ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50350000

Home Home SED

มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ

(1) ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :36.75

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.98

100 / 100
2
28.92

100 / 100
3
36.75

0 / 0
4
42.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนตุลาคม 2563 1.ชุมชนบ้านมั่นคงฟ้าใหม่(วันที่ 4 ต.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดเพลง (วันที่ 11 ต.ค. 2563) 3.ชุมชนมะพร้าวคู่ (วันที่ 18 ต.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดสิงห์ (วันที่ 25 ต.ค. 2563) ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 613.04 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 100 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 200 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 600 กก. - ถังดับเพลิง 280 กก. ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,280 กก. เดือน พฤศจิกายน 2563 1.ชุมชนอยู่ดีร่วมใจพัฒนา (วันที่ 1 พ.ย. 2563) 2.ชุมชนคลองสวนพริก(วันที่8 พ.ย.2563) 3.ชุมชนวัดภคินีนาถ(วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563) 4.ชุมชนร่วมพัฒนาจรัญฯ 65 (วันที่ 22 พฤศจิกายน 2563) 5. ชุมชนริมคลองบางพลัด(วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563) ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 542.08 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 50 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 370 กก. - ถังดับเพลิง 50 กก. ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 670 กก. เดือนธันวาคม 2563 1.ชุมชนดวงดี(วันที่ 6 ธ.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดทอง (วันที่ 13 ธ.ค. 2563) 3.ชุมชนชินศรี 91 (วันที่ 20 ธ.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดรวกบางบำหรุ (วันที่ 27 ธ.ค. 2563) ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 474.83 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 230 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 530 กก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนมกราคม 2654 วันที่ 3 มกราคม 2564 ชุมชนจรัญวิถี 74 วันที่ 10 มกราคม 2564 ชุมชนพัฒนาซอยจรัญ 79 วันที่ 17 มกราคม 2564 ชุมชนซอยรถไฟวรพงษ์ วันที่ 24 มกราคม 2564 ชุมชนบ้านญวน วันที่ 31 มกราคม 2564 ชุมชนเติมสุข ในเดือนมกราคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 432.56 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 500 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 170 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมกราคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,170 กก. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบางพลัด วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบวรมงคล วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนโค้งมะขาม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดวิมุตยาราม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 1,017.44 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 90 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 790 กก. เดือนมีนาคม 2564 วันที่ 7 มีนาคม 2564 ชุมชนสวนปรก วันที่ 14 มีนาคม 2564 ชุมชนสะพานไม้ วันที่ 21 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี วันที่ 28 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดภาณุรังสี ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 420 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 150 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 70 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 200 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 