ลำดับ | ยุทธศาสตร์ 20 ปี | แผนแม่บทไอที | ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | หลักการและเหตุผล | วัตถุประสงค์โครงการ | เป้าหมายโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ | งบประมาณที่ใช้ไป | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | เริ่มโครงการ | สิ้นสุดโครงการ | สถานะโครงการ | คืบหน้า (ร้อยละ) |
1 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
5.1.1 | 2562 | โครงการศึกษาและวิเคราะห์สถาปัตยกรรมองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกระบวนการทำงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 1 | สถานการณ์การดำเนินการของหน่วยงานในปัจจุบันมีการปฏิบัติงานหลายขั้นตอนใช้กระดาษเป็นจำนวนมากโปรแกรมการปฏิบัติงานไม่ครอบคลุมถึงกระบวนการตามภารกิจที่สำคัญ ข้อมูลมีการจัดเก็บซ้ำซ้อนและขาดผู้รับผิดชอบสำหรับข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันและแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) เสนอแนวทางเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างแผนแม่บทฯ และภารกิจขององค์กรในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า อาทิ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการบริหารทรัพยากรบุคลากรเป็นต้น เพื่อให้รองรับกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ การขับเคลื่อนของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัญหาส่วนใหญ่คือ การขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) กับพันธกิจองค์กร (Business) ซึ่งเป็นผลก่อให้เกิดความล้มเหลวของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรอาทิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดซื้อด้วยราคาแพงแต่ใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับกระบวนการทางพันธกิจ (Business Process) ไม่ตอบโจทย์ วิสัยทัศน์ทางธุรกิจ (Business Vision)ขององค์กร รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีความซับซ้อนเกินความจำเป็น สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) เป็นแนวความคิดใหม่ที่บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับพันธกิจขององค์กรอย่างเป็นระบบตั้งแต่การกำหนดโจทย์การบริการการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) เพื่อออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมโยงกับการดำเนินงานได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ Architecture ไปจนถึง Roadmapขององค์กร เพื่อผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ขององค์กรที่กำหนดไว้ | 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีผลต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อมุ่งเน้นไปสู่การเป็นองค์กรที่ใช้ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในการทำงาน (Data Driven Organization) และลดการใช้กระดาษให้มากที่สุด 3. เพื่อกำหนดกระบวนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ Single Source โดยมีการกำหนด Data Operation และ Data Governance ที่เหมาะสม 5. เพื่อเป็นแนวทางกำหนดกรอบการพัฒนาแอปพลิเคชันที่เน้นการเชื่อมโยงระบบผ่านAPIเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการเปิดข้อมูลให้กับ Stakeholder ผ่าน Public API | 1.รายงานสรุปผลการศึกษา เพื่อคัดเลือกกรอบแนวทางที่เหมาะสมใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของกรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมองค์กร ที่เหมาะสม และจัดทำรายละเอียดข้อมูลสถาปัตยกรรมองค์กรในแต่ละด้านที่สอดคล้องตามกระบวนการโดยระบุถึงข้อมูลหลักของกระบวนการแหล่งที่มาของข้อมูลและผู้ใช้งานข้อมูล 2. การบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับกระบวนงานตามภารกิจอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กรที่พร้อมสู่การเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคงไปสู่การปฏิบัติ 3. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจอย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติ | 11,430,000.00 | 0.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2018-10-01 00:00:00 | 2019-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
2 | 7.0.1. ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
5.1.1 | 2563 | โครงการศึกษาและวิเคราะห์สถาปัตยกรรมองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกระบวนการทำงานตามภารกิจหลักของกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 1 | สถานการณ์การดำเนินการของหน่วยงานในปัจจุบันมีการปฏิบัติงานหลายขั้นตอนใช้กระดาษเป็นจำนวนมากโปรแกรมการปฏิบัติงานไม่ครอบคลุมถึงกระบวนการตามภารกิจที่สำคัญ ข้อมูลมีการจัดเก็บซ้ำซ้อนและขาดผู้รับผิดชอบสำหรับข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันและแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) เสนอแนวทางเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่างแผนแม่บทฯ และภารกิจขององค์กรในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า อาทิ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานการบริหารทรัพยากรบุคลากรเป็นต้น เพื่อให้รองรับกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และสังคมดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ การขับเคลื่อนของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีการพึ่งพาเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัญหาส่วนใหญ่คือ การขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) กับพันธกิจองค์กร (Business) ซึ่งเป็นผลก่อให้เกิดความล้มเหลวของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรอาทิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดซื้อด้วยราคาแพงแต่ใช้งานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับกระบวนการทางพันธกิจ (Business Process) ไม่ตอบโจทย์ วิสัยทัศน์ทางธุรกิจ (Business Vision)ขององค์กร รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีความซับซ้อนเกินความจำเป็น สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture: EA) เป็นแนวความคิดใหม่ที่บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับพันธกิจขององค์กรอย่างเป็นระบบตั้งแต่การกำหนดโจทย์การบริการการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) เพื่อออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมโยงกับการดำเนินงานได้อย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ Architecture ไปจนถึง Roadmapขององค์กร เพื่อผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินการตามนโยบายและวิสัยทัศน์ขององค์กรที่กำหนดไว้ | 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีผลต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อมุ่งเน้นไปสู่การเป็นองค์กรที่ใช้ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในการทำงาน (Data Driven Organization) และลดการใช้กระดาษให้มากที่สุด 3. เพื่อกำหนดกระบวนการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้การบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ Single Source โดยมีการกำหนด Data Operation และ Data Governance ที่เหมาะสม 5. เพื่อเป็นแนวทางกำหนดกรอบการพัฒนาแอปพลิเคชันที่เน้นการเชื่อมโยงระบบผ่านAPIเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการเปิดข้อมูลให้กับ Stakeholder ผ่าน Public API | 1.รายงานสรุปผลการศึกษา เพื่อคัดเลือกกรอบแนวทางที่เหมาะสมใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของกรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมองค์กร ที่เหมาะสม และจัดทำรายละเอียดข้อมูลสถาปัตยกรรมองค์กรในแต่ละด้านที่สอดคล้องตามกระบวนการโดยระบุถึงข้อมูลหลักของกระบวนการแหล่งที่มาของข้อมูลและผู้ใช้งานข้อมูล 2. การบูรณาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับกระบวนงานตามภารกิจอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กรที่พร้อมสู่การเติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคงไปสู่การปฏิบัติ 3. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศกับภารกิจอย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติ | 11,430,000.00 | 1,143,000.00 | สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 2019-10-01 00:00:00 | 2020-09-30 00:00:00 | แล้วเสร็จ | 100.00 |
รวม ->2 หน่วยงาน | 0 | 0.00 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0 | 0 | 0 | 0 |