หน้าหลัก โครงการฯ ปี 2568 สรุป 238 นโยบายฯ สรุปรายประเด็นพัฒนาฯ สรุปรายหน่วยงานฯ บันทึกโครงการฯ 68 PDF (68)
Showing 1-22 of 22 items.
สำนักการแพทย์
# | นโยบาย 9ดี 9ด้าน | 28 ประเด็นพัฒนาฯ | ตัวชี้วัดผลหลัก (Key Result) | ค่าเป้าหมาย | โครงการ/กิจกรรม | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | งบประมาณฯ (ลบ.) | นโยบาย ผว.กทม. |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นสูง (Advance) | 0 | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร 155 | สำนักการแพทย์ | 73.00 | Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน 155 |
2 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นสูง (Advance) | 0 | โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินทางไกล (EMS Telemedicine) 155 | สำนักการแพทย์ | 24.00 | Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน 155 |
3 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ระยะเวลาในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดย Motorlance | 10 นาที | กิจกรรมการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินด้วยรถจักรยานยนต์ฉุกเฉินทางการแพทย์ (Motorlance) 155 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน 155 |
4 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ร้อยละของพื้นที่ที่มีความจำเป็น และความต้องการจากผลการสำรวจ ไดัรับการติดตั้งเครื่อง AED ในพื้นที่สาธารณะและชุมชน (จำนวนเครื่อง AED ที่มีการสั่งซื้อเพิ่ม และสั่งซื้อทดแทน) | 90 ร้อยละ | กิจกรรมการสำรวจและรวบรวมข้อมูลการติดตั้งเครื่อง AED ในพื้นที่สาธารณะและชุมชน 238 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | การติดตั้งเครื่อง AED ในพื้นที่สาธารณะ และชุมชน 238 |
5 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ร้อยละของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการฝึกทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการฟื้นคืนสัญญาณชีพ (CPR) | 100 ร้อยละ | กิจกรรมให้การสนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) 237 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | การฝึกซ้อมปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการฟื้นคืนสัญญาณชีพ (CPR) ในสถานศึกษา 237 |
6 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | ร้อยละของคนเสี่ยงสูงที่เข้ามารับบริการคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายต้องได้รับการตรวจคัดกรอง HIV | 95 ร้อยละ | กิจกรรมการให้บริการคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายกรุงเทพมหานคร
(BKK Pride Clinic) 015 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | นำร่องพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย (ดำเนินการแล้วเสร็จ) 015 |
7 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | การก่อสร้าง รพ. แห่งใหม่ของกรุงเทพมหานคร | 1 แห่ง | โครงการก่อสร้างโรงพยาบาลพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
วัดปากน้ำ เขตภาษีเจริญ
(ปี 2568 -2571) 156 | สำนักการแพทย์ | 2,900.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
8 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | 60 เตียง | โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์โรงพยาบาลตากสิน
(ปี 2561 – 2568)
(งบประมาณทั้งสิ้น 2,087,038,618.-บาท) 156 | สำนักการแพทย์ | 1,107.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
9 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | 60 เตียง | โครงการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ
(ปี 2567 – 2571)
(งบประมาณทั้งสิ้น 2,017,222,000.-บาท) 156 | สำนักการแพทย์ | 659.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
10 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | 60 เตียง | โครงการก่อสร้างโรงพยาบาลบางนา กรุงเทพมหานคร
(ปี 2566 – 2570)
(งบประมาณทั้งสิ้น 3,016,100,000.-บาท) 156 | สำนักการแพทย์ | 850.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
11 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | 60 เตียง | โครงการปรับปรุงอาคารอเนกประสงค์ 5 ชั้น โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
(ปี 2567 – 2568)
(งบประมาณทั้งสิ้น 25,100,000.-บาท) 156 | สำนักการแพทย์ | 20.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
12 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | 60 เตียง | โครงการก่อสร้างศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกลางและอาคารสำนักการแพทย์
(ปี2566–2571)
(งบประมาณทั้งสิ้น 4,000,000,000.-บาท) 156 | สำนักการแพทย์ | 890.00 | เร่งรัดผลักดันการก่อสร้าง และศึกษาการสร้างโรงพยาบาลแห่งใหม่ให้ครอบคลุม 156 |
