แสดงผลการวิเคราะห์โครงการฯ : รายการที่ 1930

รหัส1930
รหัสโครงการ491
ผลการวิเคราะห์
วันที่วิเคราะห์โครงการฯ(not set)
ชื่อโครงการฯโครงการปรับปรุงระบบควบคุมน้ำบริเวณประตูระบายน้ำคลองสามเสนตอนบึงมักกะสัน
หน่วยงาน11000000
ปีงบประมาณ2569
ส่วนราชการ11090240
งบประมาณฯ50
ก. ลักษณะของโครงการ1
ข. ประเภทของโครงการ1
กองยุทธศาสตร์...(not set)
เห็นควร :: บรรจุเป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับ กทม./หน่วยงาน...1
เริ่มต้น ปีงบประมาณ2569
สิ้นสุด ปีงบประมาณ2570
1. ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 –2580)5
1.1 ยุทธศาสตร์ด้าน...5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
1.2 ประเด็นหลัก...5.3 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
1.3 ประเด็นย่อย...5.3.2 มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. ความสอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ5
2.1 หมุดหมายที่...8 และ 11
2.2 เป้าหมายที่...เป้าหมายที่ 3 (หมุดหมายที่ 8) และเป้าหมายที่ 1 (หมุดหมายที่ 11)
2.3 ตัวชี้วัดที่...ตัวชี้วัดที่ 3.2 (หมุดหมายที่ 8) ตัวชี้วัดที่ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 และตัวชี้วัดที่ 1.3 (หมุดหมายที่ 11)
3. ความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล10
3.1 เรื่อง...การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการน้ำ ให้มีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองต่อความต้องการน้ำในแต่ละพื้นที่
4. ความสอดคล้องกับ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร15
4.1 นโยบาย...P190 เซนเซอร์สูบน้ำ ไม่ต้องรอขอกุญแจ
5. ความสอดคล้องกับ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี5
5.1 ยุทธศาสตร์ที่...ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
5.2 เป้าประสงค์ที่...1.4.1
5.3 กลยุทธ์ที่...1.4.1.1
6. ความสอดคล้องกับ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี10
6.1 ยุทธศาสตร์ที่...เดินทางดี
6.2 ประเด็นการพัฒนา (Objective) ...1.4.1 ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสาธารณะ
6.3 ตัววัดผลหลัก (OKR ย่อย) ...491_11000000_prj69_20240606_143053.pdf
[1.1] ความจำเป็นพื้นฐานของโครงการ (พิจารณาจากผลที่จะได้รับหรือผลกระทบในทางที่ดีทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จะเกิดขึ้นกับกรุงเทพมหานคร ประชาชน สังคมหรือกลุ่มเป้าหมาย)5
[1.2] ความเร่งด่วนของโครงการ (พิจารณาจากระดับความรุนแรงของสถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่จะเพิ่มขึ้น ณ สถานการณ์ขณะนั้น หากไม่ได้ดำเนินโครงการจะก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างมากต่อประชาชนและการพัฒนากรุงเทพมหานคร หรือมีกฎหมายที่บังคับให้ต้องดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด)5
[2.1] โครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสังคมหรือยกระดับคุณภาพชีวิต (พิจารณาจากประโยชน์ของการดำเนินงานโครงการ)4
[2.2] การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (พิจารณาการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ภาครัฐ หน่วยงานภายใน กทม. ที่จะช่วยเป็นแรงสนับสนุนและเพิ่มพูนผลกระทบทางบวกของโครงการ) 0
[2.3] โครงการไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางสังคมในเชิงลบ (ผลกระทบเชิงลบ เช่น สูญเสียงานที่เคยทำ สูญเสียที่ดิน บ้านเรือน บริการทางสังคมที่เคยได้รับ และสูญเสียวิถีการดำเนินชีวิต ฯลฯ) 4
[3.1] การวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการ กรณีโครงการที่มีผลตอบแทนที่วัดเป็นตัวเงินได้ (พิจารณาจากการมีผลการวิเคราะห์ผลประโยชน์หรือผลตอบแทนที่จะได้รับ เปรียบเทียบกับเงินลงทุน เช่น ระยะเวลาคืนทุน (PB) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) ฯลฯ) 0
[3.2] การวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการ กรณีโครงการที่วัดเป็นตัวเงินไม่ได้ (พิจารณาจากผลลัพธ์ของโครงการส่งผลประโยชน์ทางอ้อมต่อกลุ่มเป้าหมายได้ เช่น การเพิ่มรายได้/ลดต้นทุนของกลุ่มเป้าหมาย เพิ่มการจ้างงาน การคืนผลประโยชน์สู่สังคม ฯลฯ)4
