวจสอบหรือคัดรับรองสำเนาจะจำไม่ได้และไม่มีเอกสารอ้างอิงว่าได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุลไว้เมื่อใดและ ณสำนักทะเบียนใดถ้าจะตรวจสอบและค้นหาต้องเดินทางมาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวาซึ่งการจราจรติดขัดที่จอดรถไม่เพียงพอและการค้นหา เอกสารด้วยมือจะใช้เวลานานซึ่งเอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเก่าอาจทำให้บางส่วนฉีกขาด ชำรุด สูญหาย เพื่อให้การตรวจสอบค้นหาทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) สามารถดำเนินการได้รวดเร็วและตรวจสอบได้ทุกสำนักทะเบียนทั่วราชอาณาจักรโดยไม่ต้องเดินทางมาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดทำโครงการฯนี้ขึ้นซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2565)และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (Smart Service) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล(Digital Economy)และมีการบริหารจัดการเมือง(กรุงเทพมหานคร)ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ(Smart city)และยังสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพฯ ระยะ 12 ปี ยุทธศาสตร์หลักเพื่อความยั่งยืน การเป็นมหานครต้นแบบแห่งการบริหารและบริการเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อเป็นต้นแบบด้านการบริหารมหานคร (Mastering Best Service and Mega-city Management) 1.เพื่อลดระยะเวลา และขั้นตอนในการปฏิบัติงานเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการของสำนักทะเบียน โดยสามารถตรวจสอบและเรียกค้น ทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บริการในเชิงรุก สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อป้องกันการชำรุด และเสื่อมสภาพของเอกสารทะเบียนร่วมชื่อสกุล(ช.4) โดยสามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างถาวร 1. นำเข้าข้อมูลทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2532-15 กรกฎาคม 2547 ประมาณ 3,200 รายการ จัดเก็บ ในระบบคอมพิวเตอร์ฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ได้ครบถ้วนถูกต้อง 2. ประชาชนที่มาติดต่อขอตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ณ สำนักทะเบียนท้องที่เขตยานนาวา ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลารอคอย และพึงพอใจในบริการ 3. ประชาชนที่ต้องการตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนร่วมชื่อสกุล (ช.4) ซึ่งจัดเก็บที่สำนักทะเบียนท้องที่เขตยานนาวา สามารถรับบริการ ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
270 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงอาคารสำนักงานเขตพญาไท อาคารสำนักงานเขตพญาไทเป็นอาคารเก่ามีอายุการใช้งานมากกว่า 30 ปี จึงทำมีสภาพชำรุดทรุดโทรมไม่สวยงามเหมาะสมที่จะเป็นสถานที่การให้บริการประชาชน จึงดำเนินการปรับปรุงให้สวยงาม เพื่อให้อาคารมีสภาพสวยงาม ปลอดภัย เหมาะสมเป็นสถานที่ให้บริการประชาชน ดำเนินการปรับปรุงอาคาร 2 และ อาคาร 3 5,620,000.00 5,311,000.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
271 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2561 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2558-2560 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน 1.รักษารอบของปี 58-60 จำนวน 1 โครงการ 2.ดำเนินการใหม่ของปี 2561 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
272 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า "การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน มีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน" เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
273 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมส่งเสริมการตรวจสุขภาพประจำปี กรุงเทพมหานครกำหนดนโยบายเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัยที่ดีแก่บุคลากรกรุงเทพมหานคร ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารรราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้สำนักงานเขตพญาไทมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี และบุคลากรมีสุขภาพดี ดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด (ตรวจสุขภาพข้าราชการและบุคลากรสำนักงานเขตพญาไททุกคน) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
274 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการดำเนินงานของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา ดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
275 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมตามมาตรการเสริมสร้างธรรมมาภิบาล การบริหารความเสี่ยงของโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและมีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์กร เพื่้อการความเสี่ยงต่อการกระทำทุจริต จำนวน 10 หัวข้อ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
276 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน ผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานครมีนโยบายเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัยที่ดีแก่บุคลากรกรงเทพมหานคร 1.เพื่อสนันสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้บุคลกรกรุงเทพมหานครเสริมสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสุขอนามัย ดำเนินการตามที่ สนอ.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
277 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตห้วยขวางให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน เป็นไปตามแผนฯ 61 เป็นไปตามแผนฯ 61 เป็นไปตามแผนฯ 61 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
278 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 004 กิจกรรมศูนย์บริการข้อมูลงานด้านสมาคม 4 4 จำนวนของสมาคมในพื้นที่บางกะปิเข้าร่วมกิจกรรมศูนย์บริการข้อมูลงานด้านสมาคม 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
279 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
280 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
281 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อกำหนดตำแหน่งของการออกใบอนุญาตได้อย่างชัดเจน เพื่อการกำหนดตำแหน่งของอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 1. การลงจุดตำแหน่งอาคารในแผนที่ได้ถูกต้อง 2. การออกเลขบ้านเป็นไปตามระเบียบที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
282 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 การให้บริการประชาชนโดยการรับจองคิวทางอินเตอร์เน็ท เนื่องจากมีผู้มาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้เกิดปัญหาด้านการให้บริการเพิ่มขึ้น ผู้มารับบริการที่มารับบัตรคิวต้องใช้เวลารอคอยนานอีกทั้งเอกสารที่เตรียมมาอาจจะไม่ครบถ้วนทำให้ไม่สามารถรบริการได้ต้องมาติดต่อใหม่ในภายหลัง เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน, ลดระยะเวลา และค่าใช้จ่ายของประชาชนในการมารับบริการและให้มีช่องทางในการมารับบริการเพิ่มขึ้น และเป็นการให้บริการด้วยความทันสมัยทุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ปรับปรุงการให้บริการให้มีมาตรฐานมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการมีโอกาสและช่องทางในการขอรับบริการเพิ่มมากขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
283 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 รณรงค์การทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรกในเชิงรุก เนื่องจากมีผู้มาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้เกิดปัญหาด้านการให้บริการเพิ่มขึ้น ผู้มารับบริการที่มารับบัตรคิวต้องใช้เวลารอคอยนานอีกทั้งเอกสารที่เตรียมมาอาจจะไม่ครบถ้วนทำให้ไม่สามารถรบริการได้ต้องมาติดต่อใหม่ในภายหลัง เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน, ลดระยะเวลา และค่าใช้จ่ายของประชาชนในการมารับบริการและให้มีช่องทางในการมารับบริการเพิ่มขึ้น และเป็นการให้บริการด้วยความทันสมัยทุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ปรับปรุงการให้บริการให้มีมาตรฐานมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการมีโอกาสและช่องทางในการขอรับบริการเพิ่มมากขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
284 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ทางทะเบียน เนื่องจากเป็นส่วนราชการหนึ่งของหน่วยงานที่มีประชาชนมาติดต่อใช้บริการเป็นจำนวนมาก ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจของประชาชนในเรื่องกฎหมาย ฯลฯ จึงได้จัดทำโครงการฯเพื่อเผยแพร่ความรู้ทางทะเบียนขึ้น เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านทะเบียนที่เป็นประโยชน์ดต่อประชาชนโดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจก่อนมารับบริการ และ กระตุ้นเตือนถึงการใช้สิทธิและหน้าที่ตามกรอบของกฎหมาย เสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในด้านการให้บริการ ผู้มาใช้บริการและบุคคลทั่วไปได้รับความรู้ทางทะเบียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
285 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 พัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาสูติบัตร (ทร.19) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การตรวจสอบและค้นหาสูติบัตรสามารถดำเนินการได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวดเร็ว สามารถตรวจสอบและคัดรับรองได้ทุกสำนักทะเบียน ไม่ต้องเดินทางมามาติดต่อขอคัดรับรองยังสำนักทะเบียนที่มีต้นขั้วเก็บรักษาไว้ อีกทั้งลดปัญหาการชำรุด เสื่อมสภาพของสูติบัตร (ทร.19) เพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองสูติบัตร และเป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนที่มาใช้บริการ บันทึกข้อมูลสูติบัตร (ทร.19) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2526 จำนวน 10,000 รายการ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การคัดรับรองสูติบัตรที่สำนักทะเบียนได้ทุกสำนักทะเบียน เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และประชาชนพึงพอใจในการให้บริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
286 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการตรวจสอบการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เพื่อกำหนดตำแหน่งของการออกรหัสประจำบ้านได้อย่างชัดเจน เพื่อการกำหนดตำแหน่งของอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 1. การลงจุดตำแหน่งอาคารในแผนที่ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 2. การออกเลขบ้านเป็นไปตามระเบียบที่กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
287 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
288 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการ "พาน้อง 7 ปี ทำบัตรไม่มีค่าใช้จ่าย" พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 ให้บุคคลจะต้องมีบัตรครั้งแรกอายุ 7 ปีบริบูรณ์ โดยบุคคลดังกล่าวยังเป็นเด็กและส่วนใหญ่กำลังศึกษาในระดับประถมศึกษาในระดับประถมศึกษา ซึ่งไม่สะดวกที่จะยื่นขอมีบัตร ณ สำนักทะเบียนด้วยลำพังตนเองได้ และหากบิดา มารดา หรือผู้ปกครองเป็นผู้นำพามายื่นขอมีบัตรอาจเพิ่มภาระทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนี้เพื่อเป็นการลดภาระผู้ปกครองในการนำพาเด็กมาทำบัตรประจำตัวประชาชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น 2.1 เพื่อให้นักเรียนในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานครในเขตพื้นที่บางกอกใหญ่มีบัตรประจำตัวประชาชนตามระเบียบ 2.2 เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้บัตรประจำตัวประชาชนเป็นหลักฐานแสดงตนเข้ารับบริการสาธารณะของรัฐแทนเอกสารราชการอื่น 2.3 เพื่อให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการได้รับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร เด็กนักเรียนที่มีอายุครบ 7 ปี บริบูรณ์ (เกิดระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2554) และครบ 7 ปี ขึ้นไป ที่กำลังศึกษา อยู่ในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ รวม 6 โรงเรียน ได้รับบริการจัดทำบัตรฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
289 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การให้บริการประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ นับว่ามีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่นิยมการศึกษาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่เองก็ได้เห็นความสำคัญของการให้บริการในส่วนนี้และได้จัดทำข้อมูลเพื่อประชาสัมำพันธ์ข้อมูลข่าวสารและเป็นช่องที่สามารถติดต่อสื่อสารกับประชาชนได้สะดวก เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลและการดำเนินงานของหน่วยงานให้ผู้รับบริการทราบ ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ตามแนวทางที่กำหนด ทั้ง 5 ด้านคือ ปฏิทินกิจกรรม ปรับปรุงข้องมูล การให้บริการ ข่าวสาร และติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
290 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
291 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 สำรวจข้อมูลระบบสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การให้บริการของหน่วยงานและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จึงต้องนำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดหาระบบสารสนเทศมาให้เจ้าหน้าที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้มีการพัฒนาระบบให้ดียิ่งขึ้นจึงต้องสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้งาน เพื่อพัฒนาด้านเทคโนโลยีในการให้บริการประชาชนและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ สำรวจข้อมูลระบบสารสนเทศ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะในการสำรวจข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
292 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และการจัดปรับปรุงเว็บไซค์ของหน่วยงานให้ทันสมัย ปัจจุบันประชาชนทั่วไปมีการใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ ตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสัยต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงเว็ปไซต์ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานเขตได้อย่างถูกต้อง และทำให้ประชาชนมีความพร้อมเบื้องต้นก่อนที่จะมาใช้บริการ อันจะทำให้เกิดรวดเร็วในการให้บริการและความพึงพอใจสุงสุด สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จึงเล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้ทั่วถึงและเป็นปัจจุบัน 3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนข้อมูลการให้บริการของส่วนราชการภายในสำนักงานเขตให้เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย 1 ปฏิทินกิจกรรม 2 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร 3 ข่าวสาร 4 การให้บริการ 5 ติดต่อเรา 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
293 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักงานเขตดอนเมือง ได้ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ เพื่อให้การบริหารระบบราชการเป็นไปด้วยความถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ตลอดจนดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประสบผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ และดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้เป็นไปโดยรวดเร็วขึ้น สามารถคลายทุกข์ คลายกังวลให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อนได้ทันต่อเหตุการณ์ รับเรื่องร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาความเดือนร้อน ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
294 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 จัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
295 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตจตุจักร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานเขตจตุจักร มีภาระกิจ ครอบคลุมทุกด้านตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านจึงมีความจำเป็นต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความแพร่หลายและมีความถูกต้อง -เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับประชาชน - เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินงาน ให้ประชาชนได้รับทราบ -เพิ่มช่องทางให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บริหารเขต มีการลงข้อมูลผลงานและกิจกรรมลงในระบบสาสนเทศทุกวันและมีการรายงานผู้บริหารเขตทราบทุก 15 วัน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้สืบค้นข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
296 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งปรากฎอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ ของกรุงเทพมหานคร (MIS) เพื่อติดตามผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด ระดับความความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
297 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมความพึงพอใจของผู้รับบริการ สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง ประชาชน ข้าราชการ และบุคลากรของกรุงเทพมหานครผู้มารับบริการโดยตรงหรือบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่หน่วยงานนั้น ให้บริการ สำรวจความพึงพอใจครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1.ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4.ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5.ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน สำรวจความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
298 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการให้คำปรึกษา ตรวจสอบเอกสาร นัดหมายก่อนมาติดต่อราชการผ่าน Application Line เอกสารการทะเบียนเป็นเอกสารสำคัญซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคตั้งแต่แรกเกิดเพื่อใช้เป็นหลักฐานในชีวิตประจำตัว เช่น สูติบัตร ทะเบียนบ้าน ใบแจ้งย้ายที่อยู่ บัตรประจำตัวประชาชน ฯลฯ ได้วางระบบและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ให้บริการด้วยมือ บันทึกด้วยกระดาษ เข้าสู่ยุคระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ทั่วประเทศ ในการนี้สำนักงานเขตบึงกุ่มยังมีเอกสารทางทะเบียนแบบเดิมที่ยังไม่เก็บข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ การค้นหาเจ้าหน้าที่ต้องใช้เวลาส่งผลให้ประชาชนต้องรอคอยนาน หรือบางครั้งต้องมารับในวันถัดไป จึงมีแนวคิดปรับปรุงการให้บริการประชาชนว่า ก่อนมาติดต่อราชการให้ติดต่อผ่าน Application Line เพื่อขอคำปรึกษา หรือขอตรวจสอบเอกสารทางทะเบียนก่อนมาติดต่อราชการ เพื่อไม่ต้องเสียเวลารอคอย ลดเวลาในการติดต่อขอรับบริการ เนื่องจากเจ้าหน้าที่จักได้จัดเตรียมเอกสารรอไว้ - เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการให้คำปรึกษาและตรวจสอบเอกสารทางทะเบียนก่อนมาติดต่อราชการ - เพื่อเพิ่มช่ิงทางการให้บริการด้านงานทะเบียนให้กับประชาชนผู้รับบริการ โดยลดระยะเวลาการรอคอย และจำนวนครั้งที่มาติดต่อราชการของประชาชน - เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อขอรับบริการและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตบึงกุ่มและกรุงเทพมหานคร - เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนผู้มาติดต่อราชการ โดยการเพิ่มช่องทางการให้บริการสำหรับประชาชนและลดขั้นตอนและระยะเวลาการรอคอยของประชาชนในการมาติดต่อราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
299 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนให้แก่นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่ การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน หมายถึง การดำเนินการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน เป็นการบริการของฝ่ายทะเบียนในการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนโดยการรับ-ส่งเด็กนักเรียนมายังสำนักงานเขต เพื่อจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและ/หรือการจัดทำบัตรประจำตัวประชาช ณ สำนักงานเขตใดสำนักงานเขตหนึ่งเพื่อให้ได้รับบัตรประจำตัวประชาชน เพื่อจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนให้กับนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสาทร ที่มีอายุ 7 ปีบริบูรณ์ และมีสัญชาติไทย จำนวนนักเรียนในสังกัดฯทั้งหมดได้รับการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสาทร 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
300 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
301 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 4. การปรับปรุงข้อมูลไม่น้อยกว่า 5 เร่ือง อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
302 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมปรับปรุงเว็ปไซต์ของสำนักงานเขต สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงบริการต่างๆในกทม. มีการลงข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานเผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ 1.ปฏิทินกิจกรรม 2.ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ 3.ข่าวสาร 4.การให้บริการ 5.ติดต่อเรา 1 เพื่อให้การรายงานข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตบางพลัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2 เพิ่อปรับปรุงข่าวสารของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตบางพลัด อย่างน้อย 3 หัวข้อต่อเดือน ประกอบด้วย 1. ปฏิทินกิจกรรม มีการลงกิจกรรมต่างๆที่วางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือนในกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน และดำเนินการให้เสร็จภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ประกอบด้วย ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน โครงสร้าง/ผู้บริหาร แผนปฏิบัติราชการ สถิติ/ผลงานของหน่วยงาน และข้อมูลทางกายภาพ 3. ข่าวสาร เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรมที่ได้นำลงในปฏิทินกิจกรรมของเดือนที่ผ่านมา ภาพกิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินการ ประกาศต่างๆ ที่ประสงค์จะเผยแพร่ 4. การให้บริการ การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงาน เช่น เอกสารประกอบ ขั้นตอน ระยะเวลาในการดำเนินการ ชื่อและสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ติดต่อ แบบฟอร์มการให้บริการที่สามารถ Download ได้ ตามภารกิจหน้าที่ของสำนักงานเขตครบทุกฝ่าย 5. ติดต่อเรา ข้อมูลที่อยู่ พร้อมรหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัด และที่อยู่ของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และ แผนที่แสดงสถานที่ตั้งของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
303 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
304 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตสวนหลวง พัฒนาหน่วยงานให้มีความสามารถในการให้บริกาสรประชาชน ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีของหน่วยงานให้ทันสมัยรองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ 2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนได้รับความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชน 1. เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีของหน่วยงานให้ทันสมัยรองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ 2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนได้รับความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชน หน่วยงานดำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน ได้ 100 คะแนนตามการปรระเมินของ สยป.กทม. 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
305 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านฯ ตามที่กรุงเทพมหานครได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการ สำนักงานเขตสวนหลวงจึงได้จัดทำกิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านฯ เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจที่สุด 1. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่องานด้านการขอเลขหมายประจำบ้าน ดำเนินการลงข้อมูลการขอเลขหมายประจำบ้านในระบบ ของสำนักผังเมือง (แบบ ทร.900) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
306 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี2560 สำนักงานเขตสวนหลวง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2559 สำนักงานเขตสวนหลวง การจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สินประจำปี 2559 ให้ตรงตามเป้าหมาย ความสำเร็จของการจัดทำรายงานบัญชีมูลค่าทรัพย์สิน ประจำปี 2559 ทันเวลาและถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
307 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง เพื่อสำรวจงานให้บริการประชาชนตามภารกิจหรืออำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานครที่ควรจัดทำเป็นบริการอิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน (ร้อยละ 100) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
308 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้เสร็จภายในกำหนด สำนักงานเขตวัฒนามีระบบการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแก้ไขเรื่องร้องเรียน เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
309 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC สำนักงานเขตวัฒนา สำนักงานเขตวัฒนามีการจัดตั้งศูนย์ราชการฉับไวใสสะอาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน ประชาชนมีความพึงพอใจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
310 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 แจ้งการซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ผ่าน Mobile Application LINE@ สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบูรณะ ซ่อมแซมทางเท้า ฝาบ่อพักท่อระบายน้ำ ผิวจราจร ป้ายชื่อซอยต่างๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถติดต่อ สัญจรไปมาได้โดยสะดวกปลอดภัย และเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย และภารกิจหนึ่งของสำนักงานเขต คือ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งมีผู้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน(Public Participation) ไว้ว่า คือ การกระจายโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง และการบริหารเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน โดยการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ให้คำแนะนำปรึกษา ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ รวมตลอดจนการควบคุมโดยตรงจากประชาชน สำนักงานเขตวัฒนา ได้นำภารกิจเกี่ยวกับการก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร ป้ายชื่อซอย ท่อระบายน้ำอุดตัน และสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ มาผนวกรวมกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยการส่งเสริมให้เกิดการเสนอแนะ ให้ข้อคิดเห็น และร่วมปฏิบัติ โดยการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความชำรุด ทรุดตัวของถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร สิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ เพื่อเป็นข้อมูลให้สำนักงานเขตได้นำไปวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรที่ต้องใช้ในภารกิจการซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจร และสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนดังกล่าว สำนักงานเขตวัฒนาจึงได้ นำเทคโนโลยีการสื่อสารของโทรศัพท์ Smart Phone มาใช้โดยการจัดทำ Mobile Application เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนในการแจ้งและติดตามการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตในเรื่อง การซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ผิวจราจรและสิ่งสาธารณะประโยชน์อื่น ๆ ฯลฯ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้รับความสะดวกในการสัญจรและลดอุบัติเหตุอันตรายที่อาจเกิดขึ้น และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนโดยส่วนรวม 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตวัฒนาในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2.2 เพื่อสร้างระบบการรับแจ้งเหตุจากเครือข่าย และการส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2.3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแล และบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน และสาธารณูปโภคของเขตวัฒนา 1 เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดูแล และบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน และ สาธารณูปโภคของเขตวัฒนา 2 เกิดการวางแผนการบริหารทรัพยากรในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
311 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง ปี 2561 - เพื่อกำหนดการออกเลขรหัสประจำบ้านให้สอดล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร - เพื่อแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้านบนโฉนดที่ดิน - เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองกรุงเทพมหานคร - ร้อยละ 100 ของตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
312 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างและการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง ปี 2561 เพื่อกำหนดการออกเลขรหัสประจำบ้านให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร - เพื่อแสดงตำแหน่งการออกเลขรหัสประจำบ้านบนโฉนดที่ดิน - เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองกรุงเทพมหานคร - ร้อยละ 100 ของตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
313 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
314 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 ค่าใช้จ่ายในการจ้างเจ้าหน้าที่ช่วยปฏิบัติงานฝ่ายทะเบียน เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอรืเน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนอัตรากำลังผู้ปฏิบัติงานฝ่ายทะเบียน ทำให้งานประจำและงานนโยบายแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด 1.ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็วและถูกต้อง 2.ประชาชนพึงพอใจและเกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร 3.เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการสามารถปฏิบัติงานได้เต็มประสิทธิภาพ 4.ลดการเกิดข้อร้องเรียนต่อการให้บริการที่ล่าช้าและไม่มีประสิทธิภาพ 332,640.00 332,640.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
315 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ปัจจุบันมีการขออนุญาตก่อสร้างอาคารใหม่จำนวนมาก ซึ่งเป็นฐาานข้อมูลสำคัญที่แสดงถึงการขยายตัวของเมือง ประกอบกับมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ 1.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนำเข้า จัดเก็บ จัดสร้างเพื่อปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลแผนที่ของตำแหน่งอาคารและการออกเลขหมายประจำบ้านได้อย่างถูกต้อง 2.สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นตามข้อมูลแผนที่ที่สำนักงานผังเมืองได้จัดเตรียมไว้ทำให้สะดวกต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้สามารถทำงานได้อย่างคล่องตัว รวดเร็วและมีความถูกต้อง 3.สามารถวิเคราะห์ตรวจสอบความสอดคล้องการกำหนดพื้นที่ปลูกสร้างและการใช้ประโยชน์อาคารกับพระราชบัญญัติผังเมืองรวมและข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครที่บังคับใช้ 4.การใช้ประโยชน์อาคารสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถสืบค้นและแสดงข้อมูลที่มีอยู่ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่จัดอยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนได้รับรู้และนำไปเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจ หรือวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ ต่อไปในอนาคตได้ด้วย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
316 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฝ่ายทะเบียน เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
317 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 เด็กสายไหมใส่ใจทำบัตร ปัจจุบันกฎหมายได้กำหนดให้บุคคลที่มีอายุครบ 7 ปี บริบูรณ์ ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนเป็นครั้งแรก เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจกฎหมายดังกล่าว จึงต้องมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ 1. เพื่อให้ผู้มีสัญชาติไทยที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์และมีชื่อในทะเบียนบ้านในท้องที่เขตสายไหม มีบัตรประจำตัวประชาชนสำหรับใช้แสดงตนและเป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด 2. เพื่อให้บิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองได้ทราบว่าบุคคลที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก 3. เพื่ีอให้สถานศึกษาในพื้นที่เขตสายไหม สำรวจเด็กที่มีอายุ 7 ปีบริบูรณ์ โดยจัดส่งให้สำนักงานเขตดำเนินการให้บริการทำบัตรประจำตัวประชาชน บุคคลสัญชาติไทยที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ที่มีชื่ีออยู่ในทะเบียนบ้านในท้องที่เขตสายไหมและเด็กนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสายไหมที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ ได้รับการทำบัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมาย 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
318 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
319 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
320 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.1 กิจกรรมระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฎอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
321 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.2 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด ( Best Service ) โครงการประจำปีงบประมาณ 2561 ( โครงการวังทองหลาง สร้างสุข ปลุกรอยยิ้ม ) สำนักงานเขตวังทองหลางมีภารกิจหลักในการบริการและช่วยเหลือประชาชน และเป็นหน่วยงานในการนำนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนเป็นหน่วยงานในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่เขตที่ขอความร่วมมือ เนื่องจากภารกิจ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเจ้าหน้าที่ทำให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เช่น โรคปวดกล้ามเนื้อ มือชา นิ้วล็อค เป็นต้น และโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลต่อสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่ เกิดภาวะความเครียดและเหนื่อยล้าสะสมจากการทำงาน จากปัญหาดังกล่าวสำนักงานเขตวังทองหลางได้ตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้าง สุขภาวะ ที่ดีให้กับเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีการขยับร่างกายให้มีการผ่อนคลายจากการทำงาน รวมทั้งเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นระยะเวลานาน โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) และ โรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) 1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีความสุขในการทำงาน 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลาง ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดความรัก ความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีสุขภาวะที่ดี ทั้งกาย ใจ อารมณ์ สังคม และปัญญา 4. เพื่อให้สำนักงานเขตวังทองหลางเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน 1.) ร้อยละของบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลาง เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.) มีการจัดทำองค์ความรู้ในการทำงาน อย่างน้อย 10 เรื่อง 3.) ร้อยละบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลางที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ) มีแนวโน้มการพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ( 18.5-22.90 ) เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 4.) จำนวนเรื่องร้องเรียนในการให้บริการ ที่เกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ไม่เกิน 10 เรื่อง/ปี ( ร้องเรียนผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555 ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
322 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 3.3 กิจกรรมระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการเป็นสิ่งสำคัญ ของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เนื่องจากหน่วยงานสำนักงานเขตมีหน้าที่ในการให้บริการประชาชนอย่างใกล้ชิด ซึ่งการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ประชาชน จะทำให้ทราบสิ่งบกพร่องเพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการให้บริการ หากสิ่งไหนที่ปฏิบัติได้ดีอยู่แล้วก็จะได้รักษามาตรฐานการปฏิบัติงานเอาไว้หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 1.เพื่อทราบถึงความพึงพอใจของประชาชน/ผู้รับบริการ ต่อการให้บริการของสำนักงานเขตวังทองหลาง 2.เพื่อปรับปรุงการทำงานให้มีการบริการที่ดีขึ้นเพื่อตอบสนองประชาชน/ผู้รับบริการ . สำนักงานเขตวังทองหลางได้รับความพึงพอใจจากการทอดแบบสอบถามของกองงานผู้ตรวจราชการ ในระดับ 4.00 ขึ้นไป โดยประเมินความพึงพอใจในการให้บริการ จำนวน 6 ด้าน 1 ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการของหน่วยงาน 2 ด้านตวามพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3 ด้านความพึงพอใจด้านการบริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิหส์ของหน่วยงาน 4 ด้านความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวกของหน่วยงาน 5 ด้านความพึงพอใจด้านการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่างๆ 6 ด้านความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
323 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขต ในปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำเว็บไซต์หน่วยงานขึ้นเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ผลงานของหน่วยงานผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สำนักงานเขตทวีวัฒนาจึงได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงานของสำนักงานเขตทวีวัฒนา ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของเขตให้เป็นปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง โดยข้อมูลที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา เป็นต้น 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้กับประชาชน 2. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชน มีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ของหน่วยงาน จำนวน 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. ปฏิทินกิจกรรม 2. เกี่ยวกับองค์กร 3. ข่าวสาร 4. การให้บริการ 5.ติดต่อเรา ให้เป็นปัจจุบัน โดยปรับปรุงอย่างน้อย 2 หัวข้อต่อเดือน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
324 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนผู้รับบริการ (ศูนย์ 1555) (มิติที่ 3.1) เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอน ระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการตาม พรบ. ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และ พรก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1) ตอบรับเรื่องร้องเรียนจากระบบภายใน 1 วันและแจ้งผลการดำเนินการภายใน 3 วันทำการ 2) เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข **เป้าหมายเสริม** - การรายงานผลกรณีดำเนินการไม่เสร็จภายใน 3 วัน ให้รายงานทุกวันที่ 15 และ 30 จนกว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จ - การรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารหน่วยงานและกองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานครทราบ 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
325 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2561 โครงการจัดเก็บข้อมูลเอกสารทางทะเบียนด้วยวิธีจับภาพเอกสาร (Scan)ในระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยสำนักทะเบียนกลางมีหนังสือ ที่ มท 0309.5/ว 53 ลงวันที่ 14 กันยายน 2560 แจ้งว่าได้พัฒนาระบบโปรแกรมการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียน โดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เพื่อรองรับการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนซึ่งสำนักทะเบียนจัดทำขึ้นก่อนปี พ.ศ.2527 รวมทั้งทะเบียนบ้านฉบับคอมพิวเตอร์ (ฉบับปี 2531) เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น เพื่อให้จัดเก็บข้อมูลเอกสารทางทะเบียนราษฎร โดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร จึงมีหนังสือที่ กท 0406/4951 ลงวันที่ 25 กันยายน 2560 สั่งการให้สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขต ดำเนินการจัดเก็บเอกสารทางทะเบียนโดยวิธีการจับภาพเอกสาร (Scan) เฉพาะสูติบัตร (ท.ร.19) และมรณบัตร (ท.ร.20) ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักทะเบียน และเอกสารทางทะเบียนอื่นๆ ที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นพิจารณาแล้วเห็นว่าควรจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทะเบียนชื่อตัว ทะเบียนชื่อสกุล หรือทะเบียนคนเกิด (สูติบัตรที่ออกก่อนปี 2500) เป็นต้น และรายงานผลการดำเนินการข้างต้นให้ศูนย์บริหารการทะเบียนภาค 1 กรุงเทพมหานครทราบ เพื่อรวบรวมแจ้งสำนักทะเบียนกลางต่อไป 1.เพื่อจัดเก็บเอกสารทางทะเบียน ที่เห็นควรจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ให้ครบถ้วน 2.เพื่อให้การสืบค้น หรือคัดและรับรองเอกสารทางทะเบียนเป็นไปด้วยความรวดเร็วสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ 3.เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการติดต่อขอรับบริการ ซึ่งสามารถติดต่อขอคัดสำเนาเอกสารดังกล่าวได้จากทุกสำนักทะเบียนทั่วประเทศโดยมิต้องเดินทางมาขอคัดสำเนาที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตทุ่งครุแต่เพียงสำนักทะเบียนเดียวอีก จัดเก็บเอกสารทางทะเบียน ประเภททะเบียนชื่อตัว ทะเบียนชื่อสกุล ตั้งแต่เดือนมีนาค 2541- พ.ศ.2547 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2017-10-01 00:00:00 2018-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
326 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บและสืบค้นกฎหมายเกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญ ประจำสภากรุงเทพมหานครโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครมีความยากในการค้นหา จัดเก็บและสืบค้นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของคณะกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานครได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น คณะกรรมการสามัญประจำสภากรุงเทพมหานครสามารถสืบค้นกฎหมายเกี่ยวข้องกับภารกิจของสกากรุงเทพมหานครได้รวดเร็วขึ้น 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
327 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสารด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของสภากรุงเทพมหานคร เอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครมีมากและยากต่อการค้นหา จัดเก็บเอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้ครบถ้วน โดยนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็วต่อการใช้งาน 1. การจัดเก็บเอกสารข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครได้ครบถ้วนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ 2. บุคลากรกรุงเทพมหานคร ประชาชน สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สามารถค้นหาได้สะดวก รวดเร็ว ต่อการใช้งาน 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
328 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการประชุมสภา กรุงเทพมหานครด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติราชการ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนในกระบวนการบริหารจัดการประชุม เช่น กำหนดนัดหมายการประชุม การแจ้งเอกสารหรือข้อมูลประกอบการประชุม เป็นต้น สามารถนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนในกระบวนการบริหารจัดการประชุมอย่างน้อย 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
329 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำการเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ กองวินัยและเสริมสร้างจริยธรรม และกองพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.ก. ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดทำการเก็บข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศ ในเรื่องของธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดให้มีกิจกรรมจัดทำการเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานคร ให้มีความเป็นระบบและเป็นมาตรฐาน โดยข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และมีความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยที่สุด เพื่อสะดวกต่อการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานและส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อจัดเก็บข้อมูลในเรื่องของธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศที่สำคัญและจำเป็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ให้มีความเป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2.2 เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานที่เป็นปัจจุบัน มีความถูกต้อง ครบถ้วน และมี ความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยที่สุด เพื่อจัดเก็บข้อมูลธรรมาภิบาลด้านวินัยของกรุงเทพมหานครด้วยระบบสารสนเทศ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติงาน 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
330 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร(สำนักงาน ก.ก.) ได้มีการจัดทำเว็บไซต์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร โดยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ก. และเชื่อมโยงกับเครือข่ายของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ ดังนั้นเพื่อให้การบริการข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครบนเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. มีความทันสมัย จึงจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุง/พัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ให้มีการจัดระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. สามารถให้บริการข้อมูล ข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามภารกิจความรับผิดชอบที่มีความทันสมัย ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
331 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสืบค้น มติ ก.ก. มติ ก.ก. เป็นระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ที่ทุกหน่วยงานต้องยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด จึงเปรียบเสมือนหัวใจและเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร โดยกองบริหารทั่วไป สำนักงาน ก.ก. มีหน้าที่จัดเก็บ ดูแลรักษา และรับผิดชอบเอกสารมติ ก.ก. ตั้งแต่ พ.ศ. 2516 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกสารมติ ก.ก. เพียงบางส่วน (พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน) ที่ถูกจัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.ก. ในขณะที่ยังมีเอกสารบางส่วน (พ.ศ. 2516 – 2547) ที่ยังไม่ได้ถูกจัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และมีสภาพเก่าตามอายุของเอกสาร ดังนั้น หากมีการรวบรวมและจัดเก็บมติ ก.ก. ให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด มีการแยกหมวดหมู่ประเภทและจัดทำดัชนีเอกสารมติ ก.ก. รวมถึงการพัฒนาระบบการสืบค้นมติ ก.ก. ที่ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน ก็จะทำให้การปฏิบัติงานทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งป้องกันการสูญหายของมติ ก.ก. ดังนั้น จึงได้จัดทำกิจกรรมการพัฒนาระบบการสืบค้นข้อมูลมติ ก.ก. ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2565) ด้านที่ 7 ด้านการบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน เป้าประสงค์ที่ 7.3.2.3 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน สนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 3 จัดทำคลังความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล และแผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ HR ให้มีความเข้มแข็งและทันต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล การใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนภารกิจ 1. เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลมติ ก.ก. 2. เพื่อให้มติ ก.ก. ถูกจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่ และมีระบบการสืบค้นข้อมูล 3. เพื่อให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร และบุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึง สืบค้นและใช้ประโยชน์จากมติ ก.ก. ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศเพื่อสืบค้น มติ ก.ก. ตามประเภทการบริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 1 ระบบ โดยมีข้อมูลมติ ก.ก. ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างน้อย 5 ปีย้อนหลัง (ตั้งแต่ พ.ศ.2557 - 2561) และสามารถสืบค้นข้อมูลได้ตามปี พ.ศ. ประเภทการบริหารทรัพยากรบุคคล (18 ประเภท) หรือคำสำคัญ (Keyword) ภายในเดือนสิงหาคม 2562 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
332 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 2. โครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร (กสอ.) สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2548 เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อีกทั้งระบบดังกล่าวใช้งานมานาน เป็นเวลา 12 ปีแล้ว และปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งเอเชีย" ซึ่งเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าวได้นั้น คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมเกิดประโยชน์ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลดิจิทัล โดยพัฒนาตาม "กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ" หรือ "Thailand e-Government Interoperability Framework"(TH e-GIF) 1. เพื่อนำไปสู่เป้าหมายสูงสุดในการสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุด เดียวกัน ด้วยการบูรณาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเข้าด้วยกัน 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณ สำหรับการรับ-ส่งหนังสือระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการสั่งการของผู้บริหารและเพิ่มความสะดวกในการกระจายงานสู่ผู้ปฏิบัติ 4. เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และการสืบค้นเอกสารของหน่วยงานได้อย่างมีระบบ ลดปัญหาเอกสารฉบับจริงสูญหาย โดยจัดเก็บสำเนาเอกสาร ไว้ในระบบและรักษาความสำคัญของข้อมูลสารบรรณด้วยระบบรักษาความปลอดภัยและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. เตรียมพร้อมโครงสร้างระบบข้อมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้กรอบ TH e-GIF เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับส่วนราชการอื่น ๆ ได้ในอนาคต 6. เพื่อสามารถบริหารจัดการข้อมูล ลดจำนวนการใช้งานหรือยกเลิกการใช้กระดาษและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 7. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามสถานะของหนังสือ/เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงระยะเวลาดำเนินการ ในแต่ละขั้นตอนได้ 8. เพื่อให้มีระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อำนวยความสะดวก รวดเร็ว ในการเวียนหนังสือภายใน 9. เพื่อให้สามารถจองห้องประชุมในระบบ และสามารถนัดหมายการประชุมกับผู้บริหารในระบบได้ เป็นระบบที่ออกแบบให้สามารถให้บริการครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทั้ง 77 หน่วยงาน/ส่วนราชการ ได้แก่ 16 สำนัก สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเพมหานคร สำนักงานเขต 50 เขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 ส่วนราชการ โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน โดยมีระบบงานที่จะเกิดขึ้นได้แก่ ระบบงานสารบรรณและจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารจัดการห้องประชุม ซึงหน่วยงานเข้าใช้งานแบบเต็มระบบจะสามารถใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องการรับ-ส่งหนังสือการร่างหนังสือการค้นหาและติตตามงาน การปิดงานและยกเลิกเอกสาร การออกเลขหนังสือ การใช้งานระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบบริหารจัดการห้องประชุม 14,700,000.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
333 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 (14) กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 1. หนังสือที่ข้าราชการแจ้งความประสงค์ขอย้าย หมายถึง หนังสือที่ต้นสังกัดของข้าราชการแต่ละหน่วยงานอนุญาตให้ข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ 2. ความถูกต้อง หมายถึง บันทึกเหตุผลที่ขอย้ายของข้าราชการที่แจ้งความประสงค์ขอย้ายในระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องตามหนังสือแจ้งความประสงค์ขอย้ายของแต่ละหน่วยงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลการขอย้ายของข้าราชการกรุงเทพมหานครในระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลประกอบการจัดทำคำสั่งทางการบริหารงานบุคคล 3. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลข้าราชการขอย้ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของสำนักงานการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
334 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 (4) โครงการศูนย์การเรียนรู้การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR knowledge Center) ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการจัดการความรู้ในองค์กรมีความสำคัญ กล่าวคือ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ ที่ให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ สำนักงานการเจ้าหน้าที่ จึงได้จัดทำโครงการ “ศูนย์การเรียนรู้การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR knowledge Center) ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ” เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีการใช้องค์ความรู้ และนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานการเจ้าหน้าที่มีฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการบริหารทรัยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร มีความรู้เพิ่มขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
335 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 สปท./10 กิจกรรมการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพื่อการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพิ่มช่องทางการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code เพิ่มช่องทางการเข้าถึงฐานข้อมูลเครื่องปรับอากาศสำนักงานปกครองและทะเบียน ผ่านระบบ QR Code 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
336 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคคล และบันทึกเป็นฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้และการพัฒนาตนเอง ด้านการตรวจสอบภายในและหรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ และหรือด้านการปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ และบันทึกองค์ความรู้ดังกล่าวไว้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน (ระบบ Share Point หรือเว็บไซต์) สำหรับเป็นฐานข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงานตรวจสอบหรือดำเนินงานด้านต่าง ๆ จำนวนองค์ความรู้ด้านการตรวจสอบภายใน และหรือด้านการบริหารงานด้านต่าง ๆ และหรือด้านการปฏิบัติงานของหน่วยรับตรวจ ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
337 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ ส่งเสริมให้หน่วยงานดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ หรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานในอนาคต จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับหรือรับทราบและนำไปปฏิบัติ หรือวางแผนที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนางานในอนาคต 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
338 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นองค์กรหลักที่มีหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรและองค์กรของกรุงเทพมหานครอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง มุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการโดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และการพัฒนาขีดความสามารถ (Capability) เพื่อให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใต้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนางานในหน้าที่อย่างต่อเนื่อง โดยสถาบันฯ ให้ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมและสร้างระบบข้อมูลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างเครือข่าย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ได้นำเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร ที่เหมาะสมกับยุคปัจจุบันและเกิดประสิทธิภาพ โดยการทำระบบ e – Training เพื่อให้การเข้าถึงเนื้อหาเกิดขึ้นได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ทุกกลุ่มเป้าหมาย (Anywhere – anytime learning) ซึ่งได้รับความสนใจจากข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานครเข้าเรียนรู้ โดยการพัฒนาดังกล่าวเน้นการเรียนรู้จากความสนใจของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดทักษะที่สามารนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมกับ ยุคปัจจุบันและเกิดประสิทธิภาพ สถาบันฯ จึงมีแนวคิดในการทำระบบการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาหลากหลายยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการสนับสนุนการพัฒนาตนเองของบุคลากร และเป็นการเพิ่มช่องทางในการเรียนรู้ด้วยสื่อ online ที่สามารถเรียนได้ตามความสนใจ โดยสถาบันฯ จะคัดสรรและผลิตเนื้อหาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับข้าราชการ-กรุงเทพมหานครในภาพรวมต่อไป ๒.๑ เพื่อให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ online ได้ตามความสะดวกทั้งด้านเวลา และสถานที่ ๒.๒ เพื่อให้มีหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒.๓ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ผ่านระบบสารสนเทศ ที่รองรับรูปแบบการเรียนรู้ในอนาคต การนำเนื้อหาวิชาการเรียนการสอนที่ให้ผู้เข้ารับการอบรมเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต โดยนำไปใช้ในหลักสูตรนักบริหารมหานครทั้ง ๓ ระดับ ได้แก่ หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับต้น (บนต.) หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง (บนก.) หลักสูตรนัก-บริหารมหานครระดับสูง (บนส.) และหลักสูตรฝึกอบรมปฐมนิเทศข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
339 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2562 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการวางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือและกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นปัจจุบัน สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจในการพัฒนาองค์การและทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จึงได้มีการจัดเก็บฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการแต่ละหลักสูตรที่สถาบันฯ เป็นผู้จัดดำเนินการ โดยการดำเนินการกิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ 1. เพื่อออกแบบและจัดทำระบบฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร ประจำปี พ.ศ. 2562 ของสถาบันฯ ร้อยละ 90 ของความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
340 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 3.2) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีประชากรที่เป็นชาวต่างชาติอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จากข้อมูลสถิติ สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรุงเทพมหานครมีจำนวนชาวต่างชาติอาศัยอยู่ 706,080 คน โดยคิดเป็น 9.3 % ต่อจำนวนประชากรไทยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครที่มีจำนวน 7,587,272 คน และจากข้อมูลของสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว (มิถุนายน 2561) มีแรงงานต่างด้าวที่ทำงานอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นจำนวน 457,700 คน กรุงเทพมหานครได้มีการให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครเหล่านี้ผ่านทางสำนักงานการต่างประเทศ เช่น การเป็นล่ามสำหรับการขอดูกล้อง CCTV การประสานงานเกี่ยวกับปัญหาการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และผ่านทางสำนักงานเขต โดยภารกิจของสำนักงานเขตที่ให้บริการชาวต่างชาติ สามารถสรุปได้หลักๆ ดังนี้ 1. งานทะเบียน: การให้บริการจดทะเบียนสมรสของคนไทยกับชาวต่างชาติ การย้ายเข้าทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ การออกเลขประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (ชาวต่างชาติ) การออกบัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย (ชาวต่างชาติ) การลงทะเบียนเปิดร้านอาหารของชาวต่างชาติ การเก็บภาษี 2. การให้ความรู้แก่แรงงานต่างด้าวเกี่ยวกับการป้องการโรคและด้านสาธารณะสุข เช่น การป้องกันโรคติดต่อ การคุมกำเนิด การป้องกันโรค HIV และการแจกถุงยาอนามัยเป็นต้น อย่างไรก็ตามยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลการให้บริการต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเหล่านี้เป็นภาษาอังกฤษจึงทำให้ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้ กอปรกับสำนักงานเขตได้ให้ข้อเสนอแนะและมีความต้องการให้สำนักงานการต่างประเทศช่วยจัดทำคู่มือข้อมูลที่สำคัญ ต่าง ๆ เป็นภาษาต่างประเทศ สำนักงานการต่างประเทศเล็งเห็นว่าเพื่อเป็นการพัฒนาการให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็นการตอบสนองความต้องการของสำนักงานเขต สำนักงานการต่างประเทศจึงเห็นควรจัดทำ “คู่มือเพื่อการอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครสำหรับชาวต่างชาติ”เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความจำเป็นแก่การใช้ชีวิตอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นภาษาอังกฤษ 1. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครให้สามารถเข้าถึงข้อมูลการให้บริการของกรุงเทพมหานครได้ดียิ่งขึ้น 2. เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของสำนักงานเขตที่ต้องการให้สำนักงานการต่างประเทศช่วยจัดทำคู่มือข้อมูลที่สำคัญต่าง ๆ เป็นภาษาต่างประเทศ 3. เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความจำเป็นแก่การดำรงชีวิตอยู่ในกรุงเทพมหานครและการให้บริการต่างๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาอังกฤษ 1. ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการใช้ชีวิตในกรุงเทพมหานครซึ่งมีความน่าเชื่อถือและสามารถเข้าถึงง่าย 2. สำนักงานเขตสามารถแนะนำ “คู่มือเพื่อการอยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครสำหรับชาวต่างชาติ” ให้แก่ชาวต่างชาติที่มาขอรับบริการที่สำนักงานเขตได้ 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
341 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและส่งเสริมป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์-สาธารณสุขทุกแห่ง ที่เปิดให้บริการประชาชนกระจายในทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึง สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติเพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวกรวดเร็วทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย แผนบริการราชการกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ โดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขในการใช้งานและให้บริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง คลินิกสัตวแพทย์ 6 แห่ง และคลินิกสัตวแพทย์ที่กลุ่มของสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุขทุกแห่ง ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขสำหรับใช้งานและให้บริการของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง กอง สำนักงานและผู้บริหารของสำนักอนามัย ผ่านระบบเครือข่าย และมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขเข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศ รวมทั้งความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติการ การบริหารจัดการ และการให้บริการแก้ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขและส่วนราชการของสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 4,120,800.00 สำนักอนามัย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 98.00
342 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุขของสำนักอนามัยเข้าสู่ Cloud (สพธ.) สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัยและการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อตอบสนองต่อภารกิจ จำนวน 10 ระบบงาน และปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 - 2555 ได้พัฒนาระบบฯ เพิ่มขึ้นอีก จำนวน 13 ระบบงาน รวมเป็น 23 ระบบงาน ซึ่งได้ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ และระบบงานสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ และคลินิกสัตวแพทย์ รวมทั้ง ห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง สำนักอนามัย ซึ่งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ถูกติดตั้งไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ของแต่ละศูนย์บริการสาธารณสุข และห้องระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง โดยเชื่อมโยงและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน ผ่านโครงข่าย Virtual Private Network (VPN) แบบเช่าใช้บริการจากผู้ให้บริการเอกชน จำนวน ๑๕๑ วงจร ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) หรือเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มีความก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและใช้งานบริการต่าง ๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้เทคโนโลยี Cloud Computing หรือคลาวด์ (Cloud) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหา เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียร ของระบบ สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชน และยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักอนามัยอีกทางหนึ่งด้วย 1. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย การเข้าถึงและเรียกใช้งานระบบสารสนเทศฯ รวมถึงความเสถียรของระบบ 2. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการสาธารณสุขที่มีอยู่ในระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย เข้าสู่ Cloud 3. เพื่อจัดหา Cloud สำหรับรองรับการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ของสำนักอนามัย ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS)ของสำนักอนามัย ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุขหน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง ถูกนำเข้าสู่ Cloud สำหรับการปฏิบัติงาน บริหารจัดการ และให้บริการแก่ประชาชน 6,800,000.00 5,610,000.00 สำนักอนามัย 2018-07-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 96.00
343 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) (กพล.) ปัจจุบันพื้นที่ชุมชนชานเมืองด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ (ประกอบด้วย เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง เขตคลองสามวา และเขตมีนบุรี) มีการขยายตัวของชุมชนอย่างรวดเร็วและเกิดความเป็นเมืองมากเกินกว่าแผนที่คาดไว้ ขณะที่ระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำปฐมภูมิ โดยเฉพาะคลองระบายน้ำหลัก ยังมีการพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกัน นอกจากนี้เส้นทางคมนาคมหลักที่พัฒนาขึ้นพร้อมกับสภาพเมือง จะมีบางส่วนที่ยังไม่มีท่อระบายน้ำหลักและบางส่วนกีดขวางการไหลของน้ำหลากจากด้านเหนือลงด้านใต้ทำให้เกิดน้ำท่วมขังตามถนนและพื้นที่ลุ่มต่ำเพิ่มมากขึ้น เมื่อเกิดฝนตกหนักถึงหนักมาก (ฝนมากกว่า 90 มม.ต่อวัน) ดังเช่นเหตุการณ์ปี พ.ศ. 2548และบางครั้งเมื่อเกิดอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างก็จะเกิดน้ำเหนือหลากไหลผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริเป็นบริเวณกว้าง ดังเช่นเหตุการณ์อุทกภัยปี พ.ศ. 2554 และเนื่องจากแผนกลยุทธ์การพัฒนากรุงเทพมหานครได้กำหนดให้มีศูนย์ชานเมืองขนาดใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ เช่น ที่เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง รวมทั้งสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ดำเนินการศึกษา เพื่อการวางแผนพัฒนาภาคมหานคร และได้กำหนดให้มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับการขยายตัวของพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดรอบกรุงเทพมหานครอีกด้วย อีกทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริอยู่ติดกับสนามบินสุวรรณภูมิ ศูนย์ขนถ่ายสินค้า และศูนย์อุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม รอบๆ สนามบิน ดังนั้นในอนาคตจึงเป็นที่แน่ใจได้ว่าจะเกิดความเป็นเมืองเพิ่มขึ้นมากกว่าแผนที่คาดไว้ ซึ่งเมื่อเกิดฝนตกหนักมากและอุทกภัยในอนาคตปัญหาน้ำท่วม รวมทั้งความเดือดร้อนของประชาชนและความเสียหายต่อทรัพย์สินก็จะยิ่งทวีคูณ ประกอบกับพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริกรุงเทพมหานครยังไม่เคยดำเนินการศึกษา สำรวจ และจัดทำแผนหลักระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำมาก่อน สำนักการระบายน้ำ ได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการสำรวจแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำในพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกหนักมากซึ่งจะทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน สาธารณูปโภคต่างๆ คิดเป็นมูลค่าความเสียหายเพิ่มขึ้นทุกปีจึงได้จัดเตรียมข้อกำหนดนี้ขึ้นเพื่อใช้ดำเนินการสำรวจจัดทำแผนหลักและออกแบบเบื้องต้นระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำปฐมภูมิในพื้นที่ชานเมืองด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ ให้สามารถรองรับฝนตกที่คาบอุบัติไม่น้อยกว่า 5 ปี และให้สามารถระบายน้ำหลากจากพื้นที่กรุงเทพมหานครส่วนที่อยู่นอกคันกั้นน้ำพระราชดำริลงสู่แก้มลิงคลองชายทะเลตามแนวพระราชดำริและคลอง 100 ลบ.ม./วินาที ของกรมชลประทานไม่น้อยกว่า190 ลบ.ม./วินาที (ตามที่ กบอ. กำหนด) ได้อย่างปลอดภัย สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร มีความประสงค์จะว่าจ้างที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเพื่อทำการสำรวจ จัดทำแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ สำรวจจัดทำแผนหลักและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมและระบบระบายน้ำพื้นที่ด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 75.00
344 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล กองโรงงงานช่างกล สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการซ่อมและบำรุงรักษายานพาหนะ เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้จัดการงานซ่อมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 ซึ่งใช้งานมาประมาณ 15 ปี เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ปัจจุบันล้าสมัย ไม่สามารถรองรับการพัฒนาการปฏิบัติงานรูปแบบใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศในภาพรวมใหม่ทั้งหมด เพื่อให้รองรับการใช้งานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพที่สุด และเพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน สามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อให้กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฆลสาย 3 มีระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน เพื่อสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน และสามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของกองโรงงานช่างกล ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานที่กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฑลสาย3) โดยเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) ได้ จำนวน 1 ระบบ 30,249,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
345 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับชำระภาษีผ่านระบบ QR Payment (ฺBest Service) เพื่ออำนวยความสะดวกในการชำระภาษี เพิ่มช่องทางการชำระเงินให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเลือกชำระเงินได้มากขึ้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีได้รับความสะดวกในการชำระภาษี กรุงเทพมหานครได้รับเงินรายได้ภาษีรวดเร็วขึ้น มีช่องทางการรับชำระภาษีเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมให้สังคมกรุงเทพมหานครเป็นสังคมไร้เงินสด ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ทั้ง 3 ภาษี ประกอบด้วย (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
346 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและสารสนเทศมีการพัฒนาก้าวไกลอย่างรวดเร็วและไม่หยุดนิ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์สำนักเทศกิจนี้ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ สนับสนุนให้เกิดการบริการอย่างง่าย อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการสืบค้นและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสำนักเทศกิจได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนเพื่อเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสำนักเทศกิจให้ปรากฏต่อสายตาประชาชนได้อย่างทั่วถึงและแพร่หลายต่อไป 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์สำนักเทศกิจ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อเสริมสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อประชาชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาท้องถิ่นของตนเองผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ ให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างองค์กรกับประชาชน และระหว่างองค์กรกับองค์กร อันจะเป็นการส่งเสริมความเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง 1. ทุกส่วนราชการในสำนักเทศกิจได้รับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจตามที่ร้องขอให้กองนโยบายและแผนงานเผยแพร่ 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักเทศกิจ 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
347 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่งผ่านระบบเครือข่ายภายในอินทราเน็ต ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบอุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน จึงมีความจำเป็นต้องบำรุงรักษาระบบฯ ดังกล่าว ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เพื่อจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ บำรุงรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2,130,000.00 1,856,935.52 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
348 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *เป็นโครง Best Service62* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 16,532,000.00 5,370,000.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 60.00
349 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ BMA Traffic ผ่านทาง Website และ Application สำนักการจราจรและขนส่ง ได้ติดตั้งโครงการระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร โดยติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จำนวน 498 กล้อง และติดตั้งอุปกรณ์ตรวจนับข้อมูลจราจร จำนวน 150 กล้อง โดยเชื่อมโยงสัญญาณภาพและข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลสภาพจราจร ที่ศูนย์ควบคุมระบบจราจร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เพื่อนำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี และแสดงภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริง เพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ้างเหมาบำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจร ให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 2. นำข้อมูลจราจรไปประกอบการวิเคราะห์ วางแผนและบริหารจัดการด้านจราจร พร้อมทั้งเผยแพร่แผนที่บ่งบอกระดับการติดขัดของการจราจรที่เป็นเส้นสี 3. แสดงจากกล้องภาพโทรทัศน์วงจรปิด บริเวณทางแยกต่างๆ ในพื้นที่โครงการที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลสภาพการจราจรที่แท้จริงเพื่อประกอบในการวางแผนการเดินทาง บำรุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ตรวจวัดและรายงานสภาพจราจรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีสภาพดีและพร้อมใช้งานตลอดเวลา 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
350 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการบูรณาการข้อมูลเชิงแผนที่ของโครงการด้านการจราจร ผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการจราจรและขนส่ง การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด ทั้งนี้ สำนักการจราจรและขนส่งมีแนวคิดที่จะใช้อุปกรณ์สมาร์ทโฟน เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน โดยการพัฒนา Mobile Application ที่รวบรวมการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ เช่น รถไฟฟ้า, รถไฟ, เรือ, รถเมล์, รถตู้ และรถมอเตอร์ไซด์ เป็นต้น การรายงานสภาพการจราจร การรายงานพื้นที่สภาพน้ำท่วมขังที่มีผลกระทบกับการจราจร การแสดงสถานที่ที่น่าสนใจ เช่น ร้านอาหารอร่อย สถานที่ท่องเที่ยว การรับแจ้งข่าวสารด้านการจราจร และรับแจ้งเหตุ เป็นต้น ทำให้ประชาชนสามารถสื่อสารและรายงานเหตุการณ์ได้จากทุกสถานที่ทุกเวลา เพื่อประชาชนจะได้เตรียมความพร้อมในเรื่องของการวางแผนการเดินทาง หรือการใช้เส้นทางและพาหนะให้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ในเวลานั้น นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปวางแผนการดำเนินงานได้อย่างทันท่วงที เช่น ประชาชนสามารถหลีกเลี่ยงพื้นที่จราจรที่ติดขัดเนื่องจากอุบัติเหตุ หรือ ภาครัฐสามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ทันเวลา เป็นต้น 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำโปรแกรมประยุกต์สำหรับการบูรณาการข้อมูลของสำนักการจราจรและขนส่ง โดยจัดทำ Platform กลาง เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก 2. จัดทำโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับบริการประชาชน (Mobile Application) เพื่อสร้างช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว ให้กับประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเหตุการณ์ต่างๆ ในด้านการจราจรและขนส่งร่วมกัน และเพื่อให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการเดินทางที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
351 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 กรุงเทพมหานครได้มีการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวและเปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยมีระยะทางประมาณ 23.5 กิโลเมตร และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทานการก่อสร้างและการเดินรถกับบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ชื่อในปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการขยายการให้บริการในส่วนต่อขยาย โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้ก่อสร้างงานโยธาและว่าจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด เพื่อดำเนินงานบริหารจัดการและบำรุงรักษา ซึ่งทำให้รถไฟฟ้าสายสีเขียวมีระยะทางที่ให้บริการ ประมาณ 36.25 กิโลเมตร เพิ่มพื้นที่การให้บริการของรถไฟฟ้าสายสีเขียวให้ครอบคลุม และสร้างความสะดวกในการเดินทางของประชาชน ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นผู้ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง - สมุทรปราการ และช่วง หมอชิต - สะพานใหม่ – คูคต เพื่อขยายการให้บริการให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การดำเนินงานและบำรุงรักษาของรถไฟฟ้าสายสีเขียวมีประสิทธิภาพในการจัดการและความต่อเนื่องของสายทาง คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (คจร.) จึงมีมติเมื่อการประชุม ครั้งที่1/2558 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดังนี้ 1) เห็นชอบในหลักการที่ให้ กทม. เป็นผู้เดินรถส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีเขียว 2) มอบหมายให้กระทรวงคมนาคมพิจารณาดำเนินการดังนี้ (1) เจรจากับ กทม. ในส่วนการบริหารจัดการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วง แบริ่ง – สมุทรปราการภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 และช่วงหมอชิต – สะพานใหม่ภายในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2558 รวมถึงการเจรจาเงื่อนไขด้านการเงินระหว่างกระทรวงคมนาคมกับ กทม. และนำเสนอ คจร. ต่อไป (2) เจรจาร่วมกับกระทรวงการคลัง กทม. และ รฟม. เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับเงื่อนไขทางการเงิน จากการประเมินข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 กทม. มีภาระในการชำระค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงินรวม 44,429 ล้านบาท ให้กับสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) และค่าจัดกรรมสิทธิ์ ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมเงินกู้ของค่าก่อสร้างงานโยธาวงเงิน 7,356.๓7 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบไฟฟ้า และเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถ (E&M) (โดยไม่รวมค่ารถไฟฟ้า) จำนวนทั้งหมด 22,373 ล้านบาท และดอกเบี้ย อีก 10 ปี ปีละ 1,000 ล้านบาท รวมเป็นภาระหนี้สินทั้งหมดประมาณ 84,158.37 ล้านบาท ซึ่ง กทม. จะทยอยชำระ คืนส่วนของเงินต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2573 จนถึง พ.ศ. 2585 และชำระค่าดอกเบี้ยของค่าก่อสร้างงานโยธา และดอกเบี้ยค่า งานติดตั้งระบบไฟฟ้าและเครื่องจักรกลและระบบการเดินรถในช่วงตั้งแต่ พ.ศ. 2562 - 2572 ซึ่งจากการคาดการณ์งบประมาณและรายได้ของ กทม. ในระหว่าง พ.ศ. 2562 - 2572ทาง กทม. จะมีสภาพคล่องไม่เพียงพอต่อการชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยดังกล่าว รวมถึงค่าจ้างบริหารจัดการและบำรุงรักษาตามสัญญาว่าจ้าง เนื่องจากรายได้หลักของรถไฟฟ้าสายสีเขียวสายสีลมและสายสุขุมวิท เป็นของเอกชนทั้งหมดตามสัญญาสัมปทาน และรายได้จากรถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยายไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดของโครงการ เนื่องด้วยเหตุผล ดังนี้ • ข้อจำกัดด้านการเงินของ กทม. • แนวทางในการใช้โครงสร้างอัตราค่าโดยสารตารางเดียวเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่ต้องอาศัยเงินอุดหนุนจาก กทม. • พิจารณาแนวทางการบริหารจัดการและการให้บริการของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวทั้ง 3 แนวเส้นทาง ประกอบด้วยเส้นทางหลักตามสัญญาสัมปทานเดิม เส้นทางส่วนต่อขยาย 1 ที่กรุงเทพมหานครจ้างบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด บริหารจัดการเดินรถ และเส้นทางส่วนต่อขยาย 2 ที่รัฐบาลมอบให้กรุงเทพมหานครเดินรถ เพื่อให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและการให้บริการ ดังนั้น เพื่อหาแนวทางการดำเนินโครงการฯ ให้ กทม. สามารถหาแหล่งเงินมาดำเนินโครงการฯ และดำเนินโครงการฯ ตามนโยบายของภาครัฐ ทาง กทม. ได้จัดทำรายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ ตามพระราชบัญญัติการให้ เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 (พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว โดยแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 และขณะนี้อยู่ในระหว่างขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจกรรมของรัฐ กทม. จึงมีความจำเป็นในการว่าจ้างที่ปรึกษา โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 เพื่อประกอบการขออนุมัติการให้เอกชนร่วมลงทุน ต่อไป 1. เพื่อให้การคัดเลือกเอกชนตามขั้นตอนของ พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ พ.ศ. 2556 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามในขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด” 2. กรุงเทพมหานครจะมีเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้เอกชนร่วมลงทุนอย่างถูกต้อง 3. กรุงเทพมหานครจะมีแนวทางการบริหารดำเนินงานและกำกับสัญญาได้อย่างชัดเจน กรุงเทพมหานครสามารถได้ที่ปรึกษา เพื่อจัดเตรียมเอกสารและให้คำปรึกษาในการคัดเลือกเอกชนโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวตาม พระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุน พ.ศ.2556 ดังต่อไปนี้ 1. ทำประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมลงทุน ขอบเขตของโครงการ และสัญญาร่วมลงทุนรวมถึงการจัดเตรียมข้อมูลและเอกสารอื่นที่จำเป็นสำหรับการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุนเพื่อนำเสนอคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ให้ความเห็นชอบ 2. เพื่อประเมินข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน 3. เพื่อให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะต่อกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ในการเจรจาต่อรองกับผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกรวมถึงการประเมินความเสี่ยงและเสนอแนะแนวทางบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ของคณะกรรมการคัดเลือกเอกชน 4. เพื่อจัดทำรายงานประเมินข้อเสนอ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะในการคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงกรุงเทพมหานครลงนามสัญญาร่วมทุน 25,000,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 40.00
352 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
353 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาออกแบบระบบสารสนเทศด้านงบประมาณ สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครมีความจำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสบการณ์ในงานการบริหารทรัพยากรองค์กร การเงิน งบประมาณภาครัฐและมีความเข้าใจในภารกิจของกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณและระบบงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการงบประมาณของกรุงเทพมหานครที่สนับสนุนและรองรับการใช้งานตามกระบวนการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการงบประมาณ ปัญหาและโครงสร้างของระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครพร้อมทั้งแนวทางการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศด้านงบประมาณ 2.เพื่อเป็นกรอบการพัฒนาระบบสารสนเทศทางด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครให้มุ่งสู่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ จ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาและออกแบบระบบงานด้านงบประมาณสำหรับเป็นกรอบแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศทางด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร พร้อมร่างขอบข่ายของงาน จำนวน 1 ฉบับ 3,925,000.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
354 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการแก้ไขปัญหาไอที แก้ไขทันที มีรับประกันผลงาน (รักษารอบปี 2562) กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานราชการขนาดใหญ่มีหน่วยงานในสังกัดจำนวนมากถึง 77 หน่วยงาน ทำให้การบริหารราชการของกรุงเทพมหานครด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีปัญหาที่หลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปปัญหาเป็นกลุ่มๆ ได้ดังนี้ กลุ่มฮาร์ดแวร์ กลุ่มซอฟต์แวร์ กลุ่มระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย กลุ่มระบบข้อมูลสารสนเทศ และกลุ่มบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทำให้บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ไม่สามารถเรียนรู้ให้เท่าทันตามเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ไม่ได้อัพเดทความรู้และข้อมูลใหม่ๆ จึงเป็นสาเหตุทำให้การบริการเป็นไปด้วยความล่าช้า ใช้เวลานาน ทำให้ผู้รับบริการเกิดความเบื่อหน่ายและหงุดหงิดในการขอรับบริการ ส่งผลทำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เกิดความเครียดและกดดันในระหว่างการให้บริการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ในฐานะหน่วยงานกลาง ที่รับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรุงเทพมหานคร จึงมีแนวคิดในการพัฒนา งานบริการให้ดียิ่งขึ้น และลดความตึงเครียดในระหว่างการให้บริการ โดยกำหนดให้มีโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการแก้ไขปัญหาด้านไอที เป็นการปฏิรูปกระบวนทัศน์ การทำงานและการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนองการพัฒนา ตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และการวางรากฐานสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย ตาม แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัด 1. จำนวนมาตรฐานการให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ ไม่น้อยกว่า 1 มาตรฐาน (ผลผลิต) 2. จำนวนระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ระบบ (ผลผลิต) 3. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (ผลลัพธ์) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ของบุคลากรของ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2. บุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล มีเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงานให้บริการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดความสุขในการทำงาน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
355 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการฝึกอบรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) และสอดคล้องตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์ แต่เนื่องจากข้าราชการของกรุงเทพมหานครบางส่วนยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้อย่างครบถ้วนประกอบกับข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับการแต่งตั้งหรือมีการโยกย้ายไปหน่วยงานอื่น ทำให้ข้าราชการที่รับตำแหน่งทดแทน อาจไม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้การใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และไม่มีความเข้าใจในการใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่างๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้ง สามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบไป - กลับ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ประกอบด้วย 1) หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน 2) หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 203,300.00 176,750.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-17 00:00:00 2019-05-17 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
356 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานราชการทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับการคำขออนุญาต/บริการจัดตั้งธุรกิจ (Doing Business Platform)รวมถึงกรุงเทพมหานครต้องพัฒนาระบบฯ สำหรับรองรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Open Data) กับทางศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานภาครัฐระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อกับทางราชการ ในฐานะเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาออกใบอนุญาต/บริการ โดยรับหน้าที่เป็นหน่วยงานรับข้อมูลจากประชาชนที่ติดต่อมาขอรับใบอนุญาต/บริการ ตลอดจนรับ - ส่งส่งต่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. ผ่านระบบเชื่อมโยง เพื่อส่งต่อข้อมูลของประชาชนให้กับหน่วยงานในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ให้สามารถดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวข้องได้สะดวกรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศกลาง สำหรับเป็นศูนย์รับคำขออนุญาตของกรุงเทพหานคร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ รองรับภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติฯ ที่กำหนด รวมถึงประชาชนสามารถติดตาม (Monitoring / Tracking) การออกใบอนุญาต/บริการ พร้อมระบบแจ้งเตือน (Alert) เพื่อรายงานสถานะการดำเนินการ และผลการพิจารณาการออกใบอนุญาต/บริการ ให้ประชาชนได้รับทราบ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขตและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์รับคำขออนุญาตกลางของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้แบบเบ็ดเสร็จ 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามสถานะการดำเนินการ และรับทราบผลการพิจารณาใบอนุญาต/บริการ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบออนไลน์ 1. กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศสำหรับรองรับคำขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนที่จะดำเนินการผ่านทางสำนักงานเขต 50 เขต รวมถึงมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับ-ส่งข้อมูลของประชาชนที่มาติดต่อกับทางราชการ ตลอดจนหลักฐานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับศูนย์รับคำขออนุญาตของสำนักงาน ก.พ.ร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการติดต่อกับทางราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร 2. ประชาชนสามาถติดตามสถานะการดำเนินการการขอใบอนุญาต/บริการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โดยดำเนินการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ของกรุงเทพมหานคร 83,237,500.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
357 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ ในกรุงเทพมหานครมีหลากหลายด้าน หลากหลายมุมมองได้ก่อตัวและขยายวงกว้างมากขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารจัดการเมือง รวมไปถึงการกระทำ หรือการแสดงความคิดเห็น ตลอดถึงการรายงานสถานการณ์ต่างๆ การขอความช่วยเหลือ และการร้องเรียนในเรื่องต่างๆ ทั้งที่เป็นเรื่อง ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่จากทั้งระบบฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครและข้อมูลจากเครือข่ายทางสังคม (Social Network) เพื่อความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคมและประชาชน รวมทั้งส่วนที่เพิ่มเติมในระบบคลังข้อมูลกลางกรุงเทพมหานคร ด้านวัฒนธรรม ด้านคุณภาพชีวิต และด้านสวัสดิการสังคม เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ยังไม่มีอยู่แต่จำเป็นต่อการสนับสนุนคลังข้อมูลกลาง และเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่หลักเพื่อตอบสนองนโยบายรัฐบาล และการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพฯ เพื่อทำให้เมืองกรุงเทพฯ ก้าวสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) หมายถึง การเก็บข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องในการเก็บข้อมูลที่มีขนาด (Volume) ความหลากหลาย (Variety) และความเร็ว (Velocity) ของข้อมูลที่สูงมาก และสิ่งสำคัญคือคุณค่าของข้อมูล (Value) ที่เป็นแบบที่มีโครงสร้าง (Structure) และไม่มีโครงสร้าง (Unstructure) ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ โดยการวาง Schema ให้เหมาะสมและตรงตามโจทย์ที่ต้องการได้รับคำตอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพของกรุงเทพมหานครให้พัฒนาไปสู่องค์กรสมัยใหม่ที่มีการบริหารงาน ด้วยข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ มีความหลากหลายครอบคลุมรอบด้าน สามารถนำมาใช้ในการวางแผนและบริหารงานในเชิงรุกได้ 1. เพื่อค้นหาข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และนำมาวิเคราะห์ พยากรณ์ และคาดการณ์เหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น และพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจาก Social Network เพื่อใช้ในการบริหารจัดการเมืองกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำคลังข้อมูลสำหรับบูรณาการข้อมูลจากสังคมออนไลน์ โดยเน้นผู้รับบริการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และนำไปใช้เป็นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ช่วยในการวางแผนและบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ 1. เพื่อรวบรวม และวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สามารถวิเคราะห์ พยากรณ์ และคาดการณ์เรื่องต่าง ๆ ในอดีตและปัจจุบัน และครอบคลุมการดำเนินงานตามภารกิจของกรุงเทพมหานครได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมจากเครือข่ายสังคม 87,200,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
358 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการพัฒนาระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ เป็นการจัดทำระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ หรือติดตั้งเครื่องมือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานสากล เพื่อให้ผู้บริหารตลอดจนผู้ปฏิบัติงานสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านการบริหารจัดการ และการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านเทคนิค ซึ่งจะส่งเสริมให้หน่วยงานสามารถดูแลรักษาระบบสารสนเทศให้มีความพร้อมใช้ (availability) และความน่าเชื่อถือได้ (reliability) โดยระบบ IT Infrastructure Monitoring จะทำการรวบรวมข้อมูลสถานะการทำงานเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ ของระบบทั้งหมด ตรวจสอบการโจมตีที่เกิดขึ้นในเครือข่าย ทำการแสดงผลและ แจ้งเตือน รวมถึงสร้างรายงานได้ โดยระบบที่ IT Infrastructure Monitoring สามารถตรวจสอบการทำงานและการเรียกใช้งาน เช่น Application DatabaseStorage สามารถแยกแยะได้ระหว่างอุปกรณ์ Network, Firewall, Printer, PC, Notebook, Mobile Phone, Tablet, USB Device หรือ IP รวมถึง Service, Process และ Software ที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงการยืนยันตัวตนของผู้ใช้งาน จัดหาระบบวิเคราะห์การบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อช่วยในการบริหารจัดการระบบสารสนเทศที่มีอยู่กระจัดกระจายและมีปริมาณมาก 1. เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหางานด้านระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และบริหารจัดการระบบสารสนเทศให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สามารถรองรับภารกิจของกรุงเทพมหานคร ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และสอดคล้องตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 17,000,000.00 3,390,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
359 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต คิดเป็นร้อยละ 80 (ตามเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562) 0.00 4,015,500.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
360 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมกำหนดรูปแบบและจัดทำข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government Data) ของกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ ) ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูลสารสนเทศด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับกรุงเทพมหานครต่อสาธารณชน เช่น ผลการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)ผังเมืองรวม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร เศรษฐกิจ สังคม จำนวนประชากรตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับเขตปกครองทั้ง 50 เขต รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลพื้นฐานระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ผ่านเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และอุปกรณ์สมาร์ทโฟน ทั้งนี้ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข้อมูลของกรุงเทพมหานครมาโดยตลอด โดยในขั้นต้นได้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานครที่ให้บริการตามเว็บไซต์ของหน่วยงาน ทั้งในรูปแบบรายงานและสารสนเทศต่างๆ ในระยะหลังที่ภาครัฐให้ความสนใจกับการใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ และเผยแพร่ในรูปแบบข้อมูลเปิดภาครัฐ ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานครจึงได้รวบรวมข้อมูลและจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลเปิดของกรุงเทพมหานคร เพื่อทำให้ผู้ใช้บริการข้อมูล ทั้งภาคประชาชนภาคธุรกิจเอกชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. ๒๕61 – ๒๕65) มิติที่ 7.5 เป้าหมายที่ 7.5.1.1 มีกรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วย ความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) เป้าประสงค์ที่ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชนและ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือภาคเอกชน และ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 7 : สร้างกลไกการบริหารการขับเคลื่อนอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล (DIGITAL ENTREPRENEUR)เป้าประสงค์ที่ 1 : กรุงเทพมหานครมีการบริหารงานอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE)กลยุทธ์ที่ 1 : การบูรณาการการใช้ข้อมูล และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเพื่อความโปร่งใส พร้อมให้ประชาชนผู้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและยกระดับการพัฒนาของการบริการภาครัฐ (E-Government) อย่างต่อเนื่องและปลอดภัย ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ คือมีการเปิดเผย เผยแพร่และแบ่งปัน (Open Public and Sharing) ข้อมูลเพื่อการบริการ และการบริหารจัดการของกรุงเทพมหานครที่โปร่งใส ทันสมัย และ รวดเร็ว เป็นการรองรับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ 2.1 เพื่อกำหนดมาตรฐานข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานครให้เป็นแนวทางในการจัดทำข้อมูลของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร 2.2 มีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลเปิดภาครัฐตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อให้บริการข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานครแก่ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ 3.1 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานในการจัดทำข้อมูลเปิดภาครัฐ 3.2 บูรณาการข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้สามารถเป็นการให้บริการข้อมูลเปิดภาครัฐอย่างเป็นระบบ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
361 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการให้บริการข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (infographic) กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ดำเนินการบูรณาการข้อมูลและประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อจะทำข้อมูลสารสนเทศบนแผนภาพ (Infographic) ที่มีลักษณะของข้อมูลและกราฟิกเป็นลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม และแผนที่ ในการแสดงข้อมูลและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ให้ความรู้บริการแก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปบนเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านข้อมูลสารสนเทศและบริการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร จัดทำแผนภาพ (Infographic) ไม่น้อยกว่า 6 แผนภาพต่อปี 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
362 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจะต้องเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลฯ ก่อนนำโครงการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการพิจารณาเรื่อง/โครงการให้เป็นไปตามมาตรการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดหาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด เพื่อพิจารณารื่อง/โครงการให้เป็นไปตามมาตรการ/หลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดหาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อกำกับ ดูแล และบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็นไปตามมาตรการที่กำหนด ร้อยละ 90 ของจำนวนเรื่อง/โครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
363 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร คือ ข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงาน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาคเศรษฐกิจที่ปรากฎตามแผนของกรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการท่องเที่ยว 2. ด้านการเกษตร 3. ด้านผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) และผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 4. ด้านอาชีพและแรงงาน 5. ด้านการคลังและงบประมาณ เพื่อรวบรวมและพัฒนาฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครให้ครอบคลุ่ม ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน มีข้อมูลอย่างน้อย 2 ด้าน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
364 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร โดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการทบทวนและจัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจของกรุงเทพมหานคร สนับสนุนการพัฒนาตามเป้าหมายของการพัฒนาระดับประเทศ เพื่อใช้ใน การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาที่เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับประเทศ และเป็นไปตามแนวโน้มการพัฒนาของโลก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองจัดเป็นข้อมูลฐานที่มีความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายของฝ่ายบริหาร การกำหนดแผนงานโครงการซึ่งทำให้กรุงเทพมหานครเกิดการพัฒนาอย่างมีทิศทาง เป้าหมาย และสามารถแสดงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการพัฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น ข้อมูลตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการพัฒนาเมือง จึงควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาอย่างเป็นระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เป็นเครื่องมือในการดำเนินการดังกล่าว สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นระบบ มีมาตรฐานและเป็นปัจจุบัน สามารถนำไปใช้ในกระบวนการวางแผน การติดตามประเมินผลตลอดจนการกำหนดนโยบายของฝ่ายบริหาร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นระบบสอดคล้องกับสถานการณ์ ซึ่งจะนำไปสู่การดำเนินงาน การติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผลแผนพัฒนาฯ ให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อพัฒนาและจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองให้เป็นระบบ มีความเป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการใช้งานทั้งในด้านของการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่สามารถเชื่อมโยงกับกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร การรายงาน การพัฒนาในทุกระดับ และการติดตามประเมินผล 3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองสำหรับใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ กำหนดนโยบาย สั่งการให้ดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในภารกิจต่าง ๆ ของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง 1 ระบบ สำหรับใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และใช้ประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผลการพัฒนากรุงเทพมหานครในทุกระดับ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
365 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ก่อนเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการของหน่วยงานจำนวนมาก ประกอบกับฝ่ายเลขานุการฯ ซึ่งมีหน้าที่จัดเตรียมและวิเคราะห์ข้อมูลโครงการของหน่วยงานก่อนเสนอเข้าสู่การพิจารณาในคณะกรรมการฯ จะต้องวิเคราะห์โครงการจำนวนมากเสนอต่อคณะกรรมการฯ เพื่อให้ทันต่อการเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ หน่วยงานต้องเสนอขอรับการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลจากคณะกรรมการฯ หลายครั้ง และใช้เวลาในการพิจารณานาน เนื่องจากขาดความเข้าใจในการนำเสนอโครงการต่อคณะกรรมการฯ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เล็งเห็นถึงปัญหาในการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ จนถึงขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ จึงขอเสนอโครงการการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการให้บริการกับหน่วยงานในการให้คำปรึกษาและจัดส่งโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการบริหารจัดการข้อมูลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในภาพรวมของฝ่ายเลขานุการฯ ในการจัดเตรียมรายละเอียดโครงการให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งผลให้คณะกรรมการฯ ได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถนำไปบูรณาการภาพรวมในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.เพื่อเพิ่มช่องทางการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ในการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่หน่วยงาน 3.เพื่อติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นำไปสู่การประเมินผลตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร 1.พัฒนาระบบมาตรฐาน กระบวนการ และปรับขั้นตอนการนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาโครงการที่มุ่งสู่การลดระยะเวลาการดำเนินการให้ทันต่อการขอรับงบประมาณ ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 3.พัฒนาคู่มือการเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลต่อคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร 4.จัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
366 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร โดยใช้กรอบแนวคิด 7’s Mckinsey Framework เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และ PESTEL Analysis ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ทั้งนี้ จากผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในของสำนัก-ยุทธศาสตร์และประเมินผล พบว่า มีประเด็นที่เป็นจุดอ่อนสำคัญและต้องแก้ไขปรับปรุง ๓ ประเด็น ได้แก่ ด้านบุคลากร (Staff) ขาดความรู้ความเข้าใจ และการบูรณาการองค์ความรู้ด้านแผนให้เป็นไป ในแนวทางเดียวกัน รวมถึงความต่อเนื่องขององค์ความรู้กรณีที่บุคลากรมีการโยกย้าย ลาออกหรือเกษียณอายุราชการ ด้านระบบในการดำเนินการ (System) การประสานงานระหว่างส่วนราชการยังขาดความชัดเจน ขาดการสื่อสารทำความเข้าใจ ขาดมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานบ่อยครั้ง ด้านโครงสร้างองค์กร (Structure) ขาดความยืดหยุ่นและปรับตัวขององค์กรในการรองรับภารกิจใหม่ๆ ส่งผลให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน การกำหนดภารกิจระหว่างส่วนราชการมีความเหลื่อมซ้อนกัน ส่งผลกระทบต่อการประสานงาน เกิดความล่าช้าและไม่สนับสนุนการบูรณาการการทำงาน จุดอ่อนขององค์กรที่พบจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน มีผลต่อการดำเนินงานของสำนัก-ยุทธศาสตร์และประเมินผล ซึ่งเป็นหน่วยต้นทางของการบริหารจัดการแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร การที่บุคลากรมีความเข้าใจต่อภารกิจที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะความเข้าใจต่อความรู้และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ย่อมส่งผลต่อมาตรฐานของงาน ความน่าเชื่อถือขององค์กร และประสิทธิภาพการบริหารราชการในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาจากสภาพแวดล้อมภายนอก ในด้านของโอกาสที่พบว่า ประชาชน ภาคประชาสังคมมีการตื่นตัวต่อกระบวนการในการติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐอย่างมาก และเมื่อผนวกกับความรวดเร็วของระบบการสื่อสารในยุคปัจจุบันแล้ว การจัดการกับปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นจุดอ่อนในการบริหารงานของสำนักยุทธศาสตร์- และประเมินผลจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น เพี่อเป็นการแก้ไขจุดอ่อนและลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาดังกล่าว กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อให้บุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านแผน และงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเข้าใจต่อเป้าหมายและทิศทางการดำเนินงานขององค์กร มีการทำงานที่เกื้อหนุนเชื่อมโยงกัน ซึ่งจะนำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ เป็นผู้นำหรือที่ปรึกษาด้านแผนของกรุงเทพมหานครโดยมีระบบสารสนเทศเป็นแกนประสานทั้งภายในสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล และหน่วยงานภายนอก ๒.1 เพื่อพัฒนารูปแบบและแนวทางในการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2.2 เพื่อพัฒนาคู่มือในการบริหารจัดการแผนของกรุงเทพมหานครสำหรับบุคลากรของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒.๓ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานด้านแผนและเทคโนโยโลยีของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3.1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนและผู้ที่เกี่ยวข้องในภารกิจการบริหารจัดการแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีรูปแบบและแนวทางในการทำงานที่เกื้อกูล ประสาน เชื่อมโยงกัน ๓.2 สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีคู่มือในการบริหารจัดการแผนที่เป็นมาตรฐานสำหรับกรุงเทพมหานคร เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการแผน ๓.3 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครสามารถจัดทำแผนได้ถูกต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
367 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการ และการดำเนินการติดตามความคืบหน้าของการแก้ไขเรื่องร้องเรียน ต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนผู้รับบริการได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานครซึ่งปรากฏในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS)โดยให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวสามารถจัดการกับเรื่องร้องเรียนได้ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนด 0.00 0.00 สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
368 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ภารกิจการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สำหรับการบริหารจัดการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการของศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงมีความรวดเร็วและถูกต้องมากขั้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้การให้บริการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์ในการดำเนินการศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงต่อไปได้ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
369 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 โครงการพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) สำนักพัฒนาสังคมเป็นหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่ประชาชน โดยภารกิจหนึ่งในความรับผิดชอบของสำนักพัฒนาสังคม คือ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภารกิจการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังไม่มีระบบสารสนเทศรองรับการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้มีปัญหาในการติดตามเรียกใช้งานและการติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1. เพื่อพัฒนาระบบบริหารการสงเคราะห์ประชาชน (E-case) สำหรับการบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 1. สำนักพัฒนาสังคมมีระบบสารสนเทศสำหรับบริหารจัดการภารกิจให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้การทำงานระหว่างสำนักพัฒนาสังคมและสำนักงานเขตมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. สำนักพัฒนาสังคมมีการจัดเก็บข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่กรุงเทพมหานครในรูปแบบฐานข้อมูล ทำให้การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบมากขึ้น สะดวกต่อการเรียกใช้งานและสามารถใช้เป็นข้อมูลในการประเมินและวิเคราะห์เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนในภาพรวมต่อไปได้ 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
370 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 การบันทึกข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล (ทะเบียนร่วมชื่อใช้ชื่อสกุล)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2506-2546 เนื่องจากข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลของสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2506-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ด้วยความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นฝ่ายทะเบียนได้มีการ ตั้งแต่ปี 2506-2546 จำนวน18,256 ราย ฉะนั้นฝ่ายทะเบียนจึงแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย ช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2522-2514 จำนวน 5,976 ราย ช่วงที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2513-2506 จำนวน 6,497 ราย 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อสามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุลจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที 3. เพื่ออำนวยความสะดวก และความรวดเร็วให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 4. เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจสูงสุดแก่ประชาชนผู้มาติดต่อและก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและกรุงเทพมหานคร 1. สามารถจัดเก็บช่วงที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จัดเก็บข้อมูลทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล ลงในฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ระหว่าง ปี พ.ศ. 2523-2546 จำนวน 5,783 ราย 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนร่วมใช้ชื่อสกุล มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
371 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2562 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2559-61 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน จำนวน 2 โครงการ 1.โครงการฯ ของปี 2561 จำนวน 1 โครงการ 2.โครงการใหม่ ของปี 2562 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
372 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (ตามที่ สลป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
373 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ นโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร มุ่งเน้นการบริหารราชการด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส มีส่วนร่วม ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ เกิดความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามโครงการต่าง ๆ 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ดำเนินการตามเป้าหมายตามที่กองงานผู้ตรวจราชการ กรุงเทพมหานครกำหนด (ประเมินความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
374 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 (งานประจำ)กิจกรรมปรับปรุงระบบสารสนเทศและเว็บไซด์เพื่อให้บริการประชาชน สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตาม สืบค้นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อยจำนวน 12 ครั้งต่อปี 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
375 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
376 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 ปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตมีนบุรี ขึ้น 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ทางราชการของสำนักงานเขตมีนบุรีได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตมีนบุรีทราบข่าวสาร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในองค์กร ผลผลิต การจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข้อมูลการให้บริการ รวมทั้งสถิติที่สำคัญของสำนักงานเขต และมีแบบฟอร์มให้สามารถดาวน์โหลดได้ ผลลัพธ์ หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจ และการแก้ไขปัญหาของสำนักงานเขต รวมทั้งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการด้านข้อมูลข่าวสารราชการที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และประชาชนสามารถแสดง ความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ในลักษณะโต้ตอบกับสำนักงานเขตมีนบุรี 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
377 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอก ในปัจจุบันการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง ในหน่วยงานภาครัฐจึงต้องปรับปรุงการสื่อสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ฯลฯ ออกไปให้กว้างขวางแก่ประชาชน 1. เพื่อให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสาร การดำเนินงานต่างๆ ให้แก่ประชาชน - สำนักงานเขตหนองจอกมีเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองจอกที่มีข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
378 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ (มิติที่ 3 (3.3)) กรุงเทพมหานครมีการให้บริการประชาชนเป็นหลัก การดำเนินการต่างๆจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะเป็นการอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อความพึงพอใจของประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์สูงสุด 1. เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อตอบสนองความต้องการและอำนวยความสะดวกของปนะชาชน ดำเนินการประเมินความพึงพอใจประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ใน ระดับ 5 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
379 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมบริหารความเสี่ยงเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (มิติที่ 4 (4.1)) มติคณะรัฐมนนตรีเห็นชอบให้ทุกภาคส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการหรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชิบได้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต กรุงเทมหานครจึงกำหนดเป็นแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร และให้ทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครนำแผนดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดระบบการทำงานที่ดี สามารถป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นที่อาจจะเดิอขึ้นภายในหน่วยงาน 1. เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีการสร้างราชการใสสะอาดฯ ปีงบประมาณ 2559 ที่เหมาะสมสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์การสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่สามารถดำเนินการตามตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์การสร้างราชการใสสะอาดปีงบประมาณ 2559 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตามแผนการสร้างราชการใสสะอาด 4. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีค่านิยม ในการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื้อสัตย์สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการสร้างราชการใสสะอาดของกรุงเทพมหานครบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ คิดเป็นร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
380 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
381 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (มิติที่ 3 (3.1)) กรุงเทพมหานครดำเนินการเป็นหน่วยงานปกครองรูปแบบพิเศษและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงจึงมีประชากรเป็นจำนวนมาก ทั้งประการหลักและประชากรแฝง ทำให้โอกาศที่จะเกิดปัญหาต่างๆตามมาอย่างมากมาย หน่วยงานของกรุงเทพมหานครเองจึงมีการกำหนดแนวทางให้ทำหน้าที่ดูแลและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น จากเรื่องต่างๆเพื่อบรรเทาและลดโอกาศที่จะเกิดปัญหาในอนาคต 1.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 2.เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการแก่ประชาชนในการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ แก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนทุกเรื่องที่เขตบางกอกใหญ่ได้รับแจ้ง ให้ทันตามที่กำหนด และมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
382 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (best service)(รักษารอบ) มิติที่ 3(3.2) ในปัจจุบันสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ประสบปัญหาต่างๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมโดยรอบพื้นที่และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีผลกระทบต่อการปฏิบัติราชการของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ดังนี้ ๑. ปัญหาการเดินทางมาทำงานไม่ได้รับความสะดวก เนื่องจากมีการก่อสร้างรถไฟฟ้า สายสีน้ำเงิน ทำให้ถนนและบาทวิถี ของถนนสายหลักในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ เป็นพื้นที่ก่อสร้าง ทางเข้าสำนักงานเขต บาทวิถีเป็นพื้นที่ตั้งเสาตอม่อโครงสร้างรถไฟฟ้า ถนนถูกปิดช่องการจราจรเหลือเพียง ๑ เลน รถประจำทางที่เดิมเส้นทางเคยผ่านหน้าสำนักงานเขต เปลี่ยนเส้นทางทำให้บางคันไม่ผ่านหน้าสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๒. ปัญหาที่จอดรถ เนื่องจากที่ดินเช่าบริเวณข้างสำนักงานเขตเดิม เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินได้ขายที่ดินให้แก่เจ้าของใหม่และได้ยกเลิกการให้เช่าแก่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ พื้นที่จอดรถจึงลดลง ๓. ปัญหาความเครียดจากการทำงาน เนื่องจากความคาดหวังของผู้รับบริการที่มากขึ้น ภาระงานที่มากขึ้น ขาดพื้นที่สำหรับผ่อนคลายอิริยาบถในระหว่างวัน จึงทำให้เกิดความเครียดจากการทำงาน จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น สำนักงานเขตบางกอกใหญ่จึงได้จัดทำโครงการบางกอกใหญ่แบ่งปันความสุขขึ้น เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตและจิตใจของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขต บางกอกใหญ่ให้มากยิ่งขึ้น โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากข้าราชการและบุคลากรทุกส่วนราชการ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิเช่น การสร้างเครือข่าย Carpool ทางเดียวกันแวะรับกันมาทำงาน กิจกรรมการร่วมกันพัฒนาพื้นที่สีเขียวและจุดพักผ่อนบริเวณโถงหน้าลิฟต์ในแต่ละชั้นของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ รวมถึง การบริหารจัดการพื้นที่จอดรถและจัดหาพื้นที่จอดรถเพิ่มเติม โดยมุ่งหวังให้ผู้รับบริการได้รับประสบการณ์ ที่ดี ในการมาใช้บริการที่สำนักงานที่เขตบางกอกใหญ่ มีความประทับใจและเกิดความพึงพอใจต่อการให้บริการ ๑ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๒. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์สร้างบรรยากาศที่ดีให้แก่สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ๓. เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ โดยมุ่งสร้างเสริมให้เกิดความสุขในที่ทำงาน สร้างพื้นที่สีเขียว ปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สร้างสภาพแวดล้อมทางจิตสังคม และสร้างสุขภาวะ ให้แก่คนทำงานและผู้มารับบริการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ข้าราชการและบุคลากรของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีความสุขในการทำงาน ๒. ประชาชนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
383 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ การดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2.1 เป็นการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บุคลากรในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีสภาพการทำงานที่ปลอดโรค ปลอดภัยจากการทำงาน และส่งเสริมการมีสุขภาพอนามัยที่ดีโดยนำหลักการและแนวทางการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย มาประยุกต์ใช้ เพื่อนำมาสู้การดำเนินการควบคุมและป้องกันอันตราย ด้วยมาตรการ วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายดังกล่าว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ สังกัดกรุงเทพมหานครและผู้เกี่ยวข้องให้ปลอดโรค ปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งส่งผลต่อการให้บริการประชาชน สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด มีการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานตามขั้นตอนการดำเนินการที่สำนักอนามัยกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
384 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ บางกอกใหญ่ (Best Service) ในปัจจุบันการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น ผู้คนหันมาให้ความสำคัญกับการรักษาสภาพแวดล้อม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีการดำเนินการในหลากหลายวิธี เช่น การอนุรักษ์ป่าไม้ ปลูกป่าชายเลน การคัดแยกขยะในชุมชน แต่ในการแก้ปัญหาดังกล่าวยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาขยะจากแหล่งกำเนิดของขยะต่างๆ ได้อย่างแท้จริง อาทิเช่น ขยะที่เกิดจากร้านค้า ตลาด ร้านอาหาร เป็นต้น ตลาดสดถือเป็นสถานที่สำคัญในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและสินค้าส่วนใหญ่ที่มีผู้เลือกซื้อไปบริโภค ได้แก่ อาหารสด ผักสด วัตถุดิบแต่งอาหารต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่งต้นทางของการเกิดขยะมูลฝอย ขยะจากอาหารเป็นจำนวนมาก รวมถึงการใช้ถุงพลาสติกในการใส่สินค้าจากร้านค้าต่างๆ และหากพื้นที่ตลาดและบริเวณโดยรอบไม่มีการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี รวมถึงผู้ค้าและประชาชนที่มาซื้อสินค้าขาดจิตสำนักที่ดี ส่งผลให้สินค้าเหล่านี้อาจมีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค จะก่อให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินอาหารในกลุ่มคนหมู่มาก ซึ่งตลาดในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่เป็นตลาดเก่าแก่มีอายุยาวนาน มีลักษณะความเป็นพื้นที่ชุมชนสมัยเก่า จึงเป็นปัญหาทางด้านกายภาพและด้านสุขาภิบาลของตลาด ตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ค้าเป็นการไช้ความสะดวกในการหาถุงพลาสติกใส่อาหาร กล่องโฟมหรือใช้บรรจุภัณฑ์ให้กับลูกค้าที่เป็นการเพิ่มปริมาณมูลฝอยโดยปริยายและจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลถึงปัญหาการทำลายสภาพแวดล้อมและภาวะโลกร้อน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตลาดรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ บางกอกใหญ่ เป็นโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยปรับปรุงตลาดร่วมกับผู้ค้าในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ซึ่งมีตลาดจำนวน 4 ตลาด เพื่อยกระดับคุณภาพทางกายภาพของตลาดให้มีความสะอาดมากยิ่งขึ้น รวมถึงร่วมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ การรณรงค์คัดแยกคัดแยกขยะในพื้นที่ตลาดสด การขอความร่วมมือในการร่วมกันลดการใช้ถุงพลาสติก หันมาใช้ถุงผ้า เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) กำหนดยุทธศาสตร์ในยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟม ในตลาดของพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อพัฒนาการสุขาภิบาลตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย 3. เพื่อส่งเสริมประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 1. ผู้ประกอบการ ผู้ค้าและประชาชนที่มาใช้บริการตลาด สามารถคัดแยกขยะ ทำให้ลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟม 2. ตลาดได้รับการปรับปรุงการสุขาภิบาลตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย คุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3. การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ กับประชาชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ตลาดอย่างยั่งยืน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
385 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
386 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 84. โครงการตลิ่งชัน ห่วงใย ใส่ใจวัยสูงอายุ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วยปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านการเงิน และปัญหาด้านจิตใจ มักจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ เราจึงควรตระหนักให้ความสำคัญในการเข้าไปดูแลช่วยเหลือ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถดูแลตนเอง หรือใช้ชีวิตอย่างคนปกติทั่วไปได้ สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงนำปัญหาดังกล่าวมาจัดทำโครงการเพื่อดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับความดูแลช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ตามความต้องการ 2.1 เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ตามความเหมาะสม 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพกาย และสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 2.4 เพื่อให้เกิดการบริการสาธารณะภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โปร่งใส บนความมีส่วนร่วมของประชาชน และความร่วมมือระหว่างรัฐ และเอกชน (Smart Governance) 2.5 เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชนทั้ง 43 ชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันได้รับความช่วยเหลือตามความเหมาะสม ได้รับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์โดยมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