13 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | จำนวนร้านขายยาในเขตพื้นที่กทม. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบ e-Referral (การเชื่อมระบบการส่งตัวและข้อมูลผู้ป่วยจากเครือข่ายปฐมภูมิ คลินิกอบอุ่น ร้านยามาตรฐาน ไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข และ รพ.) | 30 แห่ง | กิจกรรมการเชื่อมโยง HIS โรงพยาบาล 11 แห่ง กับระบบ e-Prescription สปสช. 175 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | การรักษาและส่งตัวผู้ป่วยไร้รอยต่อ ด้วยการบูรณาการข้อมูล 175 |
14 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | ร้อยละของจำนวนคลินิกชุมชนอบอุ่นในเขตพื้นที่กทม. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบ e-Referral (การเชื่อมระบบการส่งตัวและข้อมูลผู้ป่วยจากเครือข่ายปฐมภูมิ คลินิกอบอุ่น ร้านยามาตรฐาน ไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข และ รพ.) | 40 ร้อยละ | กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์/ศูนย์บริการสาธารณสุข/คลินิกชุมชนอบอุ่นผ่านระบบ e-Referral 175 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | การรักษาและส่งตัวผู้ป่วยไร้รอยต่อ ด้วยการบูรณาการข้อมูล 175 |
15 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาที | 70 ร้อยละ | โครงการจัดหาอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ SAN / NAS 175 | สำนักการแพทย์ | 13.00 | การรักษาและส่งตัวผู้ป่วยไร้รอยต่อ ด้วยการบูรณาการข้อมูล 175 |
16 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที | 95 ร้อยละ | กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referral 175 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | การรักษาและส่งตัวผู้ป่วยไร้รอยต่อ ด้วยการบูรณาการข้อมูล 175 |
17 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | จำนวนศูนย์เทคโนสุขภาพดีที่มีบริการ telemedicine (เปิดครบทั้ง 7 Zone สุขภาพ โดยเพิ่มโซนละ 1 แห่ง และ สะสม รพ.ราชพิพัฒน์ 5 แห่ง) | 11 แห่ง | กิจกรรมการเปิดให้บริการศูนย์เทคโนสุขภาพดี 154 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | หมอถึงบ้าน ผ่าน Telemedicine 154 |
18 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงการรักษา พยาบาลที่เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ | ร้อยละของคลินิกในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 11 แห่ง สามารถให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วยด้วยระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) | 40 ร้อยละ | กิจกรรมการรักษาพยาบาลด้วยระบบโทรเวชกรรม(Telemedicine) 154 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | หมอถึงบ้าน ผ่าน Telemedicine 154 |
19 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.4 พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล | จำนวนโรงพยาบาลที่เปิดให้บริการ UMSC | 11 แห่ง | กิจกรรมการเปิดให้บริการ UMSC ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 224 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | ศูนย์สอบถามปัญหาสุขภาพ Call center 224 |
20 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.4 พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล | จำนวน Excellent center และ ศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง (คลินิกรักษ์หัวใจ และ IMC รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ) | 2 ศูนย์ | โครงการจัดตั้งคลินิกรักษ์หัวใจ
(โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ)
(**แทนศูนย์โรคไต โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ เนื่องจากรอตึกใหม่โดยเริ่มก่อสร้าง ปี 2567) 176 | สำนักการแพทย์ | 10.00 | เพิ่มจำนวน Excellent Center และยกระดับศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง 176 |
21 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.4 พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล | จำนวน Excellent center และ ศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง (คลินิกรักษ์หัวใจ และ IMC รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ) | 2 ศูนย์ | โครงการจัดตั้งศูนย์บริบาลผู้ป่วยระยะฟื้นฟู (Intermediate Care : IMC)
(โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ)
(งบประมาณทั้งสิ้น 12,403,203.- บาท)
(เงินนอกงบประมาณ) 176 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | เพิ่มจำนวน Excellent Center และยกระดับศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง 176 |
22 | 8. ด้านสังคมดี | 8.2 สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | ร้อยละของการออกบัตรคนพิการ ณ โรงพยาบาลภายในระยะเวลา 30 นาที | 70 ร้อยละ | กิจกรรมการให้บริการศูนย์บริการคนพิการแบบเบ็ดเสร็จในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 214 | สำนักการแพทย์ | 0.00 | บัตรคนพิการ จุดเดียวจบ ทุก รพ.สังกัด กทม. 214 |
6,546.00 |