ข้อมูลโครงการ :: โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ สำนักการแพทย์

รายละเอียดโครงการ

Showing 1-1 of 1 item.
สยป.1Fileชื่อโครงการ/กิจกรรมงบประมาณฯความคืบหน้าฯหน่วยงานที่รับผิดชอบส่วนราชการ/ฝ่าย
-โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ สำนักการแพทย์ 0.00100.00สำนักการแพทย์ -กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

KRs/KPI ที่เกี่ยวข้อง

Showing 1-1 of 1 item.
สยป.2ActionKEY_RESULTหน่วยนับค่าเป้าหมายผลการดำเนินงานความคืบหน้าของ KPI (%)
-องค์ประกอบที่ 2 : ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (Innovation Base)ระดับ100.00100.00100.00

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-9 of 9 items.
สยป.3วันที่รายงานผลการดำเนินงานPhotoREPORT_NOTEเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวข้องฯ
27-01-20240.00อยู่ระหว่างดำเนินการ
28-12-20230.00อยู่ระหว่างดำเนินการ
23-02-20240.00อยู่ระหว่างดำเนินการ
23-05-20240.00อยู่ระหว่างดำเนินการตามตัวชี้วัดโครงการ
29-06-20240.00อยู่ระหว่างดำเนินการตามตัวชี้วัดโครงการ
31-07-20240.00อยู่ระหว่างดำเนินการตามตัวชี้วัดโครงการ
27-04-20240.001. สำนักการแพทย์ ได้จัดทำโครงการ “ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC)” เป็นโครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสำนักการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยมีวัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อให้สามารถให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ การให้ ข้อมูลสุขภาพแก่ผู้รับบริการ ตลอดจนการประสานและให้คำแนะนำการเข้ารับบริการสุขภาพประเภทต่าง ๆ 1.2 เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ ได้โดยสะดวก รวดเร็ว ในรูปแบบ One Stop Service โดยสามารถขอรับบริการได้ทั้งช่องทางออฟไลน์ และออนไลน์ 1.3 เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานของเขตสุขภาพกรุงเทพมหานคร (Bangkok Health Zoning) 2. โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 11 แห่ง จัดหาสถานที่ตั้งศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) 3. เป้าหมาย พัฒนาศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) รูปแบบ Call Center ในการให้บริการทางด้านข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพและการจัดบริการทางการแพทย์ประกอบด้วย การให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ การให้ข้อมูล สุขภาพแก่ผู้รับบริการ ตลอดจนการประสานและให้คำแนะนำการเข้ารับบริการสุขภาพประเภทต่าง ๆ การจองพบแพทย์ออนไลน์ การให้บริการระบบการรักษาทางไกล (Telemedicine) การประสานการ ส่งต่อผู้ป่วย (E-Refer) การบริหารจัดการรถ-รับส่งสำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ศูนย์รับผู้ป่วยใน (Admission Center) การประสานการส่งยาถึงบ้าน การประสานการให้บริการเยี่ยมบ้าน และบริการอื่น ๆ เช่น การขอประวัติผู้ป่วย ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล ขอใบรับรองแพทย์ Claim ประกัน เป็นต้น 4. สำนักการแพทย์กำหนดภารกิจหน้าที่ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ดังนี้ 4.1 การให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ การให้ข้อมูลสุขภาพแก่ผู้รับบริการ ตลอดจนการประสานและให้คำแนะนำการเข้ารับบริการสุขภาพประเภทต่าง ๆ 4.2 การจองนัดพบแพทย์ออนไลน์ 4.3 การให้บริการระบบการรักษาทางไกล (Telemedicine) 4.4 การประสานการส่งต่อผู้ป่วย (E-Refer) 4.5 บริหารจัดการรถรับ-ส่งสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ 4.6 ศูนย์รับผู้ป่วยใน (Admission Center) 4.7 การประสานการส่งยาถึงบ้าน 4.8 การประสานการให้บริการเยี่ยมบ้าน 4.9 บริการอื่น ๆ เช่น การขอประวัติผู้ป่วย ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล ขอใบรับรองแพทย์ Claim ประกัน เป็นต้น 5. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (UMSC) เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2567 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ เพื่อให้โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งมีการดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 6. ประชาสัมพันธ์การให้บริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) 7. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ สำหรับผู้รับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) 8. ตัวชี้วัดความสำเร็จจำนวน 3 ตัวชี้วัด 8.1 ตัวชี้วัดที่ 1 (ผลผลิต) พัฒนาศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) จำนวน 1 ระบบ 8.2 ตัวชี้วัดที่ 2 (ผลลัพธ์) ร้อยละความ พึงพอใจของผู้มารับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ระดับมากขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 8.3 ตัวชี้วัดที่ 3 (ผลลัพธ์) ร้อยละการให้บริการผ่านศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ที่มีการตอบรับบริการภายในเวลา 30 นาที มากกว่าร้อยละ 80 โดยมีการนำนวัตกรรมไปใช้ภายในปีงบประมาณ ตั้งแต่ 1 เมษายน 25667