387 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 85. โครงการโรงเรียนจัดการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม (รักษารอบ) โรงเรียนเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของนักเรียน ซึ่งต้องใช้ชีวิตเพื่อหาประสบการณ์ในวันหนึ่งๆ มากกว่าอยู่ที่บ้าน จึงต้องเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ การจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้มีบรรยากาศที่ดี เหมาะสม และลดภาวะที่เป็นพิษ เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ สติปัญญาของนักเรียนให้ดีที่สุด และที่สำคัญที่สุดอีกอย่างคืออาหารที่ต้องจัดการให้สะอาดปลอดภัย ดังนั้น การจัดการอาหารให้ปลอดภัย เป็นสิ่งที่ต้องใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ นอกจากนี้โรงเรียนยังเป็นแหล่งที่ถ่ายทอดประสบการณ์ให้นักเรียนข้อมูลเกี่ยวกับทักษะชีวิต และสิทธิขั้นพื้นฐานของนักเรียนจะต้องปลูกฝังและสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้นักเรียน เช่น การทำบัญชีเงินออม การจัดการขยะ การป้องกันอันตรายจากอัคคีภัย และทำไมนักเรียนต้องมีบัตรประชาชน สิ่งเหล่านี้นักเรียน ครู รวมถึงผู้ปกครองจะต้องมีความเข้าใจ สำนักงานเขตตลิ่งชัน ได้ตระหนักถึงความจำเป็น และความปลอดภัยของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้ใช้บริการในโรงเรียน จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนจัดการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพและรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารอย่างปลอดภัย และเรียนอย่างมีความสุข และมีทักษะในชีวิตอย่างเพียงพอ 1. สร้างเครือข่ายระหว่าง สำนักงานเขต โรงเรียน ประชาชนในพื้นที่ 2. บูรณาการความร่วมมือของเครือข่ายในการจัดการอาหารให้ปลอดภัย การจัดการขยะ และสร้างทักษะชีวิตให้นักเรียนในเรื่องการออมเงิน การป้องกันอัคคีภัยและการฝึกซ้อมการอพยพหนีไฟในโรงเรียนเป้าหมาย การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนของนักเรียน รวมถึงdารดูแลความปลอดภัยของนักเรียน 1. มีภาคีเครือข่ายระหว่าง สำนักงานเขต โรงเรียน และประชาชนในพื้นที่ 2. มีการจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนในโรงเรียน 2.1 ดำเนินการจัดการอาหารให้ปลอดภัยตามแนวทางที่กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัยกำหนด - กิจกรรมเฝ้าระวังอาหารในโรงเรียนไม่ให้พบการปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารเคมีที่ห้ามใช้ในอาหาร (โดยการใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย Test Kit และ SI2) 2.2 การจัดโครงการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร - จัดทำบัตรประจำบัตรประจำตัวประชาชนให้นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2-6 ที่ยังไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน 2.3 การให้ความรู้เรื่องการป้องกันอัคคีภัย - ทุกโรงเรียนมีการจัดทำแผนผังภายในโรงเรียน - ทุกโรงเรียนมีการฝึกซ้อมการป้องกันอัคคีภัย และอพยพหนีไฟของนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
388 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักงานเขตหนองแขม ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การให้บริการของหน่วยงานและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จึงต้องนำเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว สำนักงานเขตหนองแขมได้ดำเนินการให้บริการด้านเว็บไซต์ของหน่ายงานมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถค้นหาข้อมูลในการรับบริการได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อปรับปรุงเว็บไซต์ให้บริการประชาชนและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของหน่วยงาน ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ของหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานด้านต่าง ๆ 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
389 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการจัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
390 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online ฝ่ายทะเบียน ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนชื่อตัว (ช.3) และการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.4) ด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online เพื่อประโยชน์สำหรับประชาชนเจ้าของรายการหรือผู้มีส่วนได้เสียในการตรวจสอบหรือคัดรับรองสำหรับใช้อ้างอิงในกรณีต่าง ๆ โดยได้ดำเนินการให้บริการข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลด้วยโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ online และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล เพื่อจะได้ทราบถึงระดับความพึงพอใจ และความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุด 1. เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลและได้รับความพึงพอใจสูงสุด 2. เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อให้การบริการสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลแก่ผู้รับบริการ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 2 นาที/ราย) 2. เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มาขอสืบค้นข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลให้ได้ในระดับมากที่สุด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
391 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการปรับปรุงข้อมูลลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต การปรับปรุงข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมต่างๆ และแผนปฏิบัติราชการลงเว็บไซต์ของสำนักงานเขต 1. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลการติดต่อราชการกับสำนักงานเขต 2. เผยแพร่ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำ 3. เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารแก่ประชาชนอย่างหลากหลาย 1. การปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซด์อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกเดือน 2. การเผยแพร่ภาพกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการ 3. การปรับปรุงข้อมูลข่าวสารของราชการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางคอแหลม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
392 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการแจ้งเตือนการขอถอนค้ำประกัน (โครงการให้บริการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้นเพื่อปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 2. ปรับปรุงระบบการให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ งานบริการของหน่วยงานเป็นที่ประทับใจของผู้มาใช้บริการกับสำนักงานเขต 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 95.00
393 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนภายในกำหนด สำนักงานเขตได้จัดทำระบบการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้มีความรวดเร็ว สามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากประชาชน เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชน ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้แล้วเสร็จภายในกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
394 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ประชารัฐร่วมใจพัฒนาถนนทองหล่อ ปัจจุบันถนนทองหล่อหรือถนนสุขุมวิท 55 มีสภาพภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามและไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่าที่ควร ทั้งในเรื่องของการทิ้งขยะมูลฝอย การปลูกประดับต้นไม้ การจอดรถยนต์บนทางเท้า หาบเร่ - แผงลอย ไฟฟ้าแสงสว่าง ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของทางเท้า ประกอบกับซอยทองหล่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มีสถานประกอบการ และที่พักอาศัยเป็นจำนวนมาก หากมีสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามอาจเกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อหน่วยงานและกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตวัฒนาร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ในซอยทองหล่อ ได้ร่วมกันคิด ร่วมวางแผน และร่วมดำเนินการ เพื่อพัฒนาถนนทองหล่อให้มีสภาพภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น มีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย และมีอัตลักษณ์ของซอย โดยสำนักงานเขตวัฒนาได้บูรณาการการทำงานระหว่างฝ่ายต่างๆ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและมีเอกภาพมากขึ้น 1 เพื่อสร้างเครือข่ายประชาชนช่วยดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างยั่งยืน 2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมและปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนทองหล่อให้มีความสะอาด สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย ประชาชนสามารถสัญจรบนทางเท้าได้โดยสะดวกและปลอดภัย 3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและนักท่องเที่ยวให้ดีขึ้น 4 เพื่อสร้างอัตลักษณ์ของถนนทองหล่อ และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน 5 เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้สัญจรและประชาชนในบริเวณซอยทองหล่อ 1.เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมดำเนินการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของถนนทองหล่ออย่างยั่งยืน 2 เกิดการวางแผนบูรณาการและบริหารทรัพยากรในการปฏิบัติงานระหว่างส่วนราชการของสำนักงานเขตวัฒนา 3 เกิดอัตลักษณ์ของถนนทองหล่อ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
395 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยกรุงเทพมหานครได้กำหนดแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ.2562 เพื่อมุ่งเน้นการเชื่อมโยงภารกิจของทุกหน่วยงานในกำกับของกรุงเทพมหานคร ที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 บรรลุผลสอดคล้องกับเป้าหมายในภาพรวม โดยตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มุ่งสนองความต้องการของประชาชนในสังคมใหม่ให้สู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์การชั้นเลิศด้านการบริการ 2.เพื่อลดระยะเวลาในการให้บริการประชาชนทีมารับบริการคัดรับรองรายการทะเบียนราษฏร 3.เพื่อให้ผู้มาติดต่อขอรับบริการพึงพอใจสูงสุด 1.ผู้มารับบริการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.ระยะเวลาการให้บริการลดลงร้อยละ 80 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
396 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการดีที่สุด "โครงการแอพพลิเคชั่นเพื่อชาวบางแคดูแลผู้สูงวัย" กรุงเทพมหานครเล็งเห็นความสำคัญในสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร และได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุระดับเขต ซึ่งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ระดับเขต เขตบางแค ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการเฉพาะด้านผู้สูงอายุในปี 2561 และจากการประเมินผลการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมาปรากฏว่า การให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายยังจำกัดอยู่ในวงแคบ โดยพบว่าการให้ความรู้เรื่องการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุในดัชนี บรรลุเป้าหมายเพียงร้อยละ 2.73 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในพื้นที่ จึงมีแนวคิดเพิ่มช่องทางการให้ความรู้การปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาสภาพแวดล้อม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ในรูปแบบแอพพลิเคชั่น เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เป็นจำนวนมาก สะดวกและรวดเร็วขึ้น รวมถึงผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของหลากหลายหน่วยงานในแอพพลิเคชั่นเดียว 1. เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้านการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจการตระหนักรับรู้ของประชาชนทุกกลุ่มวัยในการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มต่างๆ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนในการเตรียมการสู่วัยสูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปใช้หรือถ่ายทอดให้ผู้สูงอายุ เผยแพร่ความรู้ที่ครอบคลุมทุกมิติเพื่อเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุที่มีคุณภาพในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมในพื้นที่เขตบางแค จำนวน 9,573 คน ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาได้รับความรู้ผ่านแอพพลิเคชั่นที่ร้อยละ 100 (ทุกโรงเรียนในพื้นที่เขตบางแค) 2. ประชาชนที่มีอายุ 18 – 59 ปี จำนวน 27,679 คน ได้รับความรู้ผ่านแอพพลิเคชั่น ดังนี้ 2.1 ในสถานประกอบการ - ในสถานประกอบการรายเดิม จำนวน 1,616 คน - ในสถานประกอบการรายใหม่ ที่มีพนักงานมากกว่า 100 คน ขึ้นไป จำนวน 24 แห่ง จำนวน 2,594 คน 2.2 ในสำนักงานเขตและศูนย์สาธารณสุขประจำเขต จำนวน 999 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.3 ในหน่วยงานภาครัฐ -ในหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานเดิม จำนวน 620 คน คิดเป็นร้อยละ 100 - ในหน่วยงานภาครัฐหน่วยงานใหม่ จำนวน 5 แห่ง จำนวน 767 คน 2.4 ในชุมชนทั้ง 49 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 100 จำนวน 21,083 คน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
397 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด ตามที่กองกลาง กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
398 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) สำนักงานเขตสายไหม ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561) สำนักงานเขตสายไหมได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับถนนจำนวน 120 เรื่อง (ผิวจราจรชำรุด จำนวน 65 ราย/ฝุ่นละออง จำนวน 11 ราย/ดินตกหล่น จำนวน 44 ราย) ซึ่งนอกจากจะเกิดความเสียหายแก่เส้นทางสัญจรแล้ว ยังพบว่ามีปริมาณฝุ่นควันและเสียงดังรบกวนประชาชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตอีกด้วย ดังนั้นสำนักงานเขตสายไหม จึงได้จัดทำโครงการ Saimai Happy Road Happy Life เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 1.เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างในพื้นที่เขตสายไหม 2.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้แก่ การสัญจรไม่สะดวกจากถนนชำรุด และความเจ็บป่วยจากฝุ่นละออง 3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชน และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 1.ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ควบคุมปริมาณฝุ่นละอองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในพื้นที่เขตสายไหม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.) 3.เกิดเครือข่ายระหว่างภาคประชาชน หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ เพื่อร่วมกันสอดส่องดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
399 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
400 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตสายไหม เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
401 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมการสำรวจและเตือนให้ยื่นแบบฯ โดยใช้ฐานข้อมูลจากใบทะเบียนพาณิชย์ที่มีผู้มาขอจดทะเบียนที่ ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตคันนายาว ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และปีงบประมาณ ๒๕๖๑ เพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนผู้พิกัดภาษีและจำนวนเงินภาษีให้สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนดไว้ 1. เพื่อให้ฝ่ายรายได้ สามารถจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ได้ตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2. เพื่อขยายฐานภาษีผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น สามารถจัดเก็บภาษีโรงเรืนและที่ดินรายใหม่เมื่อเทียบกับจำนวนผู้ขอจดทะเบียนพาณิชย์ที่ฝ่ายปกครอง ประจำปีงบประมาณ 2560 และ 2561 ได้ 60 ราย (ร้อยละ 20) 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
402 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2562 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มีนโยบายต้องการพัฒนาการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ทุกสำนักงานเขตมีการจัดทำเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว จึงทำโครงการปรับปรุงเว็บไซต์เขตสะพานสูง ขึ้น 1.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานเขต 2.เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบัน 3.เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารเมืองด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน รายงานผู้บริหารเดือนละ 1 ครั้ง (12 ครั้ง/ปี) 0.00 0.00 สำนักงานเขตสะพานสูง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
403 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ตัวชี้วัด 3.1 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
404 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 ตัวชี้วัด 3.2 โครงการวังทองหลาง สร้างสุข ปลุกรอยยิ้ม ( รักษารอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุด Best Service ) สำนักงานเขตวังทองหลางมีภารกิจหลักในการบริการและช่วยเหลือประชาชน และเป็นหน่วยงานในการนำนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนเป็นหน่วยงานในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่เขตที่ขอความร่วมมือ เนื่องจากภารกิจ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเจ้าหน้าที่ทำให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เช่น โรคปวดกล้ามเนื้อ มือชา นิ้วล็อค เป็นต้น และโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลต่อสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่ เกิดภาวะความเครียดและเหนื่อยล้าสะสมจากการทำงาน จากปัญหาดังกล่าวสำนักงานเขตวังทองหลางได้ตระหนักและเห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้าง สุขภาวะ ที่ดีให้กับเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้มีการขยับร่างกายให้มีการผ่อนคลายจากการทำงาน รวมทั้งเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นระยะเวลานาน โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) และ โรคที่เกิดจากพฤติกรรม ( NCDs) 1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีความสุขในการทำงาน 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลาง ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดความรัก ความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเขตวังทองหลางมีสุขภาวะที่ดี ทั้งกาย ใจ อารมณ์ สังคม และปัญญา 4. เพื่อให้สำนักงานเขตวังทองหลางเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน 1.) มีการจัดทำองค์ความรู้ในการทำงาน อย่างน้อย 10 เรื่อง 2.) ร้อยละบุคลากรของสำนักงานเขตวังทองหลางที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ) มีแนวโน้มการพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ( 18.5-22.90 ) เพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 3.) จำนวนเรื่องร้องเรียนในการให้บริการ ที่เกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ไม่เกิน 10 เรื่อง/ปี ( ร้องเรียนผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555 ) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
405 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ( Best Service ) ประจำปีงบประมาณ 2562 อยู่ระหว่างเขียนโครงการ อยู่ระหว่างเขียนโครงการ อยู่ระหว่างเขียนโครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
406 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2562 กิจกรรมจัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด Bangkok Fast & Clear หรือ BFC เขตบางนา ตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (พลตำรวจเอกอัศวิน ขวัญเมือง) มีนโยบายให้จัดตั้ง "ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear:BFC): ในทุกสำนักงานเขต เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มาติดต่อ ด้านงานบริการทะเบียนราษฏร์ และการขออนุญาตต่างๆ ตลอดจนให้คำปรึกษาต่างๆ โดยมีหน่วยงานในสังกัดเขตมาปฏิบัติงานในศูนย์ดังกล่าว 1. จัดตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear:BFC) ในสำนักงานเขตบางนา จำนวน 1 ศูนย์ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้ามารับบริการด้านงานทะเบียนราษฏร์ และการขออนุญาตต่างๆ ที่ถูกต้อง โปร่งใส และรวดเร็ว และให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้มารับบริการ ร้อยละความพึงพอของผู้มารับบริการ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2018-10-01 00:00:00 2019-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
407 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 กิจกรรมการจัดทำเว็บไซต์ของสภากรุงเทพมหานคร (เป็นกิจกรรมในโครงการการประชาสัมพันธ์งานของสภากรุงเทพมหานคร) การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบบทบาทหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานครจะทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และบทบาทของสภากรุงเทพมหานคร ซึ่งจะช่วยเพิ่มช่องทางให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะข้อคิดเห็นในการพัฒนากรุงเทพมหานครและแจ้งปัญหาความเดือดร้อนผ่านทางสภากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานคร รวมทั้งข้อมูลข่าวสาร ภารกิจและผลการดำเนินงานของสภากรุงเทพมหานครให้ประชาชนและสาธารณะได้รับทราบ 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภากรุงเทพมหานครซึ่งเป็นองค์กรสำคัญหนึ่งของการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ อันจะช่วยเสริมสร้างและกระตู้นให้เกิดการมีส่วนร่วมพัฒนากรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานคร จัดให้มีการผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสภากรุงเทพมหานครให้ประชาชนได้ทราบ ในรูปแบบ 2 ภาษา เพื่อให้ครอบคลุมถึงประชาชนทุกกลุ่มที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 0.00
408 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดทำฐานข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของสภากรุงเทพมหานครผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติ และกระทู้ ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยมีระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร 1. เพื่อให้มีฐานข้อมูลที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 2. เพื่อสนับสนุนข้อมูลในการปฏิบัติงานให้กับสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คณะกรรมการสามัญ คณะกรรมการวิสามัญ สภากรุงเทพมหานคร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประชาชนที่สนใจ สามารถสืบค้นข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยการสืบค้นผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ให้มีฐานข้อมูลที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภากรุงเทพมหานคร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมาย ญัตติและกระทู้ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
409 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
410 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 1.4 โครงการการติดตามข้อมูลการลงพื้นที่ของผู้บริหาร การดูแลคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนชาวกรุงเทพมหานครเป็นภารกิจหลักในการบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ของผู้บริหารกรุงเทพมหานครทุกคน ที่ต้องใส่ใจและจริงจังในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน รวมทั้งการพัฒนาทางด้านกายภาพและการบริการในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประชาชน กระบวนการในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและสำเร็จตามแผนงานที่วางไว้ จำเป็นต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุมหรือลงพื้นที่ติดตามงาน การลงพื้นที่เป็นภารกิจของผู้บริหารในการปฏิบัติงานนอกสถานที่ เพื่อรับทราบข้อมูลเชิงประจักษ์ รับรู้ข้อเท็จจริงของการดำเนินการในโครงการนั้น ๆ ทั้งสภาพพื้นที่ รูปแบบการทำงานความก้าวหน้าของโครงการ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานและแนวทางการแก้ไขจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ซึ่งผู้บริหารตามโครงการนี้หมายถึงรองผู้ว่า-ราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจสอบ ติดตาม และ/หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในส่วนงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้งาน โครงการต่าง ๆ สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งภายหลังลงพื้นที่และมีข้อสั่งการใด ๆ แล้ว การติดตามข้อมูลความคืบหน้าในกรณีนั้น ๆ ถือเป็นเรื่องจำเป็นและสำคัญ กลุ่มงานเลขานุการรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการนี้ เพื่อติดตามข้อมูลการลงพื้นที่ของผู้บริหาร และเร่งรัดผลักดันให้งาน/โครงการนั้น ๆ สำเร็จเป็นรูปธรรม สามารถแก้ไขปัญหาให้กับหน่วยงาน และประชาชนได้ 2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามงาน และการรายงานผลความคืบหน้าอย่างชัดเจนมีระยะเวลาการติดตามที่แน่นอน และมีการจัดเก็บผลการติดตามงานอย่างเป็นระบบ สามารถรายงานผล เสนอต่อผู้บริหารได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และรวดเร็ว 2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สามารถรับทราบปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการได้ในระยะเวลารวดเร็ว ทำให้สามารถตัดสินใจและหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ติดตามผลจากข้อสั่งการในการลงพื้นที่ของรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 คน 0.00 0.00 สํานักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
411 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงาน ก.ก. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 กำหนดตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อรวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล 2. เพื่อนำข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 3. นำฐานข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครมาใช้ประมวลผลเป็นสารสนเทศสำหรับการวางแผนบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครได้ มีฐานข้อมูลผู้พ้นจากราชการของข้าราชการกรุงเทพมหานครที่สามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลบุคคลของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศสำหรับการวางแผนทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
412 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.ความสำเร็จในการให้บริการติดตามหนังสือราชการผ่าน Line@ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 กรุงเทพมหานครได้กำหนดเป้าหมายที่จะให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ (SMART CITY) มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชนหรือมีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และหรือภาคเอกชน 1. เพื่อเพิ่มช่องทางในการติดตามหนังสือราชการให้กับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้บริการติดตามหนังสือราชการของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการติดตามหนังสือราชการของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร 1. เพิ่มช่องทางในการติดตามหนังสือราชการจำนวน 1 ช่องทาง (Line@) 2. เจ้าหน้าที่ส่วนเลขานุการแจ้งรับทราบการติดตามหนังสือราชการผ่าน Line@ ภายใน 15 นาที 3. เจ้าหน้าที่ส่วนเลขานุการแจ้งผลการติดตามหรือความคืบหน้าของหนังสือราชการผ่าน Line@ ภายใน 30 นาที 4. ผู้ใช้บริการที่ประเมินความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการให้บริการติดตามนังสือราชการ ของสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานครในระดับมากหรือมากที่สุด 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
413 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 5. กิจกรรมการศึกษาแนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศที่ใช้ในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของศูนย์ กทม.1555 ตามแผนปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 ได้กำหนดให้มีโครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์กทม. 1555 เป็นโครงการเร่งด่วน (Quick Win) และโครงการเป้าหมายสำคัญ (Flagship) ระยะกลาง ที่ต้องดำเนินการในปี พ.ศ. 2563 แต่เนื่องด้วยการดำเนินการโครงการดังกล่าวนั้น มีความจำเป็นต้องศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการเรื่องเรียน ข้อดีข้อเสีย ความเป็นไปได้ และความเสี่ยงในการจัดทำระบบฯ เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนในยุค Thailand 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อกำหนดเป็นแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์กทม. 1555 ต่อไป 1. เพื่อศึกษาแนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศที่ใช้ในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการศูนย์กทม. 1555 2. เพื่อนำผลการศึกษาฯ มาดำเนินการพัฒนาให้เป็นรูปธรรม สามารถนำมาพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการศูนย์กทม. 1555 1. มีผลการศึกษาฯ ฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ 2. สามารถนำผลการศึกษาฯ มาดำเนินการพัฒนาให้เป็นรูปธรรมอย่างน้อย ๑ ชิ้นงาน 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
414 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กรุงเทพมหานครมีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/42 ลงวันที่ 28 มกราคม 2563 แจ้งแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ให้หน่วยงานทราบและพิจารณาดำเนินการ เพื่อให้การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพ-มหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย กลุ่มงานสารบรรณกลางและบริหารเอกสารได้จัดกิจกรรมผลักดันศูนย์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยดำเนินการตรวจการนำเข้าข้อมูลในศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นประจำทุกเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม-มิถุนายน 2563 และดำเนินการนำเข้าข้อมูลการตรวจศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ในระบบบันทึก ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 โดยดำเนินการตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายน 2563 เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบฐานข้อมูลของ สลป.ได้ สามารถจัดทำระบบฐานข้อมูลของ สลป.ได้จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
415 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 6. โครงการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2548 เป็นระบบงานที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้อีกทั้งระบบดังกล่าวใช้งานมานาน เป็นเวลา 12 ปีแล้ว และปัจจุบันไม่สามารถใช้งานได้ จึงเห็นควรที่จะจัดทำโครงการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานคร ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งเอเชีย" ซึ่งเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนากรุงเทพมหานครไปสู่เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ดังกล่าวได้นั้น คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมเกิดประโยชน์ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลดิจิทัล โดยพัฒนาตาม "กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ" หรือ "Thailand e-Government Interoperability Framework"(TH e-GIF) 1. เพื่อนำไปสู่เป้าหมายสูงสุดในการสร้างระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุด เดียวกัน ด้วยการบูรณาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเข้าด้วยกัน 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณ สำหรับการรับ-ส่งหนังสือระหว่างหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการสั่งการของผู้บริหารและเพิ่มความสะดวกในการกระจายงานสู่ผู้ปฏิบัติ 4. เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และการสืบค้นเอกสารของหน่วยงานได้อย่างมีระบบ ลดปัญหาเอกสารฉบับจริงสูญหาย โดยจัดเก็บสำเนาเอกสาร ไว้ในระบบและรักษาความสำคัญของข้อมูลสารบรรณด้วยระบบรักษาความปลอดภัยและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. เตรียมพร้อมโครงสร้างระบบข้อมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้กรอบ TH e-GIF เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับส่วนราชการอื่น ๆ ได้ในอนาคต 6. เพื่อสามารถบริหารจัดการข้อมูล ลดจำนวนการใช้งานหรือยกเลิกการใช้กระดาษและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 7. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการติดตามสถานะของหนังสือ/เอกสารที่เกี่ยวข้องรวมถึงระยะเวลาดำเนินการ ในแต่ละขั้นตอนได้ 8. เพื่อให้มีระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อำนวยความสะดวก รวดเร็ว ในการเวียนหนังสือภายใน 9. เพื่อให้สามารถจองห้องประชุมในระบบ และสามารถนัดหมายการประชุมกับผู้บริหารในระบบได้ เป็นระบบที่ออกแบบให้สามารถให้บริการครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทั้ง 77 หน่วยงาน/ส่วนราชการ ได้แก่ 16 สำนัก สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเพมหานคร สำนักงานเขต 50 เขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 ส่วนราชการ โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน โดยมีระบบงานที่จะเกิดขึ้นได้แก่ ระบบงานสารบรรณและจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริหารจัดการห้องประชุม ซึงหน่วยงานเข้าใช้งานแบบเต็มระบบจะสามารถใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องการรับ-ส่งหนังสือการร่างหนังสือการค้นหาและติตตามงาน การปิดงานและยกเลิกเอกสาร การออกเลขหนังสือ การใช้งานระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานระบบหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบบริหารจัดการห้องประชุม 10,800,000.00 0.00 ** สำนักงานเลขานุการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2018-11-27 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
416 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (19) โครงการพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สนป. มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลการบริหารงานบุคคล เพื่อนำไปใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลของ กทม. ที่อยู่ในอำนาจของปลัดกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับชำนาญการพิเศษและระดับอาวุโสขึ้นไป 0.00 0.00 ** สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
417 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สปท.3/กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูล และให้บริการข้อมูลมูลนิธิ สมาคม ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ การจัดทำฐานข้อมูล หมายถึง การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา ให้บริการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด มูลนิธิ หมายถึง ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อกุศลสาธารณะ ศาสนา ศิลปะ หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อื่นๆ สมาคม หมายถึง การจัดตั้งเพื่อการกระทำการใดๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกัน และมิใช่เป็นการหากำไร/รายได้มาแบ่งปันกัน 1. การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา 2. การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด 1. การรวบรวม จัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบให้ง่ายต่อการใช้งานและค้นหา 2. การนำข้อมูลที่จัดเก็บมาให้บริการในการสืบค้น หรือแสดงรายการในลักษณะหรือเงื่อนไข ตามที่กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
418 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สปท.15/กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสำนักงานปกครองและทะเบียน ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด 0.00 0.00 ** สำนักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
419 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายโครงการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตรวจสอบ 237,500.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยกเลิก 10.00
420 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โครงการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานครด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร ระบบการติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยงในทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
421 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมความรู้ด้านการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระบบสารสนเทศสำหรับสำรวจความคิดเห็นหรือสอบถามความคาดหวังจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจและหรือประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 41,436.00 41,436.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
422 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 05 - กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตรวจราชการ ด้วยการเก็บข้อมูลหน่วยรับการตรวจในปัจจุบันยังไม่มีระบบที่เป็นมาตรฐาน ส่งผลให้การสืบค้นข้อมูลมีความลำบาก กองงานผู้ตรวจราชการจึงได้จัดทำฐานข้อมูลของหน่วยรับการตรวจ 77 หน่วยงาน เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชกากรุงเทพมหานคร เช่น ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสถิติต่าง ๆ งบประมาณ ปัญหาร้องเรียน ข้อมูลถนน/คูคลองไฟฟ้าสาธารณะ เป็นต้น เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยรับการตรวจ 77 หน่วยงาน เสนอผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ประกอบการตรวจราชการ ผู้ตรวจราชการนำข้อมูลไปใช้สนับสนุนการตรวจราชการ ร้อยละ 80 0.00 0.00 ** กองงานผู้ตรวจราชการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
423 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 มิติที่ 4.1 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด ตามที่ สยป. กำหนด 0.00 0.00 ** กองงานผู้ตรวจราชการ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
424 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 หลักสูตรการเสริมสร้างความรู้การจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (โครงการค่าใช้จ่ายในการเสริมสร้างการพัฒนางานและวัฒนธรรมองค์กร) การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในปัจจุบัน เป็นการให้ความสำคัญต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กรมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหาร การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การสนับสนุนการปฏิบัติงานขององค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลของบุคลากรเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญต่อการบริหารงานเป็นอย่างมาก ในแต่ละองค์กรจึงกำหนดกลยุทธ์การนำนวัตกรรมมาพัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการบริหาร การวางแผนกำลังคน การพัฒนาและฝึกอบรม เพื่อก้าวทันความเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับการก้าวสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปของสารสนเทศ (Information) ที่ถูกต้อง ทันสมัย และสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ ทั้งนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลให้ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ ต้องเริ่มต้นจากการออกแบบระบบที่ดี เพื่อสามารถนำไปใช้อย่างสอดรับกับภารกิจของหน่วยงาน เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร สถาบันฯ จึงมีแนวคิดการจัดทำโครงการฝึกอบรมการเสริมสร้างความรู้การจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการจัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๒. เพื่อวางแผนการใช้ระบบสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๓. เพื่อศึกษาแนวทางการสนับสนุนข้อมูลทรัพยากรบุคคลเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการจัดทำฐานข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้แก่ข้าราชการกรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๐๖ คน ดังนี้ ๑. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน อาวุโส จำนวน ๑๐๖ คน แบ่งออกเป็น ๒ รุ่น ๆ ละ ๕๓ คน ระยะเวลาการอบรมรุ่น ๆ ละ ๑ วัน ๒. ผู้เกี่ยวข้อง จำนวนรุ่นละ ๑๔ คน ดังนี้ ๑) เจ้าหน้าที่ดำเนินการ ๑๐ คน ๒) วิทยากร ๔ คน 159,400.00 89,294.90 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
425 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กรุงเทพมหานครมีต้องการให้บุคลากรเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพมีขีดสมรรถนะสูง สามารถรองรับภารกิจที่ท้าทายของกรุงเทพมหานคร ในการก้าวสู่มหานครแห่งเอเชีย การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสมกับการบริหารมหานคร การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในหลักสูตรการฝึกอบรมที่สถาบันฯ ดำเนินการในขั้นตอนการฝึกอบรม เช่น การรับสมัคร การแจ้งผล/คำสั่ง การเรียนรู้ออนไลน์ การส่งเอกสารประกอบการบรรยาย การนัดหมาย การประชาสัมพันธ์ และการประเมินผล(รายวิชา โครงการ ความพึงพอใจ) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
426 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) ตามเกณฑ์คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (มิติที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑) 0.00 0.00 ** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
427 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล -หน่วยงานมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งาน ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลจากหน่วยงาน -เพื่อให้หน่วยงานมีการจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้งาน ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลจากหน่วยงาน ฐานข้อมูลหน่วยงาน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 ** สำนักงานกฎหมายและคดี สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
428 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 3.2) ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) โครงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร มีหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นพันธมิตรร่วมกันดำเนินโครงการ เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าให้แก่บุคลากรภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทำให้การใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง 1. เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อลดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค 3. รณรงค์และปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรภายในหน่วยงาน 4. เพื่อส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานในการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า สามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ให้ได้ร้อยละ 7.5 ขึ้นไป โดยเทียบจากปีงบประมาณ พ.ศ.2562 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
429 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 7.1 โครงการจัดทำระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการบริการและการปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร สำนักงานการต่างประเทศมีหน้าที่ดำเนินงานด้านการต่างประเทศเชิงรุกของกรุงเทพมหานคร แต่ยังขาดระบบสารสนเทศฐานเพื่อการดำเนินภารกิจด้านต่างประเทศและสนับสนุนการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการงานด้านการต่างประเทศ รวมถึงใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงจะดำเนินโครงการจัดทำระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมประเด็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินภารกิจ เป็นแหล่งข้อมูลด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครสำหรับการสืบค้น ตลอดจนส่งเสริมการประชาสัมพันธ์งานด้านต่างประเทศต่อสาธารณชน และเป็นศูนย์กลางการประสานงานกับต่างประเทศเพื่อการพัฒนาเมืองและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับบริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัลและกรอบนโยบายด้านการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนข้อมูลงานด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร มีระบบฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสามารถวิเคราะห์เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการกำหนดนโยบายของผู้บริหารและการดำเนินการของผู้ปฏิบัติ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการงานด้านต่างประเทศของกรุงเทพมหานครและงานที่เกี่ยวข้องของสำนักงานการต่างประเทศ 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับบุคลากร มีเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศ 4. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้การดำเนินงานตามนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและแผนพัฒนากรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพสูงสุด 5. เพื่อสร้างแหล่งข้อมูลด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการบริการประชาชนและการปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 4,200,000.00 4,200,000.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