[4.1] ความสอดคล้องของโครงการ (พิจารณาจากความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลประโยชน์ที่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ และผู้รับผลประโยชน์จากโครงการและกิจกรรม)4
[4.2] แผนปฏิบัติการโครงการ (พิจารณาขั้นตอนการดำเนินงาน โดยแสดงรายละเอียดกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างชัดเจนตามลำดับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการจนสิ้นสุดการดำเนินโครงการ) 4
[4.3] การบริหารงบประมาณ (พิจารณาแหล่งที่มาของงบประมาณทุกแหล่งงบประมาณ หมวดรายจ่ายงบประมาณ และรายละเอียดค่าใช้จ่ายของโครงการ กรณีโครงการต่อเนื่องงบประมาณครั้งแรกเริ่มที่ปีงบประมาณใด ในปีต่อมา ก็ต้องระบุวงเงินงบประมาณที่ได้รับแต่ละปีด้วย)4
[4.4] การติดตามประเมินผลโครงการ (พิจารณาจากตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการที่สามารถวัดได้ทั้งระดับผลผลิตและผลลัพธ์ ซึ่งวิธีการประเมินผลสำเร็จของการดำเนินโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีในการประมวลผล วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่กำหนด เป็นต้น เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ประเภทต่าง ๆ ) 4
[4.5] การบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ (พิจารณาจากการแนวทางในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้การดำเนินโครงการมีความราบรื่นมาก ขึ้น)4
[5.1] ความพร้อมของสถานที่ดำเนินโครงการหรือที่ดิน (พิจารณาจากความพร้อมของสถานที่ว่ามีกระบวนการดำเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินดังกล่าว เช่น ขั้นตอนการขออนุญาตใช้ที่ดินจากหน่วยงานอื่น รวมทั้งในส่วนของกฎหมาย ชุมชน สิ่งแวดล้อม และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น เส้นทางการเดินเรือคลองแสนแสบจำเป็นต้องขอความเห็นชอบจากกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคมก่อน และมีมาตรการแก้ไขปัญหาดังกล่าว หรือไม่ อย่างไร)4
[5.2] แบบและรายละเอียดประกอบ (โครงการที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างหรือโครงการทางด้านวิศวกรรมจะต้องพิจารณาความสมบูรณ์ของแบบและรายละเอียดประกอบด้วยว่ามีครบถ้วนหรือไม่ และต้องมีพร้อมที่จะดำเนินการ)0
[6.1.1] มีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (พิจารณาจากผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) หรือรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการ กิจการหรือการดำเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง (EHIA) ของคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานฯ) 0
[6.1.2] โครงการที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พิจารณาจากรายละเอียดการดำเนินโครงการที่กำหนดรายละเอียดที่แสดงถึงการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีความเป็นไปได้ตามมาตรการ MITIGATION และ ADAPTATION ที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ)0
[6.2.1] มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (พิจารณาจากมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ก่อน/ระหว่าง/หลังดำเนินการ) สำหรับโครงการ ตามที่กฎหมายควบคุมอาคาร/กฎหมายสิ่งแวดล้อมกำหนด เช่น มาตรการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้าง ฯลฯ)2
[6.2.2] โครงการที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พิจารณาจากรายละเอียดการดำเนินโครงการที่กำหนดรายละเอียดที่แสดงถึงการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีความเป็นไปได้ตามมาตรการ MITIGATION และ ADAPTATION ที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ)2
[7.1] ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ : การบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ (พิจารณาจากการแนวทางในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้การดำเนินโครงการมีความราบรื่นมากขึ้น)0
Created วัน/เดือน/ปี(not set)
Update วัน/เดือน/ปี(not set)
Created ผู้วิเคราะห์ฯ..bmaadmins
Update ผู้วิเคราะห์ฯ..(not set)
ผู้วิเคราะห์ฯ..(not set)