24-09-2024100.00โครงการ “ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC)” ประกอบด้วยตัวชี้วัดความสำเร็จจำนวน 3 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 นวัตกรรมที่พัฒนา คือ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) รายละเอียดการดำเนินงาน : สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) รูปแบบ Call Center ให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ การให้ข้อมูลสุขภาพ และบริการทางการแพทย์รูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้โดยสะดวก รวดเร็ว ในรูปแบบ One Stop Service สามารถขอรับบริการได้ทั้งช่องทางออฟไลน์ และออนไลน์ โดยให้บริการ ดังนี้ 1. การให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ การให้ข้อมูลสุขภาพแก่ผู้รับบริการ การประสานและให้คำแนะนำการเข้ารับบริการสุขภาพประเภทต่าง ๆ จำนวน 101,483 ครั้ง 2. การจองนัดพบแพทย์ออนไลน์ จำนวน 3,940 ครั้ง 3. การบริการระบบการรักษาทางไกล (Telemedicine) จำนวน 28,735 ครั้ง 4. การประสานการส่งต่อผู้ป่วย (E-Refer) จำนวน 12,078 ครั้ง 5. การบริหารจัดการรถรับ-ส่งสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ จำนวน 1,117 ครั้ง 6. ศูนย์รับผู้ป่วยใน (Admission Center) จำนวน 20,925 ครั้ง 7. การประสานการส่งยาถึงบ้าน จำนวน 2,597 ครั้ง 8. การประสานการให้บริการเยี่ยมบ้าน จำนวน 1,077 ครั้ง 9. บริการอื่น ๆ เช่น การขอประวัติผู้ป่วย ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล ขอใบรับรองแพทย์ Claim ประกัน เป็นต้น จำนวน 119,944 ครั้ง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มารับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ระดับมากขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รายละเอียดการดำเนินงาน : มีการสำรวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งผู้มารับบริการมีความพึงใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 97.08 ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการให้บริการผ่านศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ที่มีการตอบรับบริการภายในเวลา 30 นาที มากกว่าร้อยละ 80 รายละเอียดการดำเนินงาน : จำนวนผู้รับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง ผ่าน Line official ที่มีการตอบรับ หรือ รับเรื่องไว้ดำเนินการ หรือ ตอบคำถามภายในเวลา 30 นาที จำนวน 166,893 คน คิดเป็น ร้อยละ 98.71
25-08-20240.00โครงการ “ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC)” ประกอบด้วยตัวชี้วัดความสำเร็จจำนวน 3 ตัวชี้วัด 1. ตัวชี้วัดที่ 1 (ผลผลิต) พัฒนาศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) จำนวน 1 ระบบ ผลการดำเนินงาน 1 ระบบ (ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง) 2. ตัวชี้วัดที่ 2 (ผลลัพธ์) ร้อยละความ พึงพอใจของผู้มารับบริการศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ระดับมากขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 92.21 3. ตัวชี้วัดที่ 3 (ผลลัพธ์) ร้อยละการให้บริการผ่านศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service Center : UMSC) ที่มีการตอบรับบริการภายในเวลา 30 นาที มากกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 98.84 (ผลการดำเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. – 31 ก.ค.67)

ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

Showing 1-6 of 6 items.
ลำดับขั้นตอน/รายละเอียดงานร้อยละของงานเริ่มต้นวันที่สิ้นสุดวันที่
1กำหนดรูปแบบการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย และบุคลากร10.0001-10-202331-10-2023
2การจัดหาสถานที่ตั้ง10.0001-10-202330-11-2023
3การจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ10.0001-12-202331-12-2023
4การติดตั้งระบบงานศูนย์ UMSC50.0001-12-202331-12-2023
5การประเมินผลการดำเนินงาน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือน ก.พ.67 ครั้งที่ 2 มิ.ย.6710.0001-02-202430-06-2024
6การสรุปผลการดำเนินงาน10.0001-09-202430-09-2024

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-6 of 6 items.
ลำดับวันที่รายงานผลการดำเนินงาน
100.00
200.00
300.00
400.00
500.00
600.00