430 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 4.1) ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของสำนักงานการต่างประเทศให้มีความทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และทันสมัย 2. เพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานผ่านกาารพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน สำนักงานการต่างประเทศมีการพัฒนาฐานข้อมูลตามภารกิจหลักของหน่วยงาน ซึ่งเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 ** สำนักงานการต่างประเทศ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
431 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักการแพทย์ เนื่องจากการจัดเก็บข้อมูลของสำนักการแพทย์ยังจัดเก็บไม่เป็นระบบ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล database โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการแพทย์และเกิดผลประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนักการแพทย์และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งมีการจัดข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักการแพทย์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
432 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาฐานข้อมูล (สพธ.) ตามแนวทางการประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครจัดทำฐานข้อมูล โดยสำนักอนามัยมีภารกิจในด้าน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ดำเนินการจัดลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน ดังนี้ 1. ภารกิจด้านสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค 2. ภารกิจด้านรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ 3. ภารกิจด้านสาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ 4. ภารกิจด้านป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด 5. ภารกิจด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 47 ตัวชี้วัด เพื่อให้หน่วยงานได้จัดการฐานข้อมูล ซึ่งมาจากข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย โดยผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อเป็นประดยชน์ต่อการบริหารงานองค์กรและสอดคล้องตามภารกิจของหน่วยงาน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ 0.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
433 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข เข้าสู่ Cloud (สชส.) สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย เป็นห้องปฏิบัติการกลางของกรุงเทพมหานครที่ให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ผู้ใช้บริการประกอบด้วยศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ๗๖ แห่ง หน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ส่วนราชการในระดับกองและสำนักงานของสำนักอนามัย สำนักงานเขต และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานชันสูตรสาธารณสุขได้นำระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการมาใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน เพื่อให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนงานสนับสนุนน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ในการตรวจวิเคราะห์ให้กับผู้ใช้บริการ โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) จำนวน ๑๐ ระบบงาน และเชื่อมโยงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข กับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถสั่งตรวจวิเคราะห์ และรับทราบผลตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศ สามารถตรวจรับสิ่งส่งตรวจ ลงทะเบียนสิ่งส่งตรวจ บันทึกผล และรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว แพทย์สามารถนำผลการตรวจวิเคราะห์ไปใช้ในการวินิจฉัย รักษาโรค ติดตามการรักษา ตลอดจนการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างทันท่วงที รวมถึงมีระบบการรายงานสถิติ เพื่อใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการและมีระบบบริหารจัดการน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ การเบิก-จ่ายน้ำยาและวัสดุทางการแพทย์ทั้งภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข และระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ ๒ แห่ง ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความก้าวหน้ามากขึ้นทำให้สามารถเข้าถึงเพื่อบริหารจัดการและ ใช้งานบริการต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ เทคโนโลยี Clouding Computing หรือ Cloud (คลาวด์) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่สามารถสนับสนุนระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) ของสำนักอนามัย เพื่อแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย สามารถแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีผู้ใช้เข้ามาใช้ระบบหรือมีปริมาณ Transaction เกิดขึ้นในระบบจำนวนมากจนระบบไม่สามารถรองรับได้ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า ขาดประสิทธิภาพ และส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยที่อาจจะได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ล่าช้า นอกจากนี้การให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการให้กับโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร และสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขต ยังไม่สามารถส่งผ่านข้อมูลการสั่งตรวจและรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศได้ การปรับปรุงระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขขึ้นสู่ cloud เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข ทำให้สามารถสั่งตรวจ และรับทราบผลการตรวจวิเคราะห์ได้รวดเร็ว ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงและการเรียกใช้งานระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการโดยไม่ถูกจำกัดในเรื่องสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือที่นำมาใช้ รองรับการเชื่อมโยงการส่งต่อข้อมูลการตรวจวิเคราะห์ของผู้ป่วยระหว่างหน่วยงานบริการทางการแพทย์ และส่งต่อข้อมูลบริการตรวจวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับสำนักงานเขตทั้ง ๕๐ เขตในอนาคต รวมถึงเพิ่มความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชนผู้ใช้บริการ ๑. เพื่อปรับปรุงและย้ายระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สำนักอนามัย เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๒. เพื่อถ่ายโอนข้อมูลการบริการของสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) เข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ ๓. เพื่อปรับปรุงและแก้ไขโปรแกรมเชื่อมต่อระบบ เพื่อให้ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข (LIS) สามารถเชื่อมต่อระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) และระบบสารสนเทศที่ใช้ในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข โดยสามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักอนามัย ถูกนำเข้าสู่ cloud ของกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลดำเนินการ และเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ทั้งในส่วนศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยบริการทางการแพทย์ และส่วนกลาง รวมถึงเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศที่ใช้ภายในสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขซึ่งมีทั้งระบบที่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์และไม่เชื่อมต่อกับเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ โดยให้สามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ 496,000.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
434 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี (สสว.) --สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมี เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสารเคมีและวัตถุอันตรายของสถานประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์การจัดการสารเคมี และเชื่อมดยงข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้สามารถรับทราบปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และนำข้อมูลไปใช้ในการจัดการวางแผนและดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานครให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ --1. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านอุบัติภัยจากสารเคมีของกรุงเทพมหานคร --1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการที่มีข้อมูลครบถ้วน เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริการจัดการสารเคมี 5,777,500.00 0.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 24.00
435 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.) สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีภารกิจในการบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ 2 แห่ง รวมถึงส่วนราชการในระดับกองและสำนักงาน จำนวน 13 แห่ง ที่ทำหน้าที่ดูแลและสนับสนุนการดำเนินการด้านต่างๆ โดยมีสถานที่ติดตั้งกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจและให้บริการแก่ประชาชน ใน 4 มิติ ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู รวมทั้งการบริหารจัดการในด้านการบริการสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอกที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกันด้วย สำนักอนามัยได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการบริการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยได้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) มาตอบสนองต่อภารกิจเพื่อสนับสนุนการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบสิทธิการรักษา ประวัติการรักษาพยาบาลของแต่ละศูนย์ งานในคลินิกที่เปิดให้บริการในศูนย์บริการสาธารณสุข รวมถึงสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจรักษามาวิเคราะห์เป็นสถิติ เพื่อประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ในเรื่องของการเก็บข้อมูลเป็นระบบ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุงระบบการทำงานให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ทั้งต่อประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องและสนองต่อนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาสำนักอนามัย และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ในการนำเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการให้บริการประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้กับประชาชนที่มารับบริการ ในปัจจุบันมีการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ คลินิกสัตวแพทย์ ซึ่งเปิดให้บริการทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ รวมถึงกอง สำนักงาน และผู้บริหารของสำนักอนามัย นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว (ที่จะเปิดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว และสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ ผ่านระบบเครือข่ายและมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) เข้าสู่ Cloud เพื่อแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายการเข้าถึงและการเรียกใช้ระบบสารสนเทศ รวมถึงความเสถียรของระบบสำหรับการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการให้บริการแก่ประชาชน ตลอดจนยกระดับบริการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขและส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัย เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ ระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ในส่วนของศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม. 1 และกทม. 2 คลินิกสัตวแพทย์ คลินิกบำบัดยาเสพติด 2 ลาดพร้าว สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ และสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เชิงสถิติ 7,700,000.00 5,200,000.00 สำนักอนามัย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
436 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อให้ได้มาตรฐานและทั่วถึงเพียงพอต่อการใช้งาน สำนักการศึกษาจึงดำเนินโครงการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน 1. เพื่อพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครให้เพียงพอต่อการใช้งานด่านการเรียนการสอนและการบริหารโรงเรียน 2. เพื่อส่งเสริมครูผู้สอนให้ใช้สื่อการสอนในอินเทอร์เน็ตที่มีคุณภาพมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ด้านปริมาณ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครมีระบบอินเทอร์เน็ตได้มาตรฐานและเพียงพอต่อการใช้งานด้านการเรียนการสอนทั้ง 437 โรงเรียน ความเร็วแต่ละโรงเรียนไม่น้อยกว่า 100 Mbps ด้านคุณภาพ 1. ครูและนักเรียนสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตโรงเรียนเพื่อการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสูงขึ้น 10,700,000.00 3,323,930.88 สำนักการศึกษา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 97.00
437 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 4.1 นำเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. มีฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ตามภารกิจของสำนักการโยธา 2. มีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 3. เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สํานักการโยธา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
438 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการระบายน้ำ (กสน.) ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง แหล่งสะสมข้อมูลซึ่งรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อพัฒนาฐานข้อมูล สำหรับจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมืองจากหน่วยงานต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาและจัดทำ ฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมือง ของกรุงเทพมหานคร หน่วยงานสามารถพัฒนาและจัดการฐานข้อมูล (Data base) ได้ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักการระบายน้ำ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
439 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและน้ำมันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก พัฒนาและปรับปรุงการชำระภาษีบำรุงกรุงเทพมหานครสำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและนำ้มันที่คล้ายกัน และก๊าซปิโครเลียมจากสถานการค้าปลีก 1. อำนวยความสะดวกให้กับผู้เสียภาษี เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ 2. ให้บริการชำระภาษีด้วยวิธีทันสมัย 3. ให้บริการชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. พัฒนาระบบชำระเงินค่าภาษีผ่านระบบ e-payment ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล 2. เพื่อบริการทางเลือกให้แก่ผู้ประกอบการ 3. เสริมสร้างศักยาพด้านการเงินการคลังของกรุงเทพมหานครให้เป็นมาตรฐาน 7,200,000.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
440 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของประชาชนผู้รับบริการ โดยบริหารจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แจ้งความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากทุกช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
441 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร - - - 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 ยังไม่มีการรายงาน 100.00
442 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาลผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาล กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง ดูงานด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2.1 เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ในการนำมาซึ่งการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ตลอดจนนำประโยชน์ที่ได้รับมาเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร (MIS) ระบบงานงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาล ให้มีรูปแบบและมาตฐานเดียวกับหน่วยงานภาครัฐอื่น 2.2 เพื่อเพิ่มพูดความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบ คำสั่งที่เกี่ยวข้องให้กับเจ้าหน้าที่เพื่อนำแนวทางที่ได้รับมาปรับใช้การตรวจสอบฎีกา การควบคุมการเบิกจ่าย ตลอดจนนำมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันให้เป็นมาตรฐานเดียวกับหน่วยงานภาครัฐอื่น ผู้เข้าร่วมโครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการตรวจสอบและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนรัฐบาล ผ่านระบบสารสนเทศการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนรัฐบาลจำนวน 68 คน ข้าราชการ กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง 54 คน ลูกจ้างประจำ กองตรวจจ่าย สำนักการคลัง 3 ตย ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 14 คน - วิทยากร จำนวน 4 คน - เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 10 คน 219,050.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
443 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล กองโรงงงานช่างกล สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการซ่อมและบำรุงรักษายานพาหนะ เครื่องจักรกลและเครื่องทุ่นแรงของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้จัดการงานซ่อมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 ซึ่งใช้งานมาประมาณ 15 ปี เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ปัจจุบันล้าสมัย ไม่สามารถรองรับการพัฒนาการปฏิบัติงานรูปแบบใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกองโรงงานช่างกล เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศในภาพรวมใหม่ทั้งหมด เพื่อให้รองรับการใช้งานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพที่สุด และเพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน สามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อให้กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฆลสาย 3 มีระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีใช้งานทั่วไปในปัจจุบัน เพื่อสำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน และสามารถเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของกองโรงงานช่างกล ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานที่กองโรงงานช่างกลแห่งใหม่(ถนนพุทธมณฑลสาย3) โดยเชื่อมต่อกับศูนย์ซ่อม 4 มุมเมืองต่าง ๆ ของกองโรงงานช่างกล และระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร(MIS) ได้ จำนวน 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
444 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ กองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ สำนักการคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารทรัพย์สิน ศึกษา วิเคราะห์ การบริหารทรัพย์สินของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันข้อมูลทรัพย์สินยังกระจัดกระจายและ ยังไม่มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบ ทำให้กรุงเทพมหานครไม่สามารถนำทรัพย์สินประเภทที่ดินฯ มาก่อให้เกิดประโยชน์หรือก่อให้เกิดรายได้ ในการนี้ กองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ จึงเล็งเห็นประโยชน์และความสำคัญของการจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินฯ จึงจัดทำกิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ขึ้นมา เป็นฐานข้อมูลในการนำไปปฏิบัติตามแผนการบริหารทรัพย์สินฯ มีหลักในการบริหารจัดการ และสร้างมูลค่าทรัพย์สินให้แก่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาในมิติข้างต้นและให้มีระบบบริหารจัดการที่ดีมีฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินฯ เป็นข้อมูลให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครสามารถนำไปพัฒนาหรือสร้างรายได้ให้แก่กรุงเทพมหานครต่อไป 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์ 2. เพื่อให้กรุงเทพมหานครสามารถนำที่ดินว่างเปล่าหรือมิได้ใช้ประโยชน์ นำไปพัฒนาหรือสร้างรายได้ให้แก่กรุงเทพมหานคร ฐานข้อมูลที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ของกรุงเทพฯ กรุงเทพมหานครมีการจัดทำฐานข้อมูลทรัพย์สินประเภทที่ดินที่ถูกปล่อยว่างหรือมิได้ใช้ประโยชน์อย่างเป็นระบบในรูปแบบดิจิตอล 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
445 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมปรับปรุงฐานข้อมูลภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กรุงเทพมหานครได้ประกาศบัญชีรายการที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุดโดยใช้ข้อมูลที่ได้รับจากกรมที่ดิน และกรมธนารักษ์ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบัน ขณะที่ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางแห่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ทำให้การจัดทำประกาศบัญชีรายการที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุดไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ทุกสำนักงานเขตสามารถแจ้งภาษี ประเมินภาษีได้ถูกต้อง ครบถ้วน 1.เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2.เพื่อให้การประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเป็นไปอย่างถูกต้อง ลดการอุทธรณ์การประเมินภาษี ปรับปรุงข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจากการข้อแก้ไขการประกาศบัญชีที่ดิน สิ่งปลูกสร้างและห้องชุดในกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
446 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ปฏิบัติงานด้านเทศกิจและประวัติการเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับด้านเทศกิจ ตามแผนพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครของสำนักเทศกิจ (2563) การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ เป็นเครื่องมือสำคัญที่จะมีส่วนช่วยในการบริหารจัดการข้อมูลปริมาณมากที่เป็นปัญหาอุปสรรคในปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว และลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ ทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนด้านกำลังคน และการวางแผนการจัดการฝึกอบรม สามารถบริหารจัดการได้อย่างครอบคลุม ทั่วถึง เป็นธรรม และเหมาะสม 1. เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลและประวัติการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ 2. เพื่อใช้ประกอบการวางแผนด้านทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาบุคลากรได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทั่วถึง 3. เพื่อจัดเก็บประวัติข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานด้านเทศกิจ 1. สำนักเทศกิจมีระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานเทศกิจ จำนวน 1 ระบบ 2. ความสำเร็จในการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลและระบบข้อมูลการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่สายงานเทศกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
447 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ (2563) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.จัดทำฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ 2.นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลของสำนักเทศกิจ สำนักเทศกิจ จัดทำฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สํานักเทศกิจ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
448 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล การดำเนินงานตามภารกิจ จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชนดังกล่าว จะทำให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยลดขั้นตอนการดำเนินงานด้วยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561 - 2565) และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครปี พ.ศ.2561 ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าประสงค์ 7.5.1.1 มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการให้บริการประชาชนระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือ ภาคเอกชน และเป้าประสงค์ 7.5.1.4 มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด 1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง 3. เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
449 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรเพื่อการบริหารจัดการและบริการประชาชน *รองรับมิติที่ 4.1 ตามคำรับรองฯ* สำนักการจราจรและขนส่ง มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา สำรวจ รวบรวมข้อมูล ด้านการจราจรและขนส่ง การวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบระบบการจราจรและขนส่ง การกำหนดมาตรการและดำเนินการด้านการจราจรและขนส่งในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดมาตรฐานงานวิศวกรรมจราจร วิศวกรรมขนส่งและวิศวกรรมความปลอดภัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุมและจัดการจราจร การพัฒนาระบบโครงข่ายถนน ระบบขนส่งมวลชน และการให้การศึกษา ฝึกอบรมและรณรงค์เสริมสร้างวินัยจราจร พร้อมทั้งเสนอแนะนโยบายมาตรการในการพัฒนาการจราจรและขนส่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านการจราจร การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรและขนส่งทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งการพัฒนาระบบโปรแกรมด้านการจราจร เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าว จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจราจรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านจราจรในการบริหารจัดการหรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นช่องทางเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานในการสื่อสารและให้บริการข้อมูลจราจรแก่ประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านจราจรสำหรับการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน 2.2 เพื่อจัดทำ Platform กลางด้านการจราจรและขนส่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการข้อมูลและเชื่อมต่อระบบต่างๆ ของสำนักการจราจรและขนส่ง การบริหารจัดการเชื่อมต่อระบบและแอพพลิเคชัน เช่น ศูนย์กลางข้อมูล ศูนย์กลางสถิติการใช้งานและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลรองรับความต้องการใช้งานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งรองรับการขยายตัวในการพัฒนาระบบที่หลากหลายไปสู่ SMART BMA 2.๓ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานและประชาชน ในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับการรับ/แจ้งข่าวสารอุบัติเหตุและรับแจ้งเหตุแบบออนไลน์และเรียลไทม์ สำหรับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ประชาชน ด้านข่าวสารข้อมูลการจารจร โดยแอพพลิเคชั่นดังกล่าว สามารถแนะนำการเดินทางหลากหลายรูปแบบ แจ้งเหตุการณ์ต่างๆ ของประชาชนแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ของหน่วยงานและประชาชน 1. จัดทำ Platform กลางสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลด้านการจราจรและขนส่งของสำนักการจราจรและขนส่ง 2. พัฒนา Application ให้บริการประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะ แนะนำเส้นทางลัด ข้อบังคับจราจรในถนนสายต่างๆ ข้อมูลการแจ้งเตือนอุบัติเหตุหรือก่อสร้าง สภาพน้ำท่วม ข้อมูลสภาพการจราจร การให้ข้อมูลข่าวสาร การรับเรื่องร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Web Application) สำหรับการบริหารจัดการและบริการประชาชนในเชิงพื้นที่ 11,022,000.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
450 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แบบอัตโนมัติ พร้อมระบบสนับสนุนการซ่อมการบำรุง ดำเนินการ 2 ปี (งบ 2563 - 2564) ด้วยกรุงเทพมหานครได้มีการสำรวจและมีการเก็บข้อมูลลงบนฐานข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างเป็นระบบและจุดเดียว ทำให้สามารถทราบข้อมูลของเครือข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) อย่างละเอียด เช่น แนวการเดินสายเคเบิลเส้นใยนำแสง, จำนวนสาย และจำนวน Core ของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) แต่ละเส้นทาง, ระยะทางสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic), จุดเชื่อมต่อ, จำนวน cores ที่ใช้งาน จำนวน cores ที่ว่างของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) จากข้อมูลที่จัดเก็บดังกล่าว ทำให้ ระบบสามารถประเมินค่า Loss ของสายสัญญาณได้, ช่วยหาเส้นทางการติดตั้งสายสัญญาณที่สั้นที่สุด, สามารถช่วยในการวิเคราะห์ และแสดงผลกระทบโดยตรงกับผู้ใช้รายใดบ้าง เป็นต้น แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับประกันว่าข้อมูลจะเป็นปัจจุบัน ถ้าไม่ได้นำซอฟต์แวร์บริหารจัดการสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มาอยู่ในกระบวนการการติดตั้ง กระบวนการซ่อมบำรุง สายเคเบิลเส้นใยนำแสง ดังนั้นกรุงเทพมหานคร โดยกองระบบเทคโนโลยีจราจร สำนักการจราจรและขนส่ง เป็นหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบสายเคเบิลเส้นใยนำแสง มากที่สุด เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว เพื่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงเป็นปัจจุบันตลอดเวลา รวมทั้งผู้ดูแลระบบสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ทันทีเมื่อมีปัญหา จึงจัดหาซอฟต์แวร์สำหรับสนับสนุนการติดตั้งใหม่, การติดตั้งเพิ่มเติม, การบำรุงรักษา และจัดหาอุปกรณ์ตรวจสอบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อให้ข้อมูลสายเคเบิลเส้นใยนำแสงของกรุงเทพมหานคร เป็นปัจจุบันตลอดเวลา - เพี่อสามารถทราบสถานะของสายเคเบิลเส้นใยนำแสง และทำให้ลดเวลาในการซ่อมสายเคเบิลเส้นใยนำแสง - เพี่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายสายเคเบิลเส้นใยนำแสง ของกรุงเทพมหานครให้สามารถใข้ประโยชน์ในการส่งข้อมูล ของหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร และเพี่อการรักษา ความปลอดภ้ยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เพี่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการแกํไขปัญหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพี่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบในอนาคตได้ - เพี่อจ้ดทำระบบตรวจสอบสถานะสายเคเบิล เส้นใยนำแสง และระบบสน้บสนุนการซ่อมการบำรุง 29,533,600.00 0.00 สํานักการจราจรและขนส่ง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
451 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานการแจ้งหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมด้วยระบบภูมิสารสนเทศ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองมีภารกิจในการวางและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นกรอบกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครในหลายมิติ ทั้งด้านกายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีความเชื่อมโยงถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารของประชาชนและภาคเอกชน ซึ่งปัจจุบันกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๔๑ ก เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม จึงได้กำหนดวิธีดำเนินการให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินที่ประสงค์จะใช้ที่ดินเพื่อก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาตหรือต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานตามกฎหมาย แจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามแบบหนังสือแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือแบบ ผมร. ๑ พร้อมกับการยื่นคำขออนุญาตหรือการแจ้ง ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ณ สำนักงานเขตท้องที่ หรือสำนักการโยธา โดยสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองจะได้รับรายงานจากสำนักงานเขต และสำนักการโยธา ซึ่งจากผลการดำเนินการที่ผ่านมาได้รับข้อมูลล่าช้า ไม่ครบถ้วน อีกทั้งข้อมูลอยู่ในรูปแบบกระดาษ ไม่สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ทันที ประกอบกับมีข้อสังเกตจากผลการตรวจราชการให้มีการลดขั้นตอน ลดการใช้ทรัพยากรในการส่งรายงานผล และผลการสอบถามความคิดเห็นจากประชาชนผู้รับบริการ มีความต้องการให้มีบริการผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อความสะดวก รวดเร็ว แม่นยำ สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองจึงได้พัฒนา Webmap Application ระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่ายเพื่อบันทึกหนังสือแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (แบบ ผมร.๑) เป็นระบบแสดงผลแผนที่กรุงเทพมหานครแบบออนไลน์ ให้ประชาชนสามารถแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินผ่านระบบได้ด้วยตนเอง โดยฝ่ายโยธา สำนักงานเขต และสำนักการโยธา สามารถเข้ามาตรวจสอบหรือแก้ไขข้อมูลในแบบ ผมร.๑ ที่ประชาชนยื่นมาพร้อมกับแบบฟอร์มการขออนุญาตก่อสร้างอาคารได้ รวมทั้งหน่วยงานกรุงเทพมหานครสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศเพื่อประเมินผลการบังคับใช้ผังเมืองรวม และวิเคราะห์ วิจัยเพื่อการพัฒนาเมืองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดรับกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ที่หน่วยงานมีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะที่เหมาะสมต่อการปรับเปลี่ยนระบบการทำงานนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมบุคลากรของกรุงเทพมหานครในการให้คำแนะนำแก่ประชาชน เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนเทศ ดังนั้น โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรายงานการแจ้งหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมด้วยระบบภูมิสารสนเทศ จึงเป็นการพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครในการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อบริการประชาชนและบริหารจัดการข้อมูลเมืองให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อลดขั้นตอน ลดการใช้ทรัพยากร และข้อมูลที่ได้มีทันสมัย ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการกรุงเทพมหานครต่อไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการและเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่มีความประสงค์ขอแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการรายงานผลมายังสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องตามขั้นตอนและกระบวนการ และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในการเป็นองค์กรดิจิทัล 3.1. หน่วยงานมีคู่มือหรือวิธีการที่ชัดเจนในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการประชาชนและกระบวนการทำงานในการแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวม 3.2. บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนกระบวนการบริการประชาชนในการแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมไปสู่รูปแบบดิจิทัลด้วยตนเอง 3.3. ประชาชนมีทัศนคติที่ดีต่อสำนักการวางผังและพัฒนาเมืองในการให้บริการประชาชน 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
452 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง รายละเอียดตามที่ปรากฏในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อพัฒนาภาพลักษณ์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ฐานข้อมูลของหน่วยงานการพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
453 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กลยุทธ์พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักผังเมืองจึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานควบคุมดูแลเว็บไซต์และ Facebook สำนักผังเมือง เพื่อดำเนินการบริการข้อมูลผังเมืองผ่านระบบอินเตอร์เน็ตให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและยังเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมืองในเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อให้เป็นปัจจุบัน และรายงานให้ผู้บริหารทราบ - เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมือง - เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ด้านผังเมือง - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสำนักผังเมือง - ปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองอย่างน้อย 12 ครั้ง/ปี - ส่งรายงานเรื่องการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักผังเมืองเสนอผู้บริหาร เดือนละหนึ่งครั้ง 0.00 0.00 สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
454 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร(BMA PBIS:Performance- based Budgeting Information System) สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครมีความจำเป็นต้องจัดหาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร (BMA PBeB: Performance-based e-Budgeting) ที่ใช้ได้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีในท้องตลาด มีคุณภาพ มีความยืดหยุ่น มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ และรองรับการขยายตัวในอนาคตต่อไป โดยระบบ BMA PBIS ต้องครอบคลุมการแก้ปัญหาของระบบปัจจุบัน รองรับความต้องการในการบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตลอดจนอำนวยความสะดวกในการนำเสนอข้อมูลด้านการงบประมาณสำหรับใช้สนับสนุนประกอบการตัดสินใจ สามารถเผยแพร่สารสนเทศด้านการงบประมาณสำหรับผู้สนใจ ตลอดจนรองรับการจัดทำงบประมาณตามพระราชบัญญัติการงบประมณ พ.ศ.2561 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยจัดหาระบบและจัดจ้างที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุง เทพมหานครให้สามารถดำเนินการได้อย่างราบรื่น 1. เพื่อจัดหาและพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อจัดจ้างที่ปรึกษาดำเนินการควบคุมคุณภาพของกระบวนการพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์แบบมุ่งเน้นผลงานของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร มีการออกแบบพัฒนาและจัดทำระบบสารสนเทศด้านงบประมาณของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครให้รองรับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานที่สามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ระบบ 45,511,000.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
455 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2565) ด้านที่ 7 การบริหารจัดการเมืองมหานคร มิติที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมายที่ 7.3.1 บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่อมั่นของประชาชน มิติที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายที่ 7.5.1 กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย (SMART SERVICE) เพื่อสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล (Digital Economy) และมีการบริหารจัดการเมือง (กรุงเทพมหานคร) ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (SMART CITY) และสอดคล้องตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 - 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีสมรรถนะพึงประสงค์ แต่เนื่องจากข้าราชการของกรุงเทพมหานครบางส่วนยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้อย่างครบถ้วนประกอบกับข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับการแต่งตั้งหรือมีการโยกย้ายไปหน่วยงานอื่น ทำให้ข้าราชการที่รับตำแหน่งทดแทน อาจไม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้การใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และไม่มีความเข้าใจในการใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระบวนการจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่างๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้ง สามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบบไป - กลับ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ประกอบด้วย 1) หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 2) หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร เป็นการฝึกอบรมแบบไป - กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน 149,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-17 00:00:00 2020-05-17 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
456 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างมาก ในทุกมิติการทำงานของภาครัฐ (Smart Government) ทั้งด้านการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการภาครัฐ และการกำหนดนโยบาย ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันให้ภาครัฐยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) องค์ประกอบที่ ๑ การบูรณาการภาครัฐ เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่การเชื่อมโยงข้อมูลไปจนถึงการดำเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ที่จะนำไปสู่งานบริการประชาชนได้ดี และรวดเร็วขึ้น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านมามีลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความต้องการใช้เทคโนโลยี ควรมาใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Shared Resources) และใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) ช่วยลดความซ้ำซ้อนในเรื่องงบประมาณ ระยะเวลาในการดำเนินงาน และการดูแลรักษาระบบ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) ให้คำปรึกษาและให้บริการทรัพยากรส่วนกลางทางด้าน GIS (Server, Software, Database) ให้ใช้งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีระบบสารสนเทศกลางทางด้าน GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงานในเชิงพื้นที่ได้เหมาะสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ สามารถรองรับงานที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การบูรณาการข้อมูลและการทำงาน ใช้ทรัพยากรดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน ทันต่อเวลา และเป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) นอกจากนี้ สำนักผังเมืองซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการทางด้าน GIS เช่นเดียวกัน มีภารกิจ ในการพัฒนาแผนที่ฐาน การวางและจัดทำผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่ การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร มีระบบอำนวยความสะดวกในการสืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ ภูมิสารสนเทศ ที่ต้องนำมาใช้เพื่อการวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมืองรวมที่ได้บังคับใช้ และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและสำนักผังเมือง จึงดำเนินการโครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนภารกิจทางด้านผังเมือง และภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ โดยบูรณาการการใช้ทรัพยากร ทางด้านซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องร่วมกัน 1. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลาง และระบบ ภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่เป็นมาตรฐานและสามารถบูรณาการเพื่อใช้งานร่วมกัน และสนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ได้ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตเชิงกายภาพ รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการวางแผน การบริหารจัดการและจัดทำผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐานที่สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตร์ด้านการผังเมืองได้อย่างเหมาะสม 1. กรุงเทพมหานครมีระบบให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศให้กับหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร 2. กรุงเทพมหานครมีระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนระบบเครือข่าย (Web Map Application) ให้บริการแก่หน่วยงานในกรุงเทพมหานคร หน่วยงานภายนอก สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป 3. กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารจัดการพื้นที่เขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพสำหรับการบริหารจัดการของสำนักงานเขต 26,855,300.00 16,062,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-03-28 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