420 กก. และในไตรมาสนี้ได้ดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง เกิดจากสังคมบริโภคนิยม ผู้คนบริโภคอาหาร และทิ้งของเหลือใช้หรือบรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยไม่ได้คัดแยกไว้ใช้หรือนำไปรีไซเคิล ขาดระบบการจัดการมูลฝอยที่สอดคล้องกับการจัดการขยะแยกประเภท จึงไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภท ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัดได้มุ่งเน้นการคัดแยกมูลฝอยเพื่อลดปริมาณมูลฝอย โดยมีแนวคิดในการสื่อสารกับประชาชน สถานประกอบการที่มีมูลฝอยอินทรีย์แต่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่กลายเป็นขยะเพราะประชาชนยังไม่มีแนวทางในการจัดการมูลฝอยให้เกิดประโยชน์ และการนำขยะมาใช้ประโยชน์ โดยได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้และนำไปใช้ประโยชน์ เช่น กากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมัก และนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผักตามวิถีเกษตรเมือง ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมได้แก่ 1. ผู้ประกอบการร้านกาแฟ จัดเก็บกากกาแฟ จำนวน 12 ร้าน ได้แก่ ห้างฟูดแลนด์ ร้านอเมซอน (ถ.บรมฯ) ร้านกาแฟมวลชน ร้านกาแฟเมาท์ฟีล ร้านอเมซอน(ตลาดอินดี้) ร้านกาแฟพันธุ์ไทยไซลิพลัส ร้านกาแฟดอยคำ ร้านกาแฟเดอะเมล ร้านกาแฟสด ร้านอเมซอน(จรัญสนิทวงศ์ 44) ร้านอเมซอน(ห้างโลตัส) ร้านอเมซอน (ราชวิถี) 2. ผู้ประกอบการร้านผลไม้ จัดเก็บเปลือกผลไม้ จำนวน 4 ตลาด ได้แก่ ตลาดกรุงธน ตลาดวัดเปาโรหิตย์ ตลาดซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ตลาดซอยวัดบางยี่ขัน 3. ผู้ประกอบการร้านทำบะหมี่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 จัดเก็บเปลือกไข่ 4. ผู้ประกอบการร้านปลาเผาซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 จัดเก็บไส้ปลา 5. ผู้ประกอบการร้านน้ำเต้าหู้ จัดเก็บกากถั่วเหลือง จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ร้านน้ำเต้าหู้ซอย วัดเปาโรหิตย์และร้านน้ำเต้าหู้ในตลาดกรุงธน ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ได้ออกสำรวจและประสานงานกับผู้ประกอบการในพื้นที่ที่มีมูลฝอยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ติดต่อให้สถานประกอบการคัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและนัดรับเป็นประจำ สม่ำเสมอ 2. จัดรถฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เข้ารับมูลฝอยอินทรีย์จากสถานประกอบการ ส่งเข้า “ศูนย์เรียนรู้” ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด เพื่อใช้ในกิจกรรมการเกษตรในวิถีเมือง 3. นำมูลฝอยอินทรีย์ที่จัดเก็บมาทำน้ำจุลินทรีย์ต่าง ๆ ทำฮอร์โมนบำรุงพืชผัก 4. มอบหมายเจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ทำวีดีโอ สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์พร้อมทั้งทำแผ่นพับและมีคิวอาร์โคทให้สแกนเพื่อติดตาม นำเสนอผ่านช่องทางออนไลน์เช่น ไลน์ เฟชบุ๊ค ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เฟชบุ๊คสำนักงานเขตบางพลัด และในเพจเกษตรเมือง 5. จัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผัก โดยให้รถจัดเก็บขยะคัดแยกวัสดุที่สามารถรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ทำกระถาง หรือภาชนะสำหรับการปลูกผักโดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เช่น ตะกร้าพลาสติกผลไม้ แผงไข่ ท่อนไม้ และใช้ปุ๋ยที่ผลิตจากขยะอินทรีย์ที่เก็บมาจากผู้ประกอบการในพื้นที่เขตและกิ่งไม้ใบไม้ที่เกิดจากการตัดแต่ง 6. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เพื่อให้สถานประกอบการ ประชาชนหรือสถานศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน ส่งเสริมให้นำมูลฝอยที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอย่างยั่งยืน เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้แล้ว นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณร้านค้าที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ตามแผน”การบริหารจัดการมูลฝอยของประเทศ” เพื่อไม่เป็นขยะและเป็นประโยชน์ในการทำปุ๋ยโดยจะเป็นผักปลอดสารพิษไม่ใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี และจะมีการประชาสัมพันธ์ต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ในเดือนเมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ ได้แก่ เดือนเมษายน 2564 วันที่ 4 เมษายน 2564 (ชุมชนสงวนทรัพย์) วันที่ 11 เมษายน 2564 (ชุมชนวัดดาวดึงษาราม) วันที่ 18 เมษายน 2564(ชุมชนวัดคฤหบดี) วันที่ 25เมษายน2564(ชุมชนมัสยิดบางอ้อ(ยกเลิก)เนื่องจากสถานการณ์โควิด และในเดือนเมษายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 274.301 ตัน ,ขยะอันตรายคัดแยกได้ 1,580 ตัน และได้ดำเนินโครงการในช่วงการแพร่ระบาดโรคcovid-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพิ่มมากขึ้น โดยนำสิ่งเหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำปุ๋ยตามชนิดต่างๆ ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย และได้นำปุ๋ยเหล่านี้มาใส่แปลงผักในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" บริเวณเรือนเพาะชำข้างห้างสำโลตัสซึ่งจะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อเมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม เนื่องจากสถานการณ์โควิดยังไม่คลี่คลายจึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆได้ แต่ได้มีการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เอง ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 245.39 ตัน ในเดือนนี้ไม่มีปริมาณขยะอันตราย ซึ่งอยู่ในระหว่างการรวบรวม และได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จในช่วงโควิด-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อจัดเก็บให้มากขึ้น โดยนำไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผลิตเป็นปุ๋ยชนิดต่างๆ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการลดขยะตามหลัก 3r และการแยกประเภทขยะ รวมทั้งสีของถังขยะซึ่งเป็นสีสากลว่าแต่ละสีเป็นขยะอะไรบ้าง ซึ่งในโอกาสต่อไปจะมาแนะนำการหมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง ในเดือนนี้ได้ผลิตน้ำขยะหอมไว้สำหรับใช้ในพื้นที่เขตและแจกประชาชน โดยผลิตได้ 6.04 ตัน เนื่องจากมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 แพร่ระบาดจึงไม่ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตามชุมชนลดขยะตามหลักการ 3 R และคัดแยกขยะประเภทขยะก่อนทิ้งเพื่อไม่ให้ปะปนไปกับขยะทั่วไป ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการนำขยะไปทำลาย และในเดือนมิถุนายน 2564 จัดเก็บกากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมักและเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ทั้งหมด 274.301 ตัน และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการแปรรูปขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยต่างๆ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง และในเดือนนี้ได้ขอความร่วมมือชุมชนที่มีเจ้าหน้าที่ชักลากมูลฝอยประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนคัดแยกมูลฝอยประเภทขยะวน ถุงหุ้มสินค้าต่าง ๆ ฟิล์มหุ้มกล่องนม ถุงหุ้มผ้าอ้อมสำเร็จรูป ผ้าอนามัย ถุงสำลี ถุงน้ำเข็ง ถุงขนมปัง ซองไปรษณีย์ ถุงใส่ผักผลไม้ ต่าง ๆ ซองยา ถุงหูหิ้ว ถุงน้ำตาลทราย ซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม ซองน้ำยาซักผ้า ซองบะหมี่ ซึ่งขยะเหล่านี้เป็นขยะสะอาด หรือหากเปื้อนสิ่งสกปรกที่สามารถทำความสะอาดได้ด้วยน้ำเปล่า ให้ทำความสะอาดและตากให้แห้ง เก็บรวบรวมไว้และมาส่งที่สำนักงานเขตบางพลัดฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ชั้น 3 หรือหากมีปริมาณมาก แจ้งความประสงค์มาที่ฝ่ายรักษาฯ เพื่อให้ดำเนินการจัดเก็บยังชุมชนตามสถานที่และวันที่นัดหมาย และคัดแยกขยะอินทรีย์ หรือขยะพืชสดต่างๆ สามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยใส่ต้นไม้ได้ หากสนใจวิธีทำปุ๋ยประเภทต่างๆ สามารถศึกษาได้ที่ศูนย์เรียนรู้ “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง” ข้างห้างโลตัส สาขาจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564และในเดือนมีนาคม - กันยายน 2564 ได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้นตามคำนิยามและตัวชี้วัด สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนคัดแยะขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ โดยสำนักงานเขตบางพลัด นำขยะอินทรีย์เหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 7 สูตร ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวเป็นรูปแบบออนไลน์ผ่าน เฟชบุ๊ค โดยได้ดำเนินการสาธิตการผลิตปุ๋ย ยูเรียน้ำ โดยโพสต์วิธีการทำปุ๋ย และประชาชนสามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมปุ๋ยสูตรอื่นๆได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้นำปุ๋ยที่ผลิตได้เหล่านี้มาใส่แปลงผักในเรือนเพาะชำ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุบาลต้นไม้ เพาะชำต้นไม้ของสำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตบางพลัด ได้จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ชื่อว่า “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง”ซึ่งผักที่ได้จะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อ นำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและในช่วงสถานการณ์โควิด ยังได้มอบผักปลอดสารพิษจากศูนย์ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง"ช่วยเหลือและแบ่งปันให้เจ้าหน้าที่เขตบางพลัด รวมทั้งประชาชนที่เป็นผู้กักตัวในชุมชนเพื่อใช้ในการดำรงชีพในสภาวะยากลำบากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อcovid-19 และตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ดังนี้ ตุลาคม 2563 613.040 ตัน พฤศจิกายน 2563 542.08 ตัน ธันวาคม 2563 474.830 ตัน มกราคม 2564 432.56 ตัน กุมภาพันธ์ 2564 1,017.44 ตัน มีนาคม 2564 1,718.90 ตัน เมษายน 2564 274.301 ตัน พฤษภาคม 2564 245.39 ตัน มิถุนายน 2564 232.180 ตัน กรกฎาคม 2564 85.22 ตัน สิงหาคม 2564 231.510 ตัน กันยายน 2564 305.42 ตัน รวม 6,095.841 ตัน ปริมาณขยะอินทรีย์ 6,095.841(ณ สิ้นเดือน ก.ย.64) เป้าหมาย 4,341.86 ตัน/ปี เทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30 คิดเป็น ร้อยละที่ทำได้ 42.12 และสำนักงานเขตบางพลัดได้ดำเนินการตามตัวชี้วัด ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ ปี 2560 ดังนี้ 1. วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยโดยตั้งถังรองรับขยะมูลฝอยแยกขยะประเภทต่างๆ สำหรับบริการประชาชนและบุคลากร 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุดต่อ 1 ฝ่าย 3. ตั้งจุดรับขยะอันตรายและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้าไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษ ใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล 5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง”ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” แก่บุคลากรและผู้ติดต่อ 6. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยก มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 6.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการ จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ โดยประชาสัมพันธ์ตามชุมชนต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ 6.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้าฯ 6.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสองฯลฯ 6.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติกฯลฯ 7. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนชินศรี 91 8. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวด โครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนบ้านปูน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :36.75


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.98

100 / 100
2
28.92

100 / 100
3
36.75

0 / 0
4
42.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนตุลาคม 2563 1.ชุมชนบ้านมั่นคงฟ้าใหม่(วันที่ 4 ต.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดเพลง (วันที่ 11 ต.ค. 2563) 3.ชุมชนมะพร้าวคู่ (วันที่ 18 ต.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดสิงห์ (วันที่ 25 ต.ค. 2563) ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 613.04 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 100 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 200 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 600 กก. - ถังดับเพลิง 280 กก. ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,280 กก. เดือน พฤศจิกายน 2563 1.ชุมชนอยู่ดีร่วมใจพัฒนา (วันที่ 1 พ.ย. 2563) 2.ชุมชนคลองสวนพริก(วันที่8 พ.ย.2563) 3.ชุมชนวัดภคินีนาถ(วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563) 4.ชุมชนร่วมพัฒนาจรัญฯ 65 (วันที่ 22 พฤศจิกายน 2563) 5. ชุมชนริมคลองบางพลัด(วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563) ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 542.08 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 50 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 370 กก. - ถังดับเพลิง 50 กก. ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 670 กก. เดือนธันวาคม 2563 1.ชุมชนดวงดี(วันที่ 6 ธ.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดทอง (วันที่ 13 ธ.ค. 2563) 3.ชุมชนชินศรี 91 (วันที่ 20 ธ.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดรวกบางบำหรุ (วันที่ 27 ธ.ค. 2563) ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 474.83 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 230 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 530 กก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนมกราคม 2654 วันที่ 3 มกราคม 2564 ชุมชนจรัญวิถี 74 วันที่ 10 มกราคม 2564 ชุมชนพัฒนาซอยจรัญ 79 วันที่ 17 มกราคม 2564 ชุมชนซอยรถไฟวรพงษ์ วันที่ 24 มกราคม 2564 ชุมชนบ้านญวน วันที่ 31 มกราคม 2564 ชุมชนเติมสุข ในเดือนมกราคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 432.56 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 500 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 170 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมกราคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,170 กก. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบางพลัด วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบวรมงคล วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนโค้งมะขาม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดวิมุตยาราม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 1,017.44 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 90 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 790 กก. เดือนมีนาคม 2564 วันที่ 7 มีนาคม 2564 ชุมชนสวนปรก วันที่ 14 มีนาคม 2564 ชุมชนสะพานไม้ วันที่ 21 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี วันที่ 28 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดภาณุรังสี ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 420 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 150 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 70 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 200 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 420 กก. และในไตรมาสนี้ได้ดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง เกิดจากสังคมบริโภคนิยม ผู้คนบริโภคอาหาร และทิ้งของเหลือใช้หรือบรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยไม่ได้คัดแยกไว้ใช้หรือนำไปรีไซเคิล ขาดระบบการจัดการมูลฝอยที่สอดคล้องกับการจัดการขยะแยกประเภท จึงไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภท ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัดได้มุ่งเน้นการคัดแยกมูลฝอยเพื่อลดปริมาณมูลฝอย โดยมีแนวคิดในการสื่อสารกับประชาชน สถานประกอบการที่มีมูลฝอยอินทรีย์แต่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่กลายเป็นขยะเพราะประชาชนยังไม่มีแนวทางในการจัดการมูลฝอยให้เกิดประโยชน์ และการนำขยะมาใช้ประโยชน์ โดยได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้และนำไปใช้ประโยชน์ เช่น กากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมัก และนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผักตามวิถีเกษตรเมือง ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมได้แก่ 1. ผู้ประกอบการร้านกาแฟ จัดเก็บกากกาแฟ จำนวน 12 ร้าน ได้แก่ ห้างฟูดแลนด์ ร้านอเมซอน (ถ.บรมฯ) ร้านกาแฟมวลชน ร้านกาแฟเมาท์ฟีล ร้านอเมซอน(ตลาดอินดี้) ร้านกาแฟพันธุ์ไทยไซลิพลัส ร้านกาแฟดอยคำ ร้านกาแฟเดอะเมล ร้านกาแฟสด ร้านอเมซอน(จรัญสนิทวงศ์ 44) ร้านอเมซอน(ห้างโลตัส) ร้านอเมซอน (ราชวิถี) 2. ผู้ประกอบการร้านผลไม้ จัดเก็บเปลือกผลไม้ จำนวน 4 ตลาด ได้แก่ ตลาดกรุงธน ตลาดวัดเปาโรหิตย์ ตลาดซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ตลาดซอยวัดบางยี่ขัน 3. ผู้ประกอบการร้านทำบะหมี่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 จัดเก็บเปลือกไข่ 4. ผู้ประกอบการร้านปลาเผาซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 จัดเก็บไส้ปลา 5. ผู้ประกอบการร้านน้ำเต้าหู้ จัดเก็บกากถั่วเหลือง จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ร้านน้ำเต้าหู้ซอย วัดเปาโรหิตย์และร้านน้ำเต้าหู้ในตลาดกรุงธน ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ได้ออกสำรวจและประสานงานกับผู้ประกอบการในพื้นที่ที่มีมูลฝอยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ติดต่อให้สถานประกอบการคัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและนัดรับเป็นประจำ สม่ำเสมอ 2. จัดรถฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เข้ารับมูลฝอยอินทรีย์จากสถานประกอบการ ส่งเข้า “ศูนย์เรียนรู้” ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด เพื่อใช้ในกิจกรรมการเกษตรในวิถีเมือง 3. นำมูลฝอยอินทรีย์ที่จัดเก็บมาทำน้ำจุลินทรีย์ต่าง ๆ ทำฮอร์โมนบำรุงพืชผัก 4. มอบหมายเจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ทำวีดีโอ สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์พร้อมทั้งทำแผ่นพับและมีคิวอาร์โคทให้สแกนเพื่อติดตาม นำเสนอผ่านช่องทางออนไลน์เช่น ไลน์ เฟชบุ๊ค ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เฟชบุ๊คสำนักงานเขตบางพลัด และในเพจเกษตรเมือง 5. จัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผัก โดยให้รถจัดเก็บขยะคัดแยกวัสดุที่สามารถรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ทำกระถาง หรือภาชนะสำหรับการปลูกผักโดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เช่น ตะกร้าพลาสติกผลไม้ แผงไข่ ท่อนไม้ และใช้ปุ๋ยที่ผลิตจากขยะอินทรีย์ที่เก็บมาจากผู้ประกอบการในพื้นที่เขตและกิ่งไม้ใบไม้ที่เกิดจากการตัดแต่ง 6. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เพื่อให้สถานประกอบการ ประชาชนหรือสถานศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน ส่งเสริมให้นำมูลฝอยที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอย่างยั่งยืน เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้แล้ว นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณร้านค้าที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ตามแผน”การบริหารจัดการมูลฝอยของประเทศ” เพื่อไม่เป็นขยะและเป็นประโยชน์ในการทำปุ๋ยโดยจะเป็นผักปลอดสารพิษไม่ใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี และจะมีการประชาสัมพันธ์ต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ในเดือนเมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ ได้แก่ เดือนเมษายน 2564 วันที่ 4 เมษายน 2564 (ชุมชนสงวนทรัพย์) วันที่ 11 เมษายน 2564 (ชุมชนวัดดาวดึงษาราม) วันที่ 18 เมษายน 2564(ชุมชนวัดคฤหบดี) วันที่ 25เมษายน2564(ชุมชนมัสยิดบางอ้อ(ยกเลิก)เนื่องจากสถานการณ์โควิด และในเดือนเมษายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 274.301 ตัน ,ขยะอันตรายคัดแยกได้ 1,580 ตัน และได้ดำเนินโครงการในช่วงการแพร่ระบาดโรคcovid-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพิ่มมากขึ้น โดยนำสิ่งเหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำปุ๋ยตามชนิดต่างๆ ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย และได้นำปุ๋ยเหล่านี้มาใส่แปลงผักในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" บริเวณเรือนเพาะชำข้างห้างสำโลตัสซึ่งจะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อเมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม เนื่องจากสถานการณ์โควิดยังไม่คลี่คลายจึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆได้ แต่ได้มีการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เอง ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 245.39 ตัน ในเดือนนี้ไม่มีปริมาณขยะอันตราย ซึ่งอยู่ในระหว่างการรวบรวม และได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จในช่วงโควิด-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อจัดเก็บให้มากขึ้น โดยนำไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผลิตเป็นปุ๋ยชนิดต่างๆ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการลดขยะตามหลัก 3r และการแยกประเภทขยะ รวมทั้งสีของถังขยะซึ่งเป็นสีสากลว่าแต่ละสีเป็นขยะอะไรบ้าง ซึ่งในโอกาสต่อไปจะมาแนะนำการหมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง ในเดือนนี้ได้ผลิตน้ำขยะหอมไว้สำหรับใช้ในพื้นที่เขตและแจกประชาชน โดยผลิตได้ 6.04 ตัน เนื่องจากมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 แพร่ระบาดจึงไม่ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตามชุมชนลดขยะตามหลักการ 3 R และคัดแยกขยะประเภทขยะก่อนทิ้งเพื่อไม่ให้ปะปนไปกับขยะทั่วไป ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการนำขยะไปทำลาย และในเดือนมิถุนายน 2564 จัดเก็บกากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมักและเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ทั้งหมด 274.301 ตัน และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการแปรรูปขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยต่างๆ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง และในเดือนนี้ได้ขอความร่วมมือชุมชนที่มีเจ้าหน้าที่ชักลากมูลฝอยประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนคัดแยกมูลฝอยประเภทขยะวน ถุงหุ้มสินค้าต่าง ๆ ฟิล์มหุ้มกล่องนม ถุงหุ้มผ้าอ้อมสำเร็จรูป ผ้าอนามัย ถุงสำลี ถุงน้ำเข็ง ถุงขนมปัง ซองไปรษณีย์ ถุงใส่ผักผลไม้ ต่าง ๆ ซองยา ถุงหูหิ้ว ถุงน้ำตาลทราย ซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม ซองน้ำยาซักผ้า ซองบะหมี่ ซึ่งขยะเหล่านี้เป็นขยะสะอาด หรือหากเปื้อนสิ่งสกปรกที่สามารถทำความสะอาดได้ด้วยน้ำเปล่า ให้ทำความสะอาดและตากให้แห้ง เก็บรวบรวมไว้และมาส่งที่สำนักงานเขตบางพลัดฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ชั้น 3 หรือหากมีปริมาณมาก แจ้งความประสงค์มาที่ฝ่ายรักษาฯ เพื่อให้ดำเนินการจัดเก็บยังชุมชนตามสถานที่และวันที่นัดหมาย และคัดแยกขยะอินทรีย์ หรือขยะพืชสดต่างๆ สามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยใส่ต้นไม้ได้ หากสนใจวิธีทำปุ๋ยประเภทต่างๆ สามารถศึกษาได้ที่ศูนย์เรียนรู้ “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง” ข้างห้างโลตัส สาขาจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564และในเดือนมีนาคม - กันยายน 2564 ได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้นตามคำนิยามและตัวชี้วัด สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนคัดแยะขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ โดยสำนักงานเขตบางพลัด นำขยะอินทรีย์เหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 7 สูตร ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวเป็นรูปแบบออนไลน์ผ่าน เฟชบุ๊ค โดยได้ดำเนินการสาธิตการผลิตปุ๋ย ยูเรียน้ำ โดยโพสต์วิธีการทำปุ๋ย และประชาชนสามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมปุ๋ยสูตรอื่นๆได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้นำปุ๋ยที่ผลิตได้เหล่านี้มาใส่แปลงผักในเรือนเพาะชำ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุบาลต้นไม้ เพาะชำต้นไม้ของสำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตบางพลัด ได้จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ชื่อว่า “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง”ซึ่งผักที่ได้จะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อ นำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและในช่วงสถานการณ์โควิด ยังได้มอบผักปลอดสารพิษจากศูนย์ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง"ช่วยเหลือและแบ่งปันให้เจ้าหน้าที่เขตบางพลัด รวมทั้งประชาชนที่เป็นผู้กักตัวในชุมชนเพื่อใช้ในการดำรงชีพในสภาวะยากลำบากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อcovid-19 และตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ดังนี้ ตุลาคม 2563 613.040 ตัน พฤศจิกายน 2563 542.08 ตัน ธันวาคม 2563 474.830 ตัน มกราคม 2564 432.56 ตัน กุมภาพันธ์ 2564 1,017.44 ตัน มีนาคม 2564 1,718.90 ตัน เมษายน 2564 274.301 ตัน พฤษภาคม 2564 245.39 ตัน มิถุนายน 2564 232.180 ตัน กรกฎาคม 2564 85.22 ตัน สิงหาคม 2564 231.510 ตัน กันยายน 2564 305.42 ตัน รวม 6,095.841 ตัน ปริมาณขยะอินทรีย์ 6,095.841(ณ สิ้นเดือน ก.ย.64) เป้าหมาย 4,341.86 ตัน/ปี เทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30 คิดเป็น ร้อยละที่ทำได้ 42.12 และสำนักงานเขตบางพลัดได้ดำเนินการตามตัวชี้วัด ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ ปี 2560 ดังนี้ 1. วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยโดยตั้งถังรองรับขยะมูลฝอยแยกขยะประเภทต่างๆ สำหรับบริการประชาชนและบุคลากร 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุดต่อ 1 ฝ่าย 3. ตั้งจุดรับขยะอันตรายและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้าไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษ ใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล 5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง”ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” แก่บุคลากรและผู้ติดต่อ 6. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยก มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 6.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการ จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ โดยประชาสัมพันธ์ตามชุมชนต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ 6.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้าฯ 6.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสองฯลฯ 6.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติกฯลฯ 7. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนชินศรี 91 8. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวด โครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนบ้านปูน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :36.75


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.98

100 / 100
2
28.92

100 / 100
3
36.75

0 / 0
4
42.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนตุลาคม 2563 1.ชุมชนบ้านมั่นคงฟ้าใหม่(วันที่ 4 ต.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดเพลง (วันที่ 11 ต.ค. 2563) 3.ชุมชนมะพร้าวคู่ (วันที่ 18 ต.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดสิงห์ (วันที่ 25 ต.ค. 2563) ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 613.04 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 100 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 200 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 600 กก. - ถังดับเพลิง 280 กก. ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,280 กก. เดือน พฤศจิกายน 2563 1.ชุมชนอยู่ดีร่วมใจพัฒนา (วันที่ 1 พ.ย. 2563) 2.ชุมชนคลองสวนพริก(วันที่8 พ.ย.2563) 3.ชุมชนวัดภคินีนาถ(วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563) 4.ชุมชนร่วมพัฒนาจรัญฯ 65 (วันที่ 22 พฤศจิกายน 2563) 5. ชุมชนริมคลองบางพลัด(วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563) ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 542.08 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 50 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 370 กก. - ถังดับเพลิง 50 กก. ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 670 กก. เดือนธันวาคม 2563 1.ชุมชนดวงดี(วันที่ 6 ธ.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดทอง (วันที่ 13 ธ.ค. 2563) 3.ชุมชนชินศรี 91 (วันที่ 20 ธ.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดรวกบางบำหรุ (วันที่ 27 ธ.ค. 2563) ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 474.83 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 230 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 530 กก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนมกราคม 2654 วันที่ 3 มกราคม 2564 ชุมชนจรัญวิถี 74 วันที่ 10 มกราคม 2564 ชุมชนพัฒนาซอยจรัญ 79 วันที่ 17 มกราคม 2564 ชุมชนซอยรถไฟวรพงษ์ วันที่ 24 มกราคม 2564 ชุมชนบ้านญวน วันที่ 31 มกราคม 2564 ชุมชนเติมสุข ในเดือนมกราคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 432.56 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 500 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 170 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมกราคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,170 กก. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบางพลัด วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบวรมงคล วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนโค้งมะขาม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดวิมุตยาราม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 1,017.44 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 90 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 790 กก. เดือนมีนาคม 2564 วันที่ 7 มีนาคม 2564 ชุมชนสวนปรก วันที่ 14 มีนาคม 2564 ชุมชนสะพานไม้ วันที่ 21 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี วันที่ 28 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดภาณุรังสี ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 420 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 150 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 70 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 200 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 420 กก. และในไตรมาสนี้ได้ดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง เกิดจากสังคมบริโภคนิยม ผู้คนบริโภคอาหาร และทิ้งของเหลือใช้หรือบรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยไม่ได้คัดแยกไว้ใช้หรือนำไปรีไซเคิล ขาดระบบการจัดการมูลฝอยที่สอดคล้องกับการจัดการขยะแยกประเภท จึงไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภท ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัดได้มุ่งเน้นการคัดแยกมูลฝอยเพื่อลดปริมาณมูลฝอย โดยมีแนวคิดในการสื่อสารกับประชาชน สถานประกอบการที่มีมูลฝอยอินทรีย์แต่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่กลายเป็นขยะเพราะประชาชนยังไม่มีแนวทางในการจัดการมูลฝอยให้เกิดประโยชน์ และการนำขยะมาใช้ประโยชน์ โดยได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้และนำไปใช้ประโยชน์ เช่น กากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมัก และนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผักตามวิถีเกษตรเมือง ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมได้แก่ 1. ผู้ประกอบการร้านกาแฟ จัดเก็บกากกาแฟ จำนวน 12 ร้าน ได้แก่ ห้างฟูดแลนด์ ร้านอเมซอน (ถ.บรมฯ) ร้านกาแฟมวลชน ร้านกาแฟเมาท์ฟีล ร้านอเมซอน(ตลาดอินดี้) ร้านกาแฟพันธุ์ไทยไซลิพลัส ร้านกาแฟดอยคำ ร้านกาแฟเดอะเมล ร้านกาแฟสด ร้านอเมซอน(จรัญสนิทวงศ์ 44) ร้านอเมซอน(ห้างโลตัส) ร้านอเมซอน (ราชวิถี) 2. ผู้ประกอบการร้านผลไม้ จัดเก็บเปลือกผลไม้ จำนวน 4 ตลาด ได้แก่ ตลาดกรุงธน ตลาดวัดเปาโรหิตย์ ตลาดซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ตลาดซอยวัดบางยี่ขัน 3. ผู้ประกอบการร้านทำบะหมี่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 จัดเก็บเปลือกไข่ 4. ผู้ประกอบการร้านปลาเผาซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 จัดเก็บไส้ปลา 5. ผู้ประกอบการร้านน้ำเต้าหู้ จัดเก็บกากถั่วเหลือง จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ร้านน้ำเต้าหู้ซอย วัดเปาโรหิตย์และร้านน้ำเต้าหู้ในตลาดกรุงธน ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ได้ออกสำรวจและประสานงานกับผู้ประกอบการในพื้นที่ที่มีมูลฝอยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ติดต่อให้สถานประกอบการคัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและนัดรับเป็นประจำ สม่ำเสมอ 2. จัดรถฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เข้ารับมูลฝอยอินทรีