๕.๕ - พลเมืองกรุงเทพฯ ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ ๕.๕.๑ ประชาชนจะร่วมกันติดตาม ตรวจสอบ และผลักดันให้นำาวิสัยทัศน์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๗๕ ไปปฏิบ | |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนการกำหนดแนวทางการทำงานและหารือผู้บริหาร สยป. เรื่องการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเครือข่ายประชาคมระดับกลุ่มเขต
จัดทำหนังสือแจ้งแนวทางและปฏิทินการดำเนินการขับเคลื่อนเครือข่ายประชาสังคมกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต และเครือข่ายประชาคมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของสำนักงานเขต ให้ประธานกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตและสำนักงานเขตที่เกี่ยวข้อง (16 สำนักงานเขต) - (กลุ่มเขต) ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/539 ลว. 23 มี.ค. 2564 - (สำนักงานเขต) ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/540 ลว. 23 มี.ค. 2564
28/06/2564 : - ขณะนี้กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการได้รับแบบกำหนดโครงการ/กิจกรรมและขั้นตอนการปฏิบัติงานตามประเด็นสำคัญในการพัฒนาเชิงพื้นที่ของกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต (แบบ P1) แล้วจำนวน 5 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพใต้ กลุ่มกรุงเทพกลาง กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กลุ่มกรุงธนเหนือ และกลุ่มกรุงธนใต้ (และอยู่ระหว่างกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม) และยังไม่ได้รับแบบ P1 จำนวน 1 กลุ่มเขต ได้แก่ กลุ่มกรุงเทพเหนือ และได้มีหนังสือ ที่ กท 0502/0665 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2564 แจ้งผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สยป. "ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายประชาสังคมเพื่อร่วมผลักดันการพัฒนาพื้นที่" ให้กองยุทธศาสตร์ทราบเพื่อเป็นข้อมูลในการให้คำปรึกษาแนะนำกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตในความรับผิดชอบต่อไป - กลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตกลุ่มกรุงธนใต้ดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จ
กลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตทั้ง 6 กลุ่มเขต ดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมในการพัฒนาเชิงพื้นที่ของกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตแล้วเสร็จอย่างเป็นรูปธรรมทั้ง 6 กลุ่มเขต โดยมีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1. กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือ การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ โดยดำเนินกิจกรรมนำร่องท่องเที่ยวถิ่นทุ่งบางเขน One day trip @Bangkhen 2. กลุ่มเทพกลาง มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือ การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงทัศนียภาพในพื้นที่ ส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย-คูคลอง โดยดำเนินโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ พัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่กรุงเทพกลาง 3. กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือ 1) สิ่งแวดล้อมและพื้นที่สีเขียว 2) ภูมิทัศน์เมือง 3) สังคม คุณภาพชีวิตและสุขภาพ 4) ความร่วมมือ 5) เศรษฐกิจและนวัตกรรม 6) การขนส่งและการจราจร และ 7) ความปลอดภัย โดยดำเนินโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ในพื้นที่กรุงเทพใต้ 4. กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในการรักษาสภาพคูคลองในพื้นที่กรุงเทพตะวันออก โดยดำเนินโครงการสายด่วนรักษ์คูคลอง 5. กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยดำเนินกิจกรรมจัดตั้งกลุ่มไลน์เครือข่ายประชาสังคมท่องเที่ยวกรุงธนเหนือ 6. กลุ่มเขตกรุงธนใต้ มีประเด็นสำคัญในการพัฒนาคือ ลดการกัดเซาะของชายฝั่งทะเล รักษาระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพชายฝั่ง โดยดำเนินกิจกรรมกลุ่มกรุงธนใต้ ร่วมใจ ปลูกป่าชายเลน
๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
แผนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างกรุงเทพมหานครกับมหาวิทยาลัยศิลปากร (ระดับ 1)
สรุปผลการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมระหว่างกรุงเทพมหานครกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร และอยู่ระหว่างการจัดทำและรวบรวมฐานข้อมูลเชิงพื้นที่รองรับการวางแผนและพัฒนาพื้นที่ (ระดับ 2)
มีฐานข้อมูลเชิงพื้นที่เชิงพื้นที่ที่รองรับการวางแผนและพัฒนาพื้นที่ (ระดับ 3)
1.สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลพัฒนานวัตกรรม “ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการคลังข้อมูลเปิดของย่านรัตนโกสินทร์” (ระดับ 4) 2. ประชาชนสามารถเข้าถึง “ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการคลังข้อมูลเปิดของย่านรัตนโกสินทร์” ทางเว็บไซต์ http://cmc.bangkok.go.th/ratanakosin-open-data-platform/portal.html (ระดับ 5)
๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
อยู่ระหว่างประสานขอแต่งตั้งคณะทำงานกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบฯ
ประสานขอรายชื่อคณะทำงานจาก สงม. เพื่อดำเนินการยกร่างคำสั่งกรุงทพมหานคร แต่งตั้งคณะทำงานกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบฯ ต่อไป
ปรับแนวทางการดำเนินการตามกิจกรรม โดยได้จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณแบบมีส่วนร่วม เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการประชุมหารือกับ สงม. ต่อไป
จัดทำข้อมูลกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบ และแนวทางในการนำระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมมาใช้ในระบบงบประมาณกรุงเทพมหานคร โดยผ่านการพิจารณาร่วมกันระหว่าง สยป. และ สงม. เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน จำนวน 1 ฉบับ