457 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การลดใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (หน่วยงานและส่วนราชการในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร) ศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นอาคารขนาดใหญ่ มีการใช้พลังงานไฟฟ้าปริมาณมากในแต่ล่ะปี ประกอบกับภารกิจของกรุงเทพมหานครมีหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะด้านต่างๆให้แก่ประชาชน ทำให้แต่ละวันจะมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานและเข้ามาติดต่อราชการเป็นจำนวนมากไม่น้อยกว่า 1,500 คน ปัญหาที่พบคือบุคลากรส่วนใหญ่ยังคงใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ถูกวิธี ไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้งบประมาณรายจ่ายค่าสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า)มีจำนวนสูง จึงเป็นที่มาของโครงการการลดใช้ไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครเป็นพันธมิตรร่วมกันดำเนินโครงการ เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าให้แก่บุคลากรภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทำให้การใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง ส่งผลให้งบประมาณด้านศาธารณูปโภค(ไฟฟ้า) ที่เป็นภาษีของประชาชนลดลงไปตามไปด้วย 1.เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานครอย่างประสิทธิภาพ 2.เพื่อลดงบประมาณของกรุงเทพมหานคร ด้านค่าใช้จ่ายสาธาณูปโภค 3.รณรงค์และปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรภายในหน่วยงานและส่วนราชการภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าในรูปแบบต่างๆ 4.เพื่อส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานในการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าและลดค่าใชจ่ายค่าสาธารณูปโภค(ไฟฟ้า) ภายในศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร จากปีงบประมาณ พ.ศ.2562 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
458 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร (รักษารอบ) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครได้เสนอโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ก่อนเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการของหน่วยงานจำนวนมาก ประกอบกับฝ่ายเลขานุการฯ ซึ่งมีหน้าที่จัดเตรียมและวิเคราะห์ข้อมูลโครงการของหน่วยงานก่อนเสนอเข้าสู่การพิจารณาในคณะกรรมการฯ จะต้องวิเคราะห์โครงการจำนวนมากเสนอต่อคณะกรรมการฯ เพื่อให้ทันต่อการเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ หน่วยงานต้องเสนอขอรับการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลจากคณะกรรมการฯ หลายครั้ง และใช้เวลาในการพิจารณานาน เนื่องจากขาดความเข้าใจในการนำเสนอโครงการต่อคณะกรรมการฯ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เล็งเห็นถึงปัญหาในการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ จนถึงขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ จึงขอเสนอโครงการการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการให้บริการกับหน่วยงานในการให้คำปรึกษาและจัดส่งโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการบริหารจัดการข้อมูลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในภาพรวมของฝ่ายเลขานุการฯ ในการจัดเตรียมรายละเอียดโครงการให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งผลให้คณะกรรมการฯ ได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถนำไปบูรณาการภาพรวมในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ต่อไป 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.เพื่อเพิ่มช่องทางการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ในการจัดส่งเอกสารประกอบการพิจารณาโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่หน่วยงาน 3.เพื่อติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร นำมาจัดทำฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นำไปสู่การประเมินผลตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร เป้าหมาย ปี 2562 (ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว) 1.ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน กระบวนการ และขั้นตอนการนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาโครงการที่มุ่งสู่การลดระยะเวลาการดำเนินการให้ทันต่อการขอรับงบประมาณ ใน 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการนำเข้าโครงการฯ ขั้นตอนกระบวนการพิจารณาโครงการฯ และขั้นตอนการติดตามประเมินผลโครงการฯ 2.การนำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานที่เสนอคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้น (ในปี พ.ศ. 26562) มาใช้ในการดำเนินการ 3.จัดบริการให้คำปรึกษากับหน่วยงานผู้รับบริการ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
459 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณที่กรุงเทพมหานครจะต้องจัดส่งบุคลากรไปสอบ วัดความรู้กับหน่วยงานภายนอก ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของบุคลากร รองรับการสอบวัดความรู้ของบุคลากรกรุงเทพมหานครทั้งหมด และเป็นการพัฒนาบุคลากรของกรุงเทพมหานครให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561 – 2565) รวมถึงการบรรลุวิสัยทัศน์ “ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครเป็นมืออาชีพในการให้บริการประชาชน (BMAPRO 21st) มุ่งสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย” ได้สำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลจำเป็นต้องจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากรกรุงเทพมหานคร (Digital Skill) ๒.๑ จัดทำระบบศูนย์สอบมาตรฐานในการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ๒.2 จัดหาข้อสอบสำหรับการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร ๓.๑ มีระบบศูนย์สอบมาตรฐานในการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร 3.2 มีข้อสอบสำหรับการสอบวัดความรู้ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร 10,735,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 46.00
460 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ ในฐานะกรุงเทพมหาครเป็นหน่วยงานให้บริการประชาชน และเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์รับคำขออนุญาต ประกอบปัจจุบันอยู่ในยุคของสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) จึงเห็นควรจัดหาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการรับ-ส่งใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว ตลอดจนปรับปรุงระบบการรับชำระเงินที่มีอยู่ในปัจจุบันของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัยและหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการเป็นศูนย์รับคำขอของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) อย่างเต็มรูปแบบและทันสมัยโดยผ่านการให้บริการของธนาคาร หรือตัวแทนรับชำระเงิน เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการที่มาติดต่อขอรับชำระค่าธรรมเนียมจากค่าบริการในการออกใบอนุญาต ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมายังหน่วยงานกรุงเทพมหานคร สามารถชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง 2.1 เพื่อเพิ่มช่องทางให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อหรือ การทำธุรกรรมทางด้านการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเต็มรูปแบบหลากหลายช่องทางรวมถึงรองรับการรับชำระเงินค่าธรรมเนียมได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาติดต่อขอชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตที่หน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร 2.2เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการไม่ต้องเดินทางมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยสามารถรับเอกสารใบสำคัญหรือใบอนุญาตได้จากระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบขนส่งอัจฉริยะของภาคเอกชน 2.3 เพื่ออำนวยความสะดวกให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถสอบทานตัวเลขค่าธรรมเนียมและค่าภาษีได้สะดวกรวดเร็วและถูกต้องทันการณ์ โดยสามารถสรุปข้อมูลรายรับ พร้อมส่งต่อข้อมูลไปยังทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจในด้านการวางแผนงบประมาณรายรับได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 3.1 อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนหรือผู้ประกอบการ โดยมีทางเลือกในการชำระเงินค่าธรรมเนียมค่าภาษี ไม่ต้องถือเงินสด และยังรองรับการรับชำระเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมงผ่านช่องทางหลากหลาย รวมถึงไม่ต้องเดินทางมายังหน่วยงานหรือสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานครเพื่อมาติดต่อขอรับใบอนุญาตที่ผ่านมาอนุมัติแล้ว 3.2 เพื่อรองรับการบูรณาข้อมูลการรับชำระเงินของกรุงเทพมหานครกับหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณภาครัฐได้อย่างแม่นยำถูกต้อง 40,100,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 57.00
461 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2.1 2563 โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล การดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครจำเป็นต้องกำหนดนโยบายและวางแนวทางปฏิบัติทางด้านความปลอดภัยในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหาครใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549ด้วยการนำเทคโนโลยีระบบรหัสแบบกุญแจสาธารณะ หรือกุญแจสมมาตร ที่ประกอบด้วยกุญแจส่วนตัว (Private key) และกุญแจสาธารณะ (Public key) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล พร้อมด้วยการใช้โปรโตคอลSecure Socket LayerหรือSSL มาประยุกต์ใช้ในการเข้ารหัส และการถอดรหัส (Encryption) ในระหว่างขั้นตอนการรับ–ส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและเชื่อมั่นได้ว่า เอกสารสำคัญหรือข้อมูลของทางราชการยังคงได้รับการปกป้องและยังคงเป็นความลับ (Data Confidentiality)จากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือผู้ไม่หวังดีเข้ามาอ่าน หรือขโมยข้อมูลระหว่างการดำเนินธุรกรรมได้ 2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับรองรับการออกใบอนุญาตในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และการทำธุรกรรมของกรุงเทพมหานครที่มีความน่าเชื่อถือและมีผลถูกต้องตามกฎหมาย 2.2เพื่อสร้างความเชื่อถือให้กับเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานครในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการกับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต 2.3 เพื่อบ่งบอกและยืนยันตัวบุคคลในโลกดิจิทัล สำหรับรองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้มีผลตามกฎหมาย 3.1ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการหรือหน่วยงานภาครัฐที่ร่วมทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กับกรุงเทพมหานครผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต มีความเชื่อมั่นในด้านการรักษาความลับของข้อมูล ตลอดจนความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลแม้อาจมีการถูกดักจับข้อมูลระหว่างการทำธุรกรรม 3.2 เป็นการยกระดับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต ตลอดจนสามารถยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัลได้ 47,000,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2021-09-30 00:00:00 กำลังดำเนินการ 57.00
462 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระบบควบคุมและตรวจสอบสิทธิการเข้าถึงระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการพัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) เพื่อรองรับระบบงานสารสนเทศต่างๆ มากมายหลายระบบ สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งการเข้าใช้ระบบเครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ ก่อให้เกิดความสับสน ความยากลำบากต่อการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่ในการ ที่จะต้องจดจำชื่อ Loginและ Passwordของแต่ละระบบ จากปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีการจัดทำระบบตรวจสอบสิทธิและระบบควบคุมการใช้งานเครือข่ายของกรุงเทพมหานครให้เป็นรูปแบบเดียวกัน (One Login and One Password) สำหรับการเข้าจัดการระบบเครือข่ายสื่อสาร และอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและระบุสิทธิการเข้าถึงเครือข่ายสื่อสารหรืออุปกรณ์เครือข่ายสื่อสารต่างๆ ได้อย่างสะดวก มีความคล่องตัว และมีความปลอดภัยในการปกป้อง Loginและ Password ของเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบและผู้ใช้งาน เพื่อลดความสับสน ความยากลำบากต่อการเข้าใช้งานของเจ้าหน้าที่ในการที่จะต้องจดจำชื่อ Login และPassword ของแต่ละเครือข่าย และป้องกันการเข้าถึงระบบเครือข่ายสื่อสารต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร โดยผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต จัดหาระบบตรวจสอบสิทธิและระบบควบคุมการใช้งานเครือข่าย เพื่อควบคุมและตรวจสอบสิทธิการเข้าถึงระบบเครือข่ายและระบบงานสารสนเทศต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร 13,600,000.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 กำลังดำเนินการ 90.00
463 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครได้กำหนดกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2563 ในมิติที่ 4 ด้านพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล โดยให้หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อให้มีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครกำหนด เพื่อให้มีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครกำหนด พัฒนาฐานข้อมูลของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลตามกรอบที่คณะกรรมการกำกับการพัฒนาฐานข้อมูล ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2563 กำหนด 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
464 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้ทบทวนและจัดทำตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจของกรุงเทพมหานคร สนับสนุนการพัฒนาตามเป้าหมายของการพัฒนาระดับประเทศ เพื่อใช้ในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาที่เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร โดยมีการสำรวจข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัดระดับเมือง แต่ยังไม่ได้มีการรวบรวมและพัฒนาให้เป็นระบบที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานของกรุงเทพมหานครเพื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการแผนได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลมีเป้าหมายสำคัญในการยกระดับองค์กรให้เป็นองค์กรชาญฉลาด (Smart Department) ภายในปี 2565 เพื่อรองรับมหานครอัจฉริยะ (Smart City) มีการกำหนดพันธกิจการเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้วยการพัฒนาคลังข้อมูลกลางกรุงเทพมหานคร (Data Warehouse)และระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขจุดอ่อน โดยใช้ประโยชน์จากประเด็นสำคัญดังกล่าว กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จึงได้จัดทำกิจกรรมการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้เพื่อจัดทำฐานข้อมูล 1 เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างภารกิจด้านแผนและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 เพื่อสร้างเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและหน่วยงานกรุงเทพมหานคร การบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างภารกิจด้านแผนและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยจัดทำระบบฐานข้อมูลตัวชี้วัดเมืองเพื่อใช้ในการบริหารจัดการแผน 1 ระบบ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
465 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน ตัวชี้วัด 4.1 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล(Data file) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร พิจารณาจากกระบวนการในการดำเนินงาน ทั้งการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและ ติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน โดยมีวิธีการดำเนินการทั้งหมด 5 ขั้นตอน ความสำเร็จของผลการดำเนินการแต่ละขั้นตอน เป็นไปตามเกณฑ์ของคณะกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สํานักสิ่งแวดล้อม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
466 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาระบบเรียกดูข้อมูลสถิติของสำนักพัฒนาสังคม ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ระบบที่สามารถให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สามารถสืบค้นข้อมูลด้านสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม เพื่อพัฒนานวัตกรรมบริการภาครัฐ เพื่อสนับสนุนงานให้บริการหรือเพิ่มช่องทางทางการให้บริการสำหรับประชาชน มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้บริการประชาชนและ/หรือเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
467 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการการจัดการความรู้ (KM) ด้านพัฒนาสังคมเชิงบูรณาการ สำนักพัฒนาสังคมในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานด้านพัฒนาชุมชนในทุกมิติ ทั้งด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม อนามัย และจิตใจ ส่งเสริมให้บุคคลมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง สร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในการดำรงชีวิต คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของบุคคล ส่งเสริมและจัดสวัสดิการสังคมแก่ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมของกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักพัฒนาสังคม โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis เพื่อค้นหาแนวทางในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาความรู้ในการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่าจุดอ่อนของสำนักพัฒนาสังคมที่สำคัญและเห็นสมควรนำมาแก้ไขเป็นลำดับแรก คือ แนวทางการปฏิบัติงาน ขาดการถ่ายทอดความรู้ การรับรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างส่วนราชการ ขาดการบูรณาการในการทำงานร่วมกัน บุคลากรจะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน รู้เฉพาะงานในหน้าที่ของตนเอง 1.เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน โดยสนับสนุนให้ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดสำนักพัฒนาสังคม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการทำงานของแต่ละส่วนราชการ บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองโดยการหมุนเวียนงานได้ เป็นการขจัดความซ้ำซ้อนของงาน สามารถนำมาจัดกิจกรรมบูรณาการการทำงานด้านพัฒนาสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการอย่างแท้จริง 2.เพื่อให้เกิดระบบการจัดเก็บความรู้ที่มีประสิทธิภาพโดยบุคลากรสังกัดกรุงเทพมหานคร และประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ผ่านทาง Social Media ช่องทางต่างๆ เช่น ทาง Website Page หรือ Facebook ของสำนักพัฒนาสังคมและสามารถบูรณาการความรู้สู่หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
468 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ Bangkok Brand สู่ Online Market Place สำนักพัฒนาสังคมได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานคร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความรู้และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพในยุคเศรษฐกิจดิจิตอล และพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม นับเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในระดับอาเซียนและก้าวไปสู่ความเป็นสากล 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดออนไลน์ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกรุงเทพมหานครให้เป็นผู้ประกอบการเชิงธุรกิจดิจิตอล - 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
469 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักพัฒนาสังคม ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ในสื่อต่างๆ ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลายๆ แฟ้มข้อมูล (Data File) ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม ปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเพื่อสนับสนุนการทำงานตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม 0.00 0.00 สํานักพัฒนาสังคม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
470 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนคร ในปัจจุบัน ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ ตัดสินใจ (Decision Making) ในเรื่องต่างๆได้อย่างเหมาะสม และทำให้สามารถแก้ไขปัญหา (Solving Problem) ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น สำนักงานเขตพระนครตระหนักถึงบทบาทสำคัญของข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าว จึงได้จัดทำกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตพระนครขึ้น เพื่อให้สำนักงานเขตพระนครมีฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร ใช้พัฒนาปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และช่วยลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลได้ เพื่อให้สำนักงานเขตพระนครมีฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ มีฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระนคร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
471 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร นำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ได้ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
472 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตบางรัก ปัจจุบันข้อมูลมีความสำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านการเป็นเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร แต่หากไม่ได้รับการจัดการ จัดระเบียบหมวดหมู่ คัดเลือกข้อมูลที่เป็นจริง หรือได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา ก็จะสร้างความสับสนให้แก่ผู้ใช้ข้อมูลนั้น เพื่อมีฐานข้อมูลที่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยการสนับสนุนการตัดสินใจในด้านต่างๆ ของผู้บริหาร รวมถึงเป็นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ให้แก่ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานและประชาชน ที่ต้องการใช้ข้อมูล ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
473 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เรื่องที่ได้รับแจ้ง หมายถึง เรื่องที่ประชาชนหรือผู้รับบริการแจ้งเรื่องราวต่างๆ มายังกรุงเทพมหานครเพื่อขอรับบริการ ความช่วยเหลือแก้ไขหรือบรรเทาเหตุ การตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทำผิดกฎหมายที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 ประเภท ดังนี้ 1. อาคาร 2. บาทวิถี 3. ถนน 4. สะพาน 5. เขื่อน คูคลอง 6. ท่อระบายน้ำ 7. ที่พักผู้โดยสาร 8. ไฟฟ้า 9. ประปา 10. โทรศัพท์ 11. น้ำท่วม 12. ขยะและสิ่งปฏิกูล 13. ต้นไม้ สวนสาธารณะ 14. สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 15. กระทำผิดในที่สาธารณะ 16. ปัญหาจราจร 17. การบริหารงานบุคคล 18. ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 19. การคุ้มครองผู้บริโภค 20. ยาเสพติด 21. เหตุเดือดร้อนรำคาญ 22. เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 23. เรื่องฉุกเฉิน การดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับแจ้งที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้แจ้งเรื่องทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้เพื่อให้ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้แจ้งเรื่องได้ ด้านปริมาณ มีการตอบสนองในการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้ง ด้านคุณภาพ การแก้ไขบัญหาและการรายงานผลในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ ของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางรัก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
474 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล - - - 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
475 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ตามเงื่อนไขที่ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กำหนด.ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตดุสิต 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
476 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (ฺBest Services) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2562 กำหนดให้หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอปีงบประมาณ พ.ศ.2559-61 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญมาพัฒนาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และพิจารณาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์ที่ สกก. กำหนดนำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน จำนวน 2 โครงการ 1.โครงการฯ ของปี 2560 - 2562 จำนวน 1 โครงการ 2.โครงการใหม่ ของปี 2563 จำนวน 1 โครงการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
477 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ กรุงเทพมหานครมอบนโยบายให้ทุกหน่วยงานจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานโดยตรง 1.เพื่อสนับสนุนนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 2.เพื่อรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์และประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่ สลป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
478 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขต คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตพญาไท 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
479 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (มิติที่4)ตัวชี้วัด4.1กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล เป็นไปตามที่สยป.กำหนด เป็นไปตามที่สยป.กำหนด เป็นไปตามที่สยป.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
480 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 (งานประจำ)กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตห้วยขวาง สำนักงานเขตห้วยขวางได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ให้ประชาชนสามารถติดตามและสืบค้นข้อมูลที่ต้องการในการมาติดต่อราชการกับหน่วยงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว - เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ - เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตามสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน มีการปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบทางเว็บไซต์ และอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดตามสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตห้วยขวาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
481 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตพระโขนง ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน ๓.๑ ปัญหาความตื้นเขิน ปัญหาขยะ คุณภาพน้ำ การรุกล้ำพื้นที่สาธารณะได้รับการแก้ไขในทันทีโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๓.๒ ชุมชนโดยรอบคลองบางจากมีความน่าอยู่ และปรับภูมิทัศน์บริเวณริมแนวคลองบางจากให้สวยงาม ร่มรื่นเป็น Landmark ให้มีจุด Check-in ที่น่าสนใจ ๓.๓ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบคลองบางจากมีความภาคภูมิใจเพราะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในการดูแล รักษา พัฒนาคลองบางจากอย่างยั่งยืน 0.00 0.00 สำนักงานเขตพระโขนง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
482 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางกะปิ ทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลของเขตบางกะปิ 1 ฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
483 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมปรับปรุงเว็บไซต์สำนักงานเขตบางเขน ในปัจจุบันกรุงเทพมหานครจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานที่ดี มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ซึ่งช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่ดีช่องทางหนึ่งคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก สำนักงานเขตบางเขน จึงได้จัดให้มีโครงการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ขึ้น -เพื่อปรับปรุงข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของสำนักงานเขต และเผยแพร่กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ประกาศต่างๆ ประกาศสอบราคา ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ -ปรับปรุงเว็บไซด์ของสำนักงานเขต คะแนน 90 คะแนน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
484 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ต้องการให้หน่วยงานมีระบบการจัดเก็บเอกสารที่ดี สะดวกและง่ายต่อการค้นหา และสะดวกต่อการให้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการ ณ สำนักงานเขต 1.เพื่อให้หน่วยงานมีระบบฐานข้อมูลที่ดี ค้นหาง่าย 2.เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอข้อมูลจากทางราชการ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารตั้งปี พ.ศ.2538-2562 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางเขน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
485 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล ปัจจุบันการให้บริการภาครัฐมุ่งเน้นให้บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการรวบรวมข้อมูลต่างๆในระบบสารสนเทศต้องมีการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย ดำงนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาฐานข้อมุลให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.รวบรวมฐานข้อมูลตามภารกิจของหน่วงานให้ถูกต้อง ครบถ้วน 2.พัฒนาฐานข้อมุลที่กำหนด พัฒนาฐานข้อมูลจำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตมีนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
486 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตลาดกระบัง รอเพิ่มเติมข้อมูล สยป. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านดิจิทัลของ กทม. มีการจัดเก็บฐานอย่างเป็นระบบ 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
487 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 011 สำรอง 011 สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
488 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 012 สำรอง สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
489 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 สำรอง 013 สำรอง สำรอง สำรอง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดกระบัง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
490 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย การจัดการฐานข้อมูล (Data Base) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองจอก 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
491 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรี (มิติที่ 4.1) ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน สำนักงานเขตธนบุรี จึงได้กำหรดกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีขึ้น เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขต ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต และเพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล 1. เพื่อจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ ของสำนักงานเขตให้เป็นระบบ 2. เพื่อให้สามารถนำข้อมูลของสำนักงานเขตธนบุรีมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเขตธนบุรีและกรุงเทพมหานครในอนาคต 3. เพื่อเป็นการดำเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล พัฒนาระบบฐานข้อมูลและบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลนั้นอย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล คิดเป็น ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตธนบุรี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
492 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมศูนย์บริการราชการฉับไว ใสสะอาด (BFC) หลักการและเหตุผล (สรุปโดยย่อ) การตั้งศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ตามนโยบายผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรคุณธรรม โปร่งใสบริหารราชการ ปราศจากทุจริตคอร์รัปชั่น โดยตั้งศูนย์ BFC ณ สำนักงานเขต เพื่อเป็นศูนย์รับคำขอด้านงานทะเบียนราษฎร ขออนุญาตก่อสร้าง ขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ตลอดจนยื่นคำขออื่นๆ ต้องมีบริการของฝ่ายต่างๆ อย่างน้อย ดังนี้ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายโยธา ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ ฝ่ายรายได้ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายเทศกิจ จัดระบบเรียกคิวที่เป็นธรรม มีที่พักคอยสะดวกสบาย มีหมายเลขโทรศัพท์และบริการเว็บไซต์ให้ประชาชนโทรศัพท์สอบถามหรือติดตามเรื่องการดำเนินการได้ด้วย สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ มีความมุ่งมั่นที่จะบริการพลเมืองของรัฐทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ให้ได้รับสิทธิทางทะเบียน ตามหลักกฎหมายโดยถ้วนทั่วกันและมุ่งหมายให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดี และมีมาตรฐาน โดยมาตรฐานเหล่านั้นมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจากสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - เพื่อปรับปรุง พัฒนาการให้บริการของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ให้มีศักยภาพสูงสุดในทุกมิติ - เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นผู้ให้บริการมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนจนมีศักยภาพในระดับสากล - เพื่อให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่มีศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) และเป็นองค์กรด้านการให้บริการประชาชนที่ดีที่สุด (Best Service Organization) เป้าหมายของโครงการ - ขยายปริมาณ และเพิ่มคุณภาพการให้บริการประชาชน - งานบริการทุกกระบวนงานเน้นลดขั้นตอน อำนวยความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว ภายใต้หลักธรรมาภิบาล - ประชาชนมีความเชื่อมั่นเมื่อมาติดต่อราชการว่าจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด - ปรับกระบวนการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ราชการสะดวก และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 5 นโยบาย 19 ภารกิจ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
493 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ปัจจุบันการเก็บรวบรวมข้อมูล ในรูปแบบต่าง ๆ และในสื่อต่าง ๆ การรวบรวมกลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการบังคับว่าข้อมูลเหล่านั้นจะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือจะแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูลก็ตาม ดังน้ั้นเพื่อให้การเก็บข้อมูลประสบความสำเร็จ การจัดเก็บฐานข้อมูล Database ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัมนาการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน จะต้องถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลร่วมกัน การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานตามภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. เพื่อเป็นการจัดการฐานข้อมูล Database ให้เป็นระบบ 2. สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมเร็ว ทันสมัย 3. สามารถแบ่งปันการใช้งานข้อมูลได้ 4. สามารถพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานและภาพรวมของกทม. เพื่อให้การพัฒนาฐานข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัมนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
494 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระดับความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ กรุงเทพมหานครดำเนินการเป็นหน่วยงานปกครองรูปแบบพิเศษและเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงจึงมีประชากรเป็นจำนวนมาก ทั้งประการหลักและประชากรแฝง ทำให้โอกาศที่จะเกิดปัญหาต่างๆตามมาอย่างมากมาย หน่วยงานของกรุงเทพมหานครเองจึงมีการกำหนดแนวทางให้ทำหน้าที่ดูแลและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น จากเรื่องต่างๆเพื่อบรรเทาและลดโอกาศที่จะเกิดปัญหาในอนาคต 1.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 2.เพื่อเพิ่มช่องทางในการให้บริการแก่ประชาชนในการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ แก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนทุกเรื่องที่เขตบางกอกใหญ่ได้รับแจ้ง ให้ทันตามที่กำหนด และมีประสิทธิภาพ 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
495 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการการให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการ การบริการที่ดีมีคุณภาพ เป็นภารกิจที่หน่วยงานภาครัฐต้องดำเนินการ โดยเฉพาะสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด จึงต้องจัดให้มีการบริการประชาชนที่ดีและมีคุณภาพ ฝ่ายทะเบียนได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการให้บริการ โดยมีแนวคิดที่จะพัฒนางานบรืการของหน่วยงานภาครัฐสู่ความเป็นเลิศด้านการให้บริการ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ค่านิยมให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนมีจิตใจที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดี จึงได้จัดทำโครงการ "การให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการ" เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการเข้ารับบริการที่ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 1. เพื่อเพิ่มช่องทางและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดต่อราชการ 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีจิตสำนึกที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดี 3. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. ให้บริการประชาชนนอกเวลาราชการ ด้านทะเบียนราษฎร ทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนทั่วไป ในช่วงระยะเวลา 3 ช่วง ตั้งแต่วันจันทร์ - วันศุกร์ เว้นวันหยุดราชการและวันหยดนักขัตฤกษ์ ดังนี้ - ตั้งแต่เวลา 07.45 น. (ก่อนเวลา 08.00 น.) - ตั้งแต่เวลา 12.00 - 13.00 น. - ตั้งแต่เวลา 16.00 - 17.00 น. โดยปิดรับคิวให้บริการเวลา 16.45 น. และให้บริการจนเสร็จกระบวนงาน 2. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านทะเบียนนอกเวลาราชการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
496 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ กรุงเทพมหานครมีการให้บริการประชาชนเป็นหลัก การดำเนินการต่างๆจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะเป็นการอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อความพึงพอใจของประชาชนเป็นผู้ได้รับประโยชน์สูงสุด 1. เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2. เพื่อตอบสนองความต้องการและอำนวยความสะดวกของปนะชาชน ดำเนินการประเมินความพึงพอใจประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ใน ระดับ 4 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
497 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมติดตามและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่มีมาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) การบริหารจัดการกับเรื่องร้องเรียน หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย 1. มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) ทุกวัน 2. แจ้งผู้เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนอย่างมีคุณภาพโดยเร็วที่สุด 3. จัดให้มีรูปภาพหรือหลักฐานอื่นๆ ประกบการดำเนินการแก้ไขปัญหาพร้อมรายงานผลการแก้ไขปัญหาให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ 4. ชี้แจงผู้ร้อง (กรณีสามารถติดต่อได้) 5. บันทึกรายละเอียดผลการดำเนินการให้สามารถตอบผู้ร้องได้ผ่านระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และรายงานความห้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนด รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่อง หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเป็ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองต่อประชาชนในพื้นที่ได้ ตามที่กองกลาง สนป. กำหนด เป็นไปตามขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ที่กองกลาง สนป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
498 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตบางกอกน้อย ด้วยกรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานที่จะมีความจำเป็นในการนำข้อมูลมาใช้ในการปฏิบัติงาน จึงได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ มาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานคร ๑. เพื่อให้มีการจัดทำฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครในระบบสารสนเทศ ๑. มีฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
499 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการคืนชีวิตแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนวัดจำปา ชุมชนวัดจำปาเป็นชุมชนเก่าแก่ที่สุด 1 ใน 8 ของกรุงเทพมหานคร พื้นที่ล้อมรอบด้วยคลองสายหลัก 2 สาย คือคลองบางระมาดและคลองบ้านไทร และมีคลองลัดวัดจำปาเชื่อมคลองทั้งสองสาย เข้าด้วยกันทำให้พื้นที่ของชุมชนมีลักษณะเป็นเกาะ ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย เนื่องจากบริเวณนี้ แต่เดิมเป็นแหล่งการค้าชุมชนและท่าเรือเก่า ประกอบกับเป็นย่านการเกษตร ซึ่งเต็มไปด้วยสวนผลไม้ พืชผักพื้นบ้าน พืชสวนครัว และต้นไม้สีเขียว ทำให้มีความร่มรื่น บรรยากาศของบ้านสวนริมคลองที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถบอกเล่ามรดกทางวัฒนธรรมที่มีประวัติยาวนานกว่า 500 ปี แต่ความเจริญ ในยุคโลกาภิวัฒน์ส่งผลให้การท่องเที่ยวทางธรรมชาติลดน้อยลง สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงได้บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วน สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) โดยนำเอาปัจจัยพื้นฐานของชุมชนมาพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว และเป็นส่วนสำคัญในการอนุรักษ์ เรียนรู้ ถ่ายทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ ส่งเสริมภูมิปัญญา วิถีชีวิตดั้งเดิมของท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว ต่อยอดให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการสร้างเสริมศักยภาพของชุมชนให้มีความพร้อมและมีประสิทธิภาพในการท่องเที่ยวของเมืองในอนาคต เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน 1. เพื่อให้ชุมชนตระหนักและมีส่วนร่วมในการอนุรักษณ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และวิถีชีวิตของชุมชนอย่างยั่งยืน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนให้ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาชุมชนที่ปราศจากการทำลายสิ่งแวดล้อม และนำมาซึ่งความสำเร็จของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3. เพื่อส่งเสริมและเชื่อมโยงการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งต่อประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยว ชุมชนมีการบริหารจัดการครบตามองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1. ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม คือ การปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. องค์กรชุมชน คือ การมีส่วนร่วมการดำเนินการ และอนุรักษ์อย่างยั่งยืน 3. การจัดการ คือ จัดทำเส้นทางการท่องเที่ยวตลอดแนว 4. การเรียนรู้ คือ วิถีชาวสวน การเกษตรกรรม การเพาะพันธุ์จิ้งหรีด เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
500 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการตลิ่งชัน ห่วงใย ใส่ใจวัยสูงอายุ ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วยปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านการเงิน และปัญหาด้านจิตใจ มักจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ เราจึงควรตระหนักให้ความสำคัญในการเข้าไปดูแลช่วยเหลือ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถดูแลตนเอง หรือใช้ชีวิตอย่างคนปกติทั่วไปได้ สำนักงานเขตตลิ่งชัน จึงนำปัญหาดังกล่าวมาจัดทำโครงการเพื่อดูแลและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อยู่ในภาวะพิการ หรือทุพพลภาพ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับความดูแลช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ตามความต้องการ 2.1 เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ตามความเหมาะสม 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพกาย และสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 2.4 เพื่อให้เกิดการบริการสาธารณะภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โปร่งใส บนความมีส่วนร่วมของประชาชน และความร่วมมือระหว่างรัฐ และเอกชน (Smart Governance) 2.5 เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุทุพพลภาพ ผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชนทั้ง 43 ชุมชนในพื้นที่เขตตลิ่งชันได้รับความช่วยเหลือตามความเหมาะสม ได้รับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจอย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์โดยมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
501 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตตลิ่งชัน เพื่อให้หน่วยงานมีการจัดทำฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ ฐานข้อมูลของสำนักงานเขตตลิ่งชัน ตามที่ สยป. กำหนดในคู่มือฯ 0.00 0.00 สำนักงานเขตตลิ่งชัน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
502 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 พัฒนาฐานข้อมูล สำนักงานเขตหนองแขมมีข้อมูลเป็นจำนวนมากที่อยู่กระจัดกระจายตามฝ่ายต่าง ๆ การรวบรวมพัฒนาเป็นฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่สำนักงานเขตหนองแขมตระหนักและให้ความสำคัญ จึงจัดทำโครงการพัฒนาฐานข้อมูลขึ้น 1. รวบรวมข้อมูลพัฒนาให้เป็นฐานข้อมูลเพื่อง่ายต่อการใช้งาน จำนวนข้อมูลอย่างน้อย 6 ประเภทมีการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตหนองแขม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
503 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ หน่วยงานมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนที่ได้รับแจ้งจากประชาชนหรือผู้รับบริการที่ปรากฎอยู่ในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร และสามารถตอบผู้ร้องได้ภายในกำหนด เพื่อดำเนินการแก้ไขเรื่องที่ประชาชนหรือผู้รับบริการแแจ้งผ่านมายังกรุงเทพมหานครเพื่อขอรับบริการ ความช่วยเหลือแก้ไขหรือบรรเทาเหตุ การตรวจสอบข้อเท็จจริงอันเนื่องมาจากการได้รับความเดือดร้อน ความไม่เป็นธรรม หรือพบเห็นการกระทำผิดกฎหมายที่ปรากฎอยู่ในระบบรับเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร จัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ร้อยละ 90 ขึ้นไป 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
504 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลสำนักงานเขตบางขุนเทียน การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1. หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 2. นำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลตามภารกิจหลักมาจัดลำดับ คัดเลือกพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูล 3. เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 มีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 รายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 แหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบจัดเก็บข้อมูล 3.4 ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 ปฏิทินการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด 4. พัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 5. นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูล ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 พัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางขุนเทียน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
505 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมจัดทำระบบฐานข้อมูล ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีกำรรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่ำงๆ ในสื่อต่ำงๆ ฐำนข้อมูล (Database) หมำยถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่ำข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล (Data file) เดียวกันหรือแยกเก็บหลำยๆ แฟ้มข้อมูล (Data file) ควำมส�ำเร็จของกำรพัฒนำฐำนข้อมูล หมำยถึง กำรจัดกำรฐำนข้อมูล (Database) โดยกำรน�ำเข้ำข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีกำรแบ่งปันกำรใช้งำนข้อมูล ตำมแผนกำรพัฒนำฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และเกิดประโยชน์ต่อกำรพัฒนำกำรปฏิบัติงำนตำมภำรกิจหลักของหน่วยงำน และภำพรวมของกรุงเทพมหำน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงำนทบทวนสถำนะข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล หรือฐำนข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่น�ำไปประกอบกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยของผู้บริหำรกรุงเทพมหำนคร โดยพิจำรณำ จำกนโยบำย แผนพัฒนำกรุงเทพมหำนคร มำตรฐำนบริกำรสำธำรณะของกรุงเทพมหำนคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงำนน�ำข้อมูลตำมขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจ�ำเป็นตำมภำรกิจหลักมำจัดล�ำดับควำมส�ำคัญ และพิจำรณำคัดเลือกภำรกิจหลัก ที่จะด�ำเนินกำรพัฒนำเป็นฐำนข้อมูล จ�ำนวน 1 ฐำนข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่ำนกำรพิจำรณำจำกส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงำนต้องจัดท�ำแผนพัฒนำ ฐำนข้อมูลของหน่วยงำน และส่งให้ส�ำนักยุทธศำสตร์และประเมินผลภำยในเดือนมกรำคม 2563 โดยมีรำยละเอียด อย่ำงน้อย ดังนี้ 3.1 จัดท�ำรำยละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องกำรจัดเก็บ 3.2 ก�ำหนดแหล่งข้อมูลในกำรจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบกำรจัดเก็บข้อมูล 3.4 ก�ำหนดผู้รับผิดชอบในกำรจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงำน 3.5 ก�ำหนดเครื่องมือในกำรจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดท�ำปฏิทินกำรด�ำเนินงำนเพื่อให้เป็นไปตำมระยะเวลำที่ก�ำหนขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานด�ำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานน�ำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มน�ำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือน มิถุนายน 2563 ซึ่งการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละความส�ำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทิน ที่ส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลก�ำหนด และต้องด�ำเนินการตามล�ำดับขั้นตอนโดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
506 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตดอนเมือง ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าบุคลากรในหน่วยงานมีการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆเพิ่มมากขึ้น อาจเป็นผลเนื่องมาจากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพ เช่น บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ซึ่งการที่จะมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืนและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น ต้องเริ่มตั้งแต่การส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพ โดยให้บุคลากรสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพ และการมีสุขภาพดียังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย สำนักงานเขตดอนเมือง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ดังนั้น เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อ การเกิดโรค ตื่นตัวในการทำงานและมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรสำนักงานเขตดอนเมือง 1.เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีสุขภาพกายแข็งแรง โดยการออกกำลังกายอย่าสม่ำเสมอ 2.เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรใส่ใจภาวะสุขภาพของตนเองมากขึ้น มีความรู้ด้านโภชนาการและการออกกำลังกายเพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ 3.เพื่อให้บุคลากรมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) พัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติมากขึ้น ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานเขตดอนเมือง 0.00 0.00 สำนักงานเขตดอนเมือง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
507 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมสำรวจและลงฐานข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานได้ถูกกำหนดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี 2563 ของหน่วยงานให้สำนักงานเขตได้ ทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล คัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูล เพื่อกำหนดเป็นตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ของสำนักงานเขตจตุจักรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. เพื่อทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 2. เพื่อคัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. 3. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล 4. เพื่อดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล 5. เพื่อนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูล 1. ทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลได้ร้อยละ 10 2. คัดเลือกข้อมูลตามภารกิจหลักที่เชื่อมโยงกับแพนพัฒนา กทม. ได้ร้อยละ 10 3. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลได้ร้อยละ 20 4. ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลได้ร้อยละ 20 5. นำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้ร้อยร้อยละ 40 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
508 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการจัดเก็บใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านลงฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียนได้นำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เป็นการลดขั้นตอนสำหรับประชาชนในการจัดทำสำเนาเอกสารที่ใช้ในการติดต่อราชการ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงาน โดยการรวบรวมข้อมูลเอกสารไว้ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้กระบวนการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งผลให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันของประชาชน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดนการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ฝ่ายทะเบียนจึงมีแนวคิดที่จะนำใบสำคัญการขอเลขหมายประจำบ้านมาสแกนจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการตรวจสอบและการขอคัดสำเนาหลักฐานการขอเลขหมายประจำบ้าน 1. เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. เพื่อลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพื่อเพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 1. เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดในการนำเครื่องสแกนเอกสารมาใช้ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน 2. ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการค้นหา 3. เกิดความสะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการ 4. ลดความเสี่ยง ในกรณีเอกสารต้นฉบับชำรุดสูญหาย 5. เพิ่มช่องทางในการค้นหาหรือตรวจสอบเอกสาร 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
509 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ สำนักงานเขตลาดพร้าว พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติราชการ มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่องานบริการที่มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในการให้บริการ ไม่มีขั้นตอนปฏิบัติงานเกินความจำเป็น มีการปรับปรุงภารกิจให้ทันต่อสถานการณ์ ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความ ต้องการ และมีการประเมินผลการให้บริการอย่างสม่ำเสมอ 1. เพื่อให้การดำเนินงานจัดการข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์สำนักงานเขตลาดพร้าว มีขั้นตอน/กระบวนการ และแนวทางในการปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดการข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
510 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตลาดพร้าว มีภารกิจหลักในการให้บริการประชาชน อีกทั้งมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกบ่อยครั้ง เพื่อเป็นการส่งเสริมจากทุกภาคส่วนในการบริหารงานของสำนักงานเขต จึงได้จัดกิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว เพื่อสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ จากประชาชนผู้รับบริการ และนำข้อมูลที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมมาปรับปรุงการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนต่อไป 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานเขตลาดพร้าว 2. เพื่อสอบถามความต้องการ ปัญหา ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ 3. นำข้อมูลจากการสอบถามมาปรับปรุงการให้บริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับ 5 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
511 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตลาดพร้าว ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีวิวัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สำนักงานเขตลาดพร้าว จำเป็นต้องจัดหาระบบ พัฒนา และปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและรองรับการดำเนินงานการจัดทำดัชนีเศรษฐกิจการค้า โดยเฉพาะการเผยแพร่ข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เป็นไปตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ข้อ 6 นโยบายการพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในข้อ ค. พัฒนาระบบราชการ ข้อย่อย 6.4.1 ปรับปรุงแบบการทำงาน อำนวยความสะดวก ลดขั้นตอนและกระบวนการทำงาน ขยายการให้บริการประชาชน และ ข้อย่อย 6.5.4 เสริมสร้างความเป็นเลิศในการปฏิบัติราชการ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 2.มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย และเป็นปัจจุบันตลอดเวลา 3.สามารถลดขั้นตอนการให้บริการข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการทั้งภาครัฐและเอกชน 4.มีโปรแกรมตรวจสอบ ประมวลผล และรายงานที่ทันสมัย ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
512 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการบึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาถนนเสรีไทย ปัจจุบันพื้นที่สำนักงานเขตบึงกุ่ม มีการพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการเจริญเติบโตของเมือง รวมถึงการขยายตัวของชุมชน มีประชาชนสร้างบ้านเรือนพักอาศัยเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนเป็นชุมชนเมือง พื้นที่ทางการเกษตรเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัย หมู่บ้านจัดสรร อาคารชุด สถานประกอบการ ทำให้เกิดปัญหาการตั้งวางของหาบเร่แผงลอย และการจอดรถบนทางเท้า รวมทั้งผู้ประกอบการค้าบางราย ได้นำเศษอาหารทิ้งลงท่อระบายน้ำ การตั้งป้ายโฆษณากีดขวางทางเดินบนทางเท้า ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม สภาพผิวจราจรชำรุดเสียหายไม่สวยงาม อีกทั้งก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนในการสัญจรผ่านไปมา สำนักงานเขตบึงกุ่ม ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวคิดพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนเสรีไทยช่วงแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ซึ่งสามารถเชื่อมสถานที่สำคัญ สวนนวมินทร์ภิรมย์ สวนเสรีไทย พิพิธภัณฑ์เสรีไทย วัดพิชัย และมัสยิดอัสสลามคลองกุ่ม รวมถึงแหล่งศูนย์รวมร้านอาหารในหมู่บ้านสหกรณ์ เป็นต้น โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและรับทราบรูปแบบแนวทาง เช่น การทาสีอาคาร การติดตั้งป้ายสถานที่สำคัญ บริเวณถนนเสรีไทย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน สำนักงานเขตบึงกุ่ม จึงจัดทำโครงการ “บึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาเสรีไทย” เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป ประชุมหารือร่วมกันเสนอแนวคิดการพัฒนาถนนเสรีไทย 2.1 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของถนนเสรีไทยในความรับผิดชอบของเขตบึงกุ่ม เริ่มจากแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ให้มีความสะอาดสวยงาม 2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงถนนเสรีไทย ให้มีความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า เป็นระเบียบเรียบร้อยเกิดความสวยงาม สร้างความประทับใจแก่ผู้ใช้บริการ 2.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และเกิดรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันในการดูแลรักษาถนนเสรีไทย 3.1 มีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่โดยมีสมาชิกเครือข่ายทุกภาคส่วน ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน และจิตอาสาเฉพาะกิจงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ไม่น้อยกว่า 100 คน 3.2 มีการประชุมสมาชิกเครือข่ายเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาและติดตามผลการดำเนินการไม้น้อยกว่า 2 ครั้ง/ปี 3.3 มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแผนที่กำหนดไว้แล้วเสร็จร้อยละ 100 3.4 มีช่องทางการสื่อสารทางสังคมออนไลน์ (เว็บไซต์/ Facebook) 3.4.1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด พร้อมภาพถ่ายก่อน-หลัง การดำเนินกิจกรรม ครบถ้วน ร้อยละ 100 3.4.2 มีสมาชิกเครือข่าย/ประชาชนแสดงความคิดเห็น/โพสต์/รีวิว/Checkin ไม่น้อยกว่า 500 ราย/ปี 3.5 มีพื้นที่สีเขียวที่เป็นอัตลักษณ์ของเขตบึงกุ่ม จำนวน 1 จุด มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร 3.6 ประชาชนมีความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
513 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการคลองสวย น้ำใส ชาวบึงกุ่มร่วมใจพัฒนา ปัจจุบันพื้นที่สำนักงานเขตบึงกุ่ม มีการพัฒนาพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการเจริญเติบโตของเมือง รวมถึงการขยายตัวของชุมชน มีประชาชนสร้างบ้านเรือนพักอาศัยเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนเป็นชุมชนเมือง พื้นที่ทางการเกษตรเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัย หมู่บ้านจัดสรร อาคารชุด สถานประกอบการ ทำให้เกิดปัญหาการตั้งวางของหาบเร่แผงลอย และการจอดรถบนทางเท้า รวมทั้งผู้ประกอบการค้าบางราย ได้นำเศษอาหารทิ้งลงท่อระบายน้ำ การตั้งป้ายโฆษณากีดขวางทางเดินบนทางเท้า ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม สภาพผิวจราจรชำรุดเสียหายไม่สวยงาม อีกทั้งก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนในการสัญจรผ่านไปมา สำนักงานเขตบึงกุ่ม ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวคิดพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนเสรีไทยช่วงแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ซึ่งสามารถเชื่อมสถานที่สำคัญ สวนนวมินทร์ภิรมย์ สวนเสรีไทย พิพิธภัณฑ์เสรีไทย วัดพิชัย และมัสยิดอัสสลามคลองกุ่ม รวมถึงแหล่งศูนย์รวมร้านอาหารในหมู่บ้านสหกรณ์ เป็นต้น โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและรับทราบรูปแบบแนวทาง เช่น การทาสีอาคาร การติดตั้งป้ายสถานที่สำคัญ บริเวณถนนเสรีไทย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน สำนักงานเขตบึงกุ่ม จึงจัดทำโครงการ “บึงกุ่มร่วมใจ พัฒนาเสรีไทย” เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป ประชุมหารือร่วมกันเสนอแนวคิดการพัฒนาถนนเสรีไทย 2.1 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ของถนนเสรีไทยในความรับผิดชอบของเขตบึงกุ่ม เริ่มจากแยกนิด้าถึงคลองรหัส ระยะทาง 2,900 เมตร ให้มีความสะอาดสวยงาม 2.2 เพื่อพัฒนาปรับปรุงถนนเสรีไทย ให้มีความปลอดภัยในการใช้ทางเท้า เป็นระเบียบเรียบร้อยเกิดความสวยงาม สร้างความประทับใจแก่ผู้ใช้บริการ 2.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และเกิดรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันในการดูแลรักษาถนนเสรีไทย 3.1 มีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่โดยมีสมาชิกเครือข่ายทุกภาคส่วน ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน และจิตอาสาเฉพาะกิจงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ไม่น้อยกว่า 100 คน 3.2 มีการประชุมสมาชิกเครือข่ายเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาและติดตามผลการดำเนินการไม้น้อยกว่า 2 ครั้ง/ปี 3.3 มีการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแผนที่กำหนดไว้แล้วเสร็จร้อยละ 100 3.4 มีช่องทางการสื่อสารทางสังคมออนไลน์ (เว็บไซต์/ Facebook) 3.4.1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด พร้อมภาพถ่ายก่อน-หลัง การดำเนินกิจกรรม ครบถ้วน ร้อยละ 100 3.4.2 มีสมาชิกเครือข่าย/ประชาชนแสดงความคิดเห็น/โพสต์/รีวิว/Checkin ไม่น้อยกว่า 500 ราย/ปี 3.5 มีพื้นที่สีเขียวที่เป็นอัตลักษณ์ของเขตบึงกุ่ม จำนวน 1 จุด มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร 3.6 ประชาชนมีความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
514 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 การพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่สำนักงาน กก. และสตน. กำหนด ตามที่สำนักงาน ก.ก. และสตน. กำหนด ตามที่สำนักงาน ก.ก. และสตน.กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตบึงกุ่ม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
515 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางซื่อ ตามที่ สยป. กำหนด (ปรากฏตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ตามที่ สยป. กำหนด (ปรากฏตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางซื่อ 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางซื่อ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
516 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสำนักงานเขตราชเทวี รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง รอรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตราชเทวี 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
517 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลเขตประเวศ พิจารณาจากกระบวนการในการดำเนินงาน ทั้งการทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำ รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน โดยมีวิธีการดำเนินการทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการ ตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานนำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญ และพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 โดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 จัดทำรายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 กำหนดแหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 3.4 กำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน 3.5 กำหนดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 จัดทำปฏิทินการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 หน่วยงานนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำข้อมูลเข้าครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ซึ่งการดำเนินงานตามตัวชี้วัดร้อยละ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลต้องเป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด และต้องดำเนินการตามลำดับขั้นตอน โดยไม่ข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง - จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน - 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
518 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัยและมีการแบ่งปันการใช้ข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางพลัด 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
519 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตจอมทอง --------------------/------------------ ----------------------/----------------- --------------------/---------------- 0.00 0.00 สำนักงานเขตจอมทอง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
520 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (ตามที่สำนักงาน สยป. กำหนด) 0.00 0.00 สำนักงานเขตดินแดง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
521 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ เพื่อให้การจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ปรากฎในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามกระบวนการที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการดำเนินการแก้ไข และรายงานผลอย่างมีคุณภาพตามอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อให้เรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแจ้ง ได้ดำเนินการแก้ไข และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการ/พิจารณาเข้าสู่ระบบฯ 2.เพื่อให้การแก้ไขปัญหาและรายงานผลในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ประสบความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน สามารถแก้ไขและบรรเทาความเดือดร้อนให้ประชาชน และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร ความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ ร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
522 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสวนหลวง ด้วยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ให้หน่วยงานจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อจัดทำรายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 2.เพื่อกำหนดแหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.เพื่อออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 4.เพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน 5.เพื่อกำหนดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 6.เพื่อจัดทำปฏิทินการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด เพื่อให้หน่วยงานมีการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาข้อมูลเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสวนหลวง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
523 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้เสร็จภายในกำหนด สำนักงานเขตวัฒนามีนโยบายดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 1.เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนในพื้นที่เขต 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานแก้ไขเรื่องร้องเรียน ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนภายในกำหนดครบทุกเรื่อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
524 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลชองสำนักงานเขตวัฒนา สำนักงานเขตมีฐานข้อมูลด้านกายภาพ เศรฐกิจ สังคม ไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การนำข้อมูลมาพัฒนางานด้านต่างๆ ไม่สอดคล้องตามความต้องการของประชาชน เพื่อให้ฐานข้อมูลของสำนักงานเขตวัฒนาเป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลเขตวัฒนาครบถ้วนถูกต้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
525 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการประชาร่วมใจ คืนน้ำใส ให้คลองสวย สำนักงานเขตวัฒนาได้วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ - มีวัชพืชและผักตบชวาขึ้นกีดขวางทางน้ำไหลในคูคลอง ลำราง และโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ต้องดำเนินการจัดเก็บบ่อยครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่อย่างจำกัด และมีภารกิจที่ต้องรับผิดชอบในด้านอื่นๆ - ประชาชนทิ้งขยะลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ - มีการปล่อยน้ำเสียที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ จากอาคารสาธารณะ อาคารพักอาศัยรวม สถานประกอบการ และร้านอาหาร - สภาพพื้นที่เขตวัฒนาเป็นแอ่งกระทะ ระดับพื้นที่เขตวัฒนาต่ำกว่าระดับพื้นที่เขตข้างเคียง และเป็นพื้นที่ปิดล้อม การระบายน้ำต้องใช้วิธีการสูบน้ำออกลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะนอกพื้นที่เขตเพียงอย่างเดียว หากมีฝนตกในปริมาณมากกว่า 60 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงจะไม่สามารถระบายน้ำฝนได้ทัน ต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำ บริเวณจุดอ่อนน้ำท่วม บริเวณซอยสุขุมวิท 39 เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่ - เพื่อดูแลรักษาสภาพคูน้ำซอยสวัสดีให้อยู่ในสภาพเดิม สามารถระบายน้ำได้ดี - เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคูน้ำซอยสวัสดี และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - เพื่อป้องกันการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคูน้ำซอยสวัสดี - เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชนผู้สัญจร - จัดเก็บขยะ วัชพืช ขุดลอก และดูแลรักษาสภาพคูน้ำซอยสวัสดี จากสุขุมวิท 31 ถึงคลองแสนแสบ ระยะทาง 1,535 เมตร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เมษายน 2563 - ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคูน้ำซอยสวัสดี และเพิ่มพื้นที่สีเขียว (จุด Landmark) จำนวน 1 จุด โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ - จัดเจ้าหน้าที่ดูแลไม่ให้มีการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคูน้ำซอยสวัสดี ทุกเดือน - ติดตั้งโคมไฟโซล่าเซลล์เพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนในบริเวณคูน้ำซอยสวัสดี จำนวน 6 จุด โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรม 0.00 0.00 สำนักงานเขตวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
526 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้กำหนดให้การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งกำหนดให้สำนักงานเขต 50 เขต จัดทำระบบฐานข้อมูล โดยจัดการฐานข้อมูล นำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร และเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ให้คณะผู้บริหารกรุงเทพมหานครประกอบการจัดทำยโยบายในการพัฒนากรุงเทพมหานครก้าวไปสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย เพื่อจัดทำฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัยตามคำรับรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จัดทำฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางแค 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
527 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามที่ สลป. กำหนด ตามที่ สลป. กำหนด ตามที่ สลป. กำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
528 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตหลักสี่ -ทบทวนระบบข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงานและติดตามผลการดำเนินงาน การวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน -เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลของเขตหลักสี่ 1 ฐานข้อมูล -การนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 0.00 0.00 สำนักงานเขตหลักสี่ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
529 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสำนักงานเขตสายไหม เนื่องจากปัจจุบันมีประชาชนเข้ามารับบริการที่ฝ่ายทะเบียนจำนวนมาก ประกอบกับระบบงานทะเบียนต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและระบบฐานข้อมูลออนไลน์ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดีที่สุด 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีจิตสำนึกในการบริการประชาชนด้วยความเต็มใจ (SERVICES MIND) 2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี (SERVICES GOVERNANCE) 3 เพื่อตอบสนองนโยบายของกรุงเทพมหานครและรัฐบาลในการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับปรุงพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการให้บริการประชาชน 1.ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการบริการของกลุ่มงานทะเบียนทั่วไปเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และได้รับความเสมอภาคในการรับบริการ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
530 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้องทุกข์ รายละเอียดผลการดำเนินการที่สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ หมายถึง ผลการดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานบันทึกเข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร (MIS) โดยระบุวิธีการดำเนินการ/พิจารณาเรื่อง เช่น การส่งต่อให้แก่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริง แจ้งการตักเตือน การดำเนินคดี แจ้งการพิจารณายุติเรื่องหรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ (กรณีสามารถติดต่อผู้ร้องได้) ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศูนย์รับแจ้งทุกข์ กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สามารถตอบชี้แจงผู้ร้องได้ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีระบบการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้ทันท่วงที มีระบบการรับเรื่องราวร้องเรียนของประชาชนและสามารถแจ้งหน่วยงานเพื่อทำการแก้ไขได้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
531 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตสายไหม การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลในสำนักงานเขตและจัดระบบให้มีความสัมพันธ์กันเป็นฐานข้อมูล (Database) 2. เพื่อปรับปรุงและนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
532 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปี 2563 (โครงการสายไหม สายน้ำใจ สู่สายน้ำ) การพัฒนาคลองและชุมชนริมคลองสองให้เกิดความยั่งยืนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากชุมชน และเปิดพื้นที่ริมคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อให้ผู้คนภายนอกสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากคลองได้เช่นเดียวกับชุมชนริมคลอง โดยเริ่มจากสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนริมคลองสอง แล้วประชุมระดมความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสม ซึ่งได้ข้อสรุปของโครงการว่าการดำเนินงานเกิดจากประชาชนชาวสายไหมที่ร่วมมือกันเป็นเครือข่ายคนรักษ์คลองสอง ร่วมเรียนรู้อดีตความเป็นมาของคลองสองและวิถีชีวิตชุมชนที่พึ่งพาคลอง เพื่อฟื้นฟูให้คลองสองกลับมาเป็นพื้นที่ที่เชื่อมโยงผู้คนเช่นในอดีต โดยร่วมมือกันพัฒนาและรักษาคลองให้สะอาด จัดระเบียบภูมิทัศน์ให้สวยงาม จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนริมคลองให้ดีขึ้น โดยน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนให้ครอบคลุมการพัฒนาในทุกมิติ เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนริมคลองตั้งแต่เริ่มต้นระเบิดปัญหาและความต้องการจากคนภายในชุมชน (ระเบิดจากข้างใน) ร่วมคิด ร่วมวางแผนการดำเนินงาน และร่วมเป็นพลังจิตอาสาซึ่งจะเป็นกำลังหลักในการดูแลรักษาสภาพคลองให้สะอาด ปลอดขยะและผักตบชวา บำบัดฟื้นฟูคุณภาพน้ำในคลอง รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างรายได้พึ่งพาตนเอง อาศัยอยู่กับคลองโดยไม่เบียดเบียนธรรมชาติ และส่งเสริมการอนุรักษ์คลองอย่างยั่งยืน 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำริมคลองสองให้คลองสามารถระบายน้ำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 2. เพื่อปรับภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวทางเดินริมคลองสองและจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะ 3. เพื่อแก้ไขและจัดการปัญหาการทิ้งขยะและน้ำทิ้งจากชุมชนริมคลอง และพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนริมคลองในด้านต่างๆ 4. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคลองสองให้เกิดความยั่งยืน 1. จัดตั้งเครือข่าย “คนสายไหม เชื่อมใจ รักษ์คลองสอง” ประกอบด้วยภาคส่วนต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาคลองสอง โดยจัดประชุมผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมติดตามผลไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี 2. ริมคลองสองไม่มีสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำแนวเขื่อนเพิ่มเติมและผู้บุกรุกรายเดิมมีการดำเนินการทางกฎหมาย 3. ดำเนินการปรับภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวทางเดินริมคลองสองความยาว 700 เมตร และจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะ 4. ดำเนินการจัดการปัญหาขยะและน้ำทิ้งจากชุมชนริมคลองโดยจัดกิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน 5. ดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนริมคลอง โดยจัดกิจกรรม “วิถีชุมชนคนริมคลอง” 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
533 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการให้บริการที่ดีที่สุด “Saimai Happy Road Happy Life”(รักษารอบ) ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561) สำนักงานเขตสายไหมได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับถนนจำนวน 120 เรื่อง (ผิวจราจรชำรุด จำนวน 65 ราย/ฝุ่นละออง จำนวน 11 ราย/ดินตกหล่น จำนวน 44 ราย) ซึ่งนอกจากจะเกิดความเสียหายแก่เส้นทางสัญจรแล้ว ยังพบว่ามีปริมาณฝุ่นควันและเสียงดังรบกวนประชาชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตอีกด้วย ดังนั้นสำนักงานเขตสายไหม จึงได้จัดทำโครงการ Saimai Happy Road Happy Life เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 1.เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างในพื้นที่เขตสายไหม 2.เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้แก่ การสัญจรไม่สะดวกจากถนนชำรุด และความเจ็บป่วยจากฝุ่นละออง 3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนในชุมชน และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 1.ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับถนน ทางเท้า และสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ควบคุมปริมาณฝุ่นละอองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในพื้นที่เขตสายไหม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.) 3.เกิดเครือข่ายระหว่างภาคประชาชน หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ เพื่อร่วมกันสอดส่องดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 0.00 0.00 สำนักงานเขตสายไหม 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
534 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด การพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตเพื่อใช้ในการวางแผนและพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลในสำนักงานเขตและจัดระบบให้มีความสัมพันธ์กันเป็นฐานข้อมูล (Database) 2. เพื่อปรับปรุงและนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จัดทำฐานข้อมูลสำนักงานเขตคันยายาว 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
535 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ด้วยการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศง 2560 มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน กำหนดให้หน่วยงานมีหน้าที่บริหารจัดการเรื่องร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตคันนายาวจังได้จัดทำกิจกรรมการดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ขึ้น เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ การดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ ตามเกณฑ์ที่กองกลางกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
536 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 แผนการจัดทำฐานข้อมูลภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในเขตคันนายาว เพื่อให้สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้ามหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 1 เพื่อแจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีป้าย ได้ตามเป้าหมายที่กรุงเทพมหานครกำหนด 2. เพื่อดำเนินการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ในรายที่ยังไม่ยื่นแบบแสดงรายการในปีที่ผ่านมา แจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีป้าย ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ร้อยละ 100 ของประมาณการที่กรุงเทพมหานครกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
537 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ตัวชี้วัด 3.1 กิจกรรมระดับความสำเร็จในการจัดการเรื่องที่ได้รับแจ้งจากประชาชน/ผู้รับบริการ - เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการที่มาถึงกรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏอยู่ในระบบเรื่องราวร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS ) นั้น เป็นสิ่งที่หน่วยงานมีหน้าที่จัดการให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามอำนาจหน้าที่ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ เพื่อแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์จากประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนหรือตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่ตอบรับเรื่องรางร้องทุกข์ของกรุงเทพมหานคร ( MIS) 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
538 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 ตัวชี้วัด 4.1 กิจกรรมร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดทำแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงการหรือเป้าหมายการพัฒนา การแก้ไขปัญหาในพื้นเขตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทุกฝ่ายต้องมีการบูรณาการข้อมูลที่มีอยู่ร่วมกันเอาไว้อยู่ในฐานข้อมูลเดียวกัน เพื่อที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ดังนั้นจึงมีการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อที่จะได้เอาไว้รวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่ายที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่ายที่จำเป็นต่อการวางแผนหรือการวางนโยบายไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน 2. สำนักงานเขตวังทองหลางมีฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบาย ทุกฝ่ายนำข้อมูลที่จำเป็นต่อการวางแผนเข้าสู่ฐานข้อมูลได้ครบถ้วน 0.00 0.00 สำนักงานเขตวังทองหลาง 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
539 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตคลองสามวา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กกกกก กกกก 1 ฐานข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสามวา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
540 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูลของสำนักงานเขตบางนา กิจกรรมนี้จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นหรือสำคัญของสำนักงานเขต เพื่อพัฒนาเป็นฐานข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น 1. พัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่ สยป. กำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 1. จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 2. มีฐานข้อมูลของสำนักงานเขตอย่างน้อย 1 ฐานข้อมูล 3. มีการนำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลดังกล่าว 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
541 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันของสำนักงานเขตมีจำนวนมาก แต่ยังไม่มีการเก็บรวมรวมไว้อย่างเป็นระบบทำให้การใช้งานข้อมูลไม่ได้รับความสะดวก เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยงานที่เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ไว้สำหรับการใช้งานที่สะดวก รวดเร็ว มีฐานข้อมูลที่เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ไว้ 0.00 0.00 สำนักงานเขตทวีวัฒนา 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
542 7.0.1.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 กำรพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร การพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลที่เป็นไปตามแนวทางและปฏิทินที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2019-10-01 00:00:00 2020-09-29 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
543 7.0.2.
ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
4.2. 2563 โครงการพัฒนาฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล และนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานและภาพรวมของกรุงเทพมหานคร 1.เพื่อให้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และได้มีการรวบรวมเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ มีการวิเคราะห์และจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ การจัดทำแผนพัฒนาระบบข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลของหน่วยงาน 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางบอน 2019-10-01 00:00:00 2020-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
544 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 15. กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) เป็นการกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด เพื่อกำหนดจุดสถานที่และออกเลขบ้านให้ได้ตามกำหนด ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกะปิ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
545 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตรวจสอบและติดตามการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามผังเมืองรวม 1. ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านอย่างถูกต้องแม่นยำ 2. สะดวกต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูลของอาคารทั้งจากฐานข้อมูลเขตและจากส่วนกลาง การลงเลขรหัสประจำบ้านครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
546 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่ปลูกสร้างใหม่ในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกรุงเทพมหานครมีภารกิจในการให้บริการประชาชน การกำหนดบ้านเลขที่เป็นอีกหนึ่งการให้บริการแก่ประชาชนเมื่อมีการขอหมายเลข บ้านเลขที่ใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 สำนักทะเบียนฯ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจบ้าน ดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลในการค้นหาตำแหน่ง, บันทึกตำแหน่งลงในแผนที่ และจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะสามารถทำให้ การค้นหาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปเป็นประโยชน์ ต่อกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของท้องถิ่น สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานตาม ภารกิจต่าง ๆ และเป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลของกรุงเทพมหานครให้ทันสมัย 1. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมืองให้เป็นไปตามผังเมืองรวม 2. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 4. เพื่อให้ทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 5. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการตรวจค้นข้อมูลในอนาคตได้โดยสะดวก รวดเร็ว 6. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการจัดเก็บข้อมูลให้ทันสมัยโดยมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน 7. เพื่อเป็นข้อมูลทางสถิติ (STATISTICS DATA) เนื่องจาก เอกสารทางทะเบียนเป็นการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลทางสถิติต่าง ๆ เมื่อนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 1. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคาร 2. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง 3. เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทราบถึงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดเลขที่บ้านและกำหนดเลขรหัสประจำบ้าน 4. สามารถอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและหน่วยงานเกี่ยวข้อง ในการตรวจค้นข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานและสามารถให้บริการประชาชนได้โดยสะดวกและรวดเร็วขึ้น 5. ข้อมูลมีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมีความทันสมัย และเป็นรูปแบบบและมาตรฐานเดียวกัน 6. ข้อมูลที่มีการจัดเก็นสามารถนำมาอ้างอิงเป็นสถิติ (STATISTICS DATA) และสามารถนำมาประมวลวิเคราะห์วิจัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านการเมือง ด้านการปกครอง ด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสุข เป็นต้น 0.00 0.00 สำนักงานเขตบางกอกน้อย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
547 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่นั้น นำมาซึ่งภารกิจหลักที่สำคัญในการวางและจัดทำผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย รองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคตที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในการวางแผนเพื่อการบริหารจัดการเมืองดังกล่าว ระบบจัดการฐานข้อมูลแผนที่การใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและอาคาร ระบบอำนวยความสะดวกในการ สืบค้น วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลในแต่ละพื้นที่ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบภูมิสารสนเทศที่ต้องนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลผังเมือง รวมทั้งได้บังคับใช้และเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวมต่อไปในอนาคต สำนักผังเมือง ได้นำเอาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มาใช้เพื่อการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการผังเมือง ประกอบกับได้ดำเนินการ โครงการสร้างและพัฒนาแบบจำลอง 3 มิติพื้นที่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ อันเป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ฐานเชิงตัวเลข (Digital Map) ที่สำนักผังเมืองมีอยู่ ซ้อนทับกับข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดสูง ซึ่งแสดงให้เห็นรูปจำลองเสมือนจริง และชุดแสดงแบบจำลอง ผู้ใช้งานสามารถควบคุมการแสดงผลได้หลายมุมมอง (Interactive Fly Through) เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการเข้าถึงพื้นที่ของแต่ละเขต อันประกอบด้วยอาคารสูง ที่มีลักษณะกิจกรรม อันหลากหลาย และมีความเสี่ยงต่อการเกิดวิกฤตการณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำเร็จในการพัฒนาระบบ GIS 3 มิติ ในการเป็นประวัติศาสตร์ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จัดเก็บลักษณะพื้นที่ของกรุงเทพมหานครทั้งหมดไว้ใน ระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปัจจุบันสำนักผังเมืองได้ดำเนินการโครงการบูรณาการระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานคร ให้สามารถใช้งานบนระบบเครือข่าย (Web-based Application) ซึ่งถือเป็นการบูรณาการ ระบบภูมิสารสนเทศ แบบ 3 มิติ กับข้อมูลอาคารที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงจากระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการให้เลขหมายประจำบ้านเพื่อปรับปรุง วิเคราะห์และตรวจสอบด้าน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้าง การประเมินสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเพื่อให้กรุงเทพมหานครพัฒนาการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศจากระบบเครือข่ายของสำนักผังเมืองปัจจุบัน ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ในฐานะหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการทะเบียนราษฎร ในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้กับผู้ที่ยื่นคำร้องขอซึ่งปลูกสร้างอาคารในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะ จึงมีส่วนร่วมกับการบูรณาการระบบ ภูมิสารสนเทศ 3 มิติ เพื่อการผังเมืองกรุงเทพมหานครของสำนักผังเมือง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านให้ครบทุกอาคาร 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลของระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครในลักษณะ 3 มิติ บนระบบเครือข่าย เพื่อให้ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำไปใช้งานในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อันเป็น การสนับสนุน การตัดสินใจในภารกิจ ที่สำคัญ และเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านการบริหารจัดการมหานครสำหรับกรุงเทพมหานคร ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านในท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ให้ครบทุกอาคาร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนอาคารที่ได้กำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด 0.00 0.00 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
548 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการปลูกสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้านและได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร.900) ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารและตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้ัองตามระบบรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านถูกต้องร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
549 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 การใช้ประโยชน์จากที่ดินตามการขยายตัวตามผังเมืองรวม ต้องได้รับการตรวจสอบ ติดตามและควบคุม โดยการนำระบบภูมิสารสนเทศบนเครือข่ายมาใช้ เพื่อให้ข้อมูลการกำหนดเลขที่บ้านและเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 1. เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ 3 มิติ ที่สำนักผังเมืองมีอยู่กับข้อมูลทางระบบงานทะเบียนราษฎรในส่วนของการกำหนดบ้านเลขที่และเลขรหัสประจำบ้าน ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็นระบบ 2. เพื่อพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศบนระบบเครือข่าย ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถตรวจสอบและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามแบบคำร้อง ทร.900 ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตประเวศ 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
550 4.0.2.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) เมื่อมีประชาชนมาขอเลขรหัสประจำบ้าน ฝ่ายทะเบียนจะดำเนินการออกเลขรหัสประจำบ้าน และลงจุดแสดงตำแหน่งลงในระบบภูมิสารสนเทศ เพื่อสะดวกในการค้นหา เพื่อลงจุดแสดงตำแหน่งอาคาร รหัสประจำบ้าน ที่มีประชาชนมาขอรับบริการ การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านที่บ้าน ตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังมือง (ตามแบบ ทร. 009) ร้อยละ 100 0.00 0.00 สำนักงานเขตคันนายาว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
551 4.0.4.
ด้านที่ ๔ เมืองที่เติบโตอย่างเป็นระบบ การเดินทางสะดวก
4.2. 2560 กิจกรรมการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การนำแผนฯไปสู่การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน 0.00 0.00 สำนักงานเขตทุ่งครุ 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
552 9.0.1.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ การส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจนำข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปปฏิบัติ หรือเริ่มที่จะดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยรับตรวจ จำนวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ที่หน่วยรับตรวจยอมรับและนำไปปฏิบัติ 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
553 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการจัดเก็บรายงานผลการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในสามารถนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน ที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน การนำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (ปลัดกทม. หรือรองปลัดกทม.) ลงนามรับทราบหรือสั่งการเรียบร้อยแล้ว เข้าจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายในได้ทันภายในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนรายงานผลการตรวจสอบบัญชีและการเงิน และหรือรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานที่นำเข้าเก็บในระบบฐานข้อมูลของสำนักงานตรวจสอบภายใน ภายใน ๑๐ วันทำการ นับถัดจากวันที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครลงนาม 0.00 0.00 ** สำนักงานตรวจสอบภายใน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
554 9.0.7.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (สพธ.)(ข้อบัญญัติ) เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ เพื่อพัฒนาติดตั้งและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ กทม.2 รวมถึงคลินิกสัตวแพทย์ เพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการสำหรับการให้บริการรักษาพยาบาล การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เชิงสถิติ 11,219,000.00 3,850,000.00 สำนักอนามัย 2016-10-01 00:00:00 2018-01-31 00:00:00 กำลังดำเนินการ 85.00
555 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - สำนักการคลังพิจาณาแล้วเห็นควรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ เพื่อเป็นการพัฒนาระบบเบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญกรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผล สามารถแก้ไขความล่าช้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสามารถรองรับปริมาณงานที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตเช่นเดียวกับ กรมบัญชีกลางที่ได้นำระบบสารสนเทศมาใช้เบิกจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการและลูกจ้างประจำ รวมถึงยังเป็น เครื่องมือให้ผู้บริหารารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้ในการติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ และการบริหารจัดการ งบประมาณด้านบำเหน็จบำนาญ - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของกองบำเหน็จบำนาญ - เพื่อลดขั้นตอนและลดปริมาณเอกสารในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้มีระบบจัดเก็บฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ให้ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของงาน และบริหารงานได้อย่างประสิทธิภาพ - เพื่อให้มีระบบสำรองข้อมูลให้สามารถปฏิบัติงานได้ หากเกิดสถานการณ์ไม่ปกติต่างๆ - เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในการจัดองค์กรในรูแบบ e-Office - กองบำเหน็จบำนาญมีระบบการปฏิบัติงานที่มี่ประสิทธิภาพ สามารถลดขั้นตอนและลดปริมาณ เอกสารของการปฏิบัติงาน - ข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานครที่เกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการ สามารถได้รับบำเหน็จบำนาญ รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว - ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร สามารถใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานของ กองบำเหน็จบำนาญ เพื่อการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4,119,800.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
556 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้มีสิทธิใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรุงเทพมหานครมีความพึงพอใจในคุณภาพ การบริหารจัดการด้วยระบบและรูปแบบที่ทันสมัย เป็นกลไกที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล 0.00 0.00 สํานักการคลัง 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
557 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงข้อมุูลเว็บไซต์ของสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครประกอบด้วยปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ ติดต่อเรา หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 77 หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย - ปฏิทินกิจกรรม - ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร - ข่าวสาร - การให้บริการ - ติดต่อเรา ผลคะแนนการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด ค่าเป้าหมาย 80 คะแนน 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
558 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการบันทึกคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน หน่วยงานบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายของกรุงเทพมหานครลงในโปรแกรมคำขอตั้งงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเพื่อตรวจสอบยอดคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี ร้อยละ 95 ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่สามารถบันทึกคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีแบบมุ่งเน้นผลงาน (หมวด 01-04) ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
559 9.0.5.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการสนับสนุนข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี นำข้อมูลข่าวสารและความรู้เผยแพร่ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณ ปริมาณข้อมูลข่าวสารและความรู้ด้านงบประมาณจัดทำผ่านระบบสารสนเทศสนับสนุนการวิเคราะห์งบประมาณเพิ่มขึ้นกว่าปีก่อนร้อยละ 5 0.00 0.00 สํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
560 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปัจจุบันนี้ กรุงเทพมหานครนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2556-2560) ในประเด็น-ยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) แต่เนื่องจากข้าราชการ ของกรุงเทพมหานครยังมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ กองสารสนเทศภูมิศาสตร์เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรพัฒนาศักยภาพให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 3.1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.1.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดเก็บข้อมูล การจัดทำแผนที่ การใช้เครื่องมือต่าง ๆ และทักษะการใช้โปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ รวมทั้งสามารถนำแนวคิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปบูรณาการให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน 3.1.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ณ ศูนย์ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 สำนักการศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครเบื้องต้น เป็นการฝึกอบรม แบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 2. หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครขั้นสูง (Advanced GIS) เป็นการฝึกอบรมแบบไป-กลับ ให้กับข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน-ระดับอาวุโส และประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-ระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 50 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 3 วันทำการ 286,800.00 223,050.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-03 00:00:00 2017-02-15 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
561 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการศึกษา วิเคราะห์และพิจารณาความเป็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมในการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน/ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร เสนอคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เรื่องที่ได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณาความเห็นไปได้/ความเหมาะสมที่เจ้าหน้าที่ดำเนินการวิเคราะห์แล้วเสร็จ และจัดทำรายงานเสนอเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการฯ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
562 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงาน/ส่วนราชการมีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข การดำเนินการแก้ไขไขปัญหาการใช้ระบบโปรแกรมประยุกต์ระบบงานต่าง ๆ ตามที่หน่วยงานผู้ใช้มีหนังสือขอแก้ไข ผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาการใช้ระบบโประแกรมประยุกต์ 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
563 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลในฐานะเป็นหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครพิจารณาเห็นว่า เพื่อให้การพัฒนาและการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครเกิดความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นสามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานและใช้ในการบริหารจัดการและการบริการภายในของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการให้บริการแก่ประชาชนและสาธารณะจึงเห็นควรจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) เพื่อเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาและดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมุ่งให้การบริการของ กรุงเทพมหานครเป็นการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหานครอิเล็กทรอนิกส์ (e-BMA) ๑. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ที่ครอบคลุมภารกิจระดับสำนักได้อย่างเหมาะสม ๒. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางบูรณาการข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจของหน่วยงานให้สามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการที่ดีแก่ประชาชนได้ ๓. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีแนวทางการบูรณาการงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเหมาะสม ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการบริการตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕) และนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ๔. เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีเกณฑ์การติดตามความก้าวหน้า การดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างเป็นรูปธรรม กรุงเทพมหานครจ้างที่ปรึกษาจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร 7,870,000.00 6,280,000.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
564 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐาน มีความรับผิดชอบในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการกำหนดนโยบายและจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานเกี่ยวกับการโยธา การระบายน้ำ การผังเมือง การจราจรและขนส่ง ประสานและสนับสนุนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ และติดตามผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนของสำนักและสำนักงานเขต ซึ่งในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน มีชุดความรู้ที่ใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย การให้คำแนะนำปรึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล โดยกองยุทธศาสตร์สาธารณูปโภคพื้นฐานจึงเห็นควรทำการศึกษาเพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะนำไปสู่การมีตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่เป็นมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากลต่อไป 1. เพื่อรวบรวมชุดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเมืองด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดตัวชี้วัดระดับการพัฒนาของเมืองในด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ดำเนินการสำรวจและรวบรวมข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน และจัดทำรายงานข้อมูล จำนวน 1 เล่ม 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
565 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมการให้บริการซ่อมแซมและบำรุงรักษาไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง เพื่อแก้ปัญหาข้อขัดข้องของระบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ใช้งานในลักษณะ Stand Alone ให้กับผู้บริหารและทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถแก้ไขและใช้งานได้ ร้อยละ 85 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-10-01 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
566 9.0.4.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมจัดทำวารสารไมโครวิชั่น เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี จึงต้องมีการเผยแพร่ความรู้ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ ให้กับข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 ครั้ง/ปี 0.00 0.00 สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
567 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2. 2560 การบันทึกทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 -เนื่องจากข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของเขตป้อมปราบฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ยังไม่มีการบันทึกลงในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)ในระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สามารถ ตรวจสอบค้นหา และคัดรับรองรายการจากระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการประชาชนได้ ฝ่ายทะเบียนจึงได้จัดให้มีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ลงฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2503-2546 ซึ่่งมีจำนวนมากถึง 45,842 ราย โดยแบ่งการดำเนินกาารเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลฯ ระหว่างปี พ.ศ.2530-2546 จำนวน9,524 รายเรียบร้อยแล้ว และช่วงที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 จะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคฯ ระหว่างปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย -เพื่อจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) -เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล (ชื่อตัว) จากระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันที่ -เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วให้แก่ประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการด้านทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว) -สามารถจัดเก็บข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)เข้าฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงปี พ.ศ.2515-2529 จำนวน 12,067 ราย ได้แล้วเสร็จ -ประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจสอบ ค้นหา และคัดรับรองรายการทะเบียนชื่อบุคคล(ชื่อตัว)มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 0.00 0.00 สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
568 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการพัฒนาระบบการให้บริการตรวจสอบและค้นหาเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3)ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา เป็นเขตแม่จากการแบ่งพื้นที่การปกครองเป็น 3 เขต จึงมีทะเบียนชื่อบุคคลเก็บรักษาไว้ที่สำนักทะเบียนเป็นจำนวนมาก 2.เพื่อให้การตรวจสอบ ค้นหาทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) สามารถดำเนินการได้รวดเร็ว และตรวจสอบได้ทุกสำนักทะเบียนทั่วราชอาณาจักร 3.เพื่อลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองทะเบียนชื่อบุคคล (ช.3) ได้อย่างรวดเร็วกว่าการค้นหาด้วยมือ 4.ประชาชนได้รับความสะดวก และความพึงพอใจ ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาสำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา 1.เพื่อลดระยะเวลา ขั้นตอนในการปฏิบัติงานเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน ในการตรวจสอบ ค้นหา คัดรับรองเอกสารทะเบียนชื่อตัว (ช.3) 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการให้บริการขอสำนักทะเบียน โดยสามารถตรวจสอบและเรียกค้น ทะเบียนชื่อบุคคล ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.เพื่อให้บริการในเชิงรุก สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 4.เพื่อป้องกันการชำรุด และเสื่อมสภาพของเอกสารทะเบียนชื่อบุคคล โดยสามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างถาวร 5.เพื่อสนองตอบต่อนโยบายผู้บริหารที่ต้องการให้กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยบริการที่ดีที่สุด และสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ 1.นำเข้าข้อมูลทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ตั้งแต่วันที่ 17 พ.ค. 2532-2545 ประมาณ 12,700 รายการ จัดเก็บด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในฐานข้อมูลทะเบียนชื่อบุคคลของสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ได้ครบถ้วนถูกต้อง 2.ประชาชนที่มาติดต่อตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ณ สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา ได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลารอคอย พึงพอใจในบริการ 3.ประชาชนที่ต้องการตรวจสอบ คัดรับรองทะเบียนชื่อตัว (ช.3) ซึ่งจัดเก็บที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเขตยานนาวา สามารถรับบริการ ณ สำนักทะเบียนทุกแห่งทั่วราชอาณาจักร 0.00 0.00 สำนักงานเขตยานนาวา 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
569 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชื่อตัว งานทะเบียนถือเป็นภารกิตหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร โดยมีสำนักงานเขตเป็นหน่วยงานในการให้บริการเกี่ยวกับงานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน งานทะเบียนราษฎร และงานทะเบียนทั่วไป จากสถิติการรับบริการงานด้านทะเบียนทั่วไป พบว่า ในปัจจุบันประชาชนมาขอรับบริการเปลี่ยนชื่อตัวเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากมีความเชื่อในเรื่องความเป็นศิริมงคล จึงนิยมมาขอเปลี่ยนเป็นจำนวนมาก ซึ่งการรับบริการเปลี่ยนชื่อตัว เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อตัว (แบบ ช.3) เรียบร้อยแล้ว ณ งานทะเบียนที่วไป จากนั้นประชาชนจะต้องมารับบัตรคิวที่งานทะเบียนราษฎร เพื่อรับบริการแก้ไขรายการชื่อตัวในทะเบียนบ้าน แล้วจึงไปกดบัตรคิวต่อขอเปลี่ยนบัตรประชาชนใหม่ ณ งานทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชนต่อไป รวมแล้ว 3 ขั้นตอน ทำให้ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกเท่าที่ควร ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถสนองตอบความต้องการของประชาชนจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการงานทะเบียนชือตัว เพื่อจะได้นำผลการดำเนินการในด้านลดขั้นตอนระยะเวลาขอรับบริการมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อยกระดับการให้บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. เพื่อพัฒนาการบริการประชาชนให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการรับบริการ ลดขั้นตอนระยะเวลาการให้บริการเปลี่ยนชื่อตัวและแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านแล้วเสร็จ ณ จุดเดียวโดยลดระยะเวลาบริการให้น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 50 นาที (ไม่รวมเวลารอเรียกตามคิว) 0.00 0.00 สำนักงานเขตคลองสาน 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
570 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลเว็บไซต์ของสำนักงานเขตจตุจักร แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของสำนักงานเขตจตุจักร มีภาระกิจ ครอบคลุมทุกด้านตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครทุกด้านจึงมีความจำเป็นต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความแพร่หลายและมีความถูกต้อง -เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับประชาชน - เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมที่สำนักงานเขตดำเนินงาน ให้ประชาชนได้รับทราบ -เพิ่มช่องทางให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารงานของผู้บริหารเขต มีการลงข้อมูลผลงานและกิจกรรมลงในระบบสาสนเทศทุกวันและมีการรายงานผู้บริหารเขตทราบทุก 15 วัน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้สืบค้นข้อมูล 0.00 0.00 สำนักงานเขตจตุจักร 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
571 9.0.2.
ด้านที่ ๙ เมืองที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4.2.1 2560 ปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมินผลที่กำหนด หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ระดับสำนัก สำนักงาน สำนักงานเขต และส่วนราชการในสังกัดสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร จำนวน ๗๗ หน่วยงาน เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร (www.bangkok.go.th) หรือเว็บไซต์ที่หน่วยงานจัดทำขึ้น และมีการ Link มายังเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลบนเว็บไซต์ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานตามข้อ ๑ ที่เผยแพร่และให้บริการบนเว็บไซต์ ประกอบด้วย ปฏิทินกิจกรรมข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสารการให้บริการติดต่อเรา ปรับปรุงข้อมูลตามเกณฑ์การประเมิลผลการปปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงานกรุงเทพมหานครตามเกณฑ์ ประเมินผลที่กำหนด ปรับปรุงบริการบนเว็บไซต์ หัวข้อ ปฏิทินกิจกรรม ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร ข่าวสาร การให้บริการ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 0.00 0.00 สำนักงานเขตลาดพร้าว 2016-10-01 00:00:00 2017-09-30 00:00:00 แล้วเสร็จ 100.00
รวม ->571 หน่วยงาน 0 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0 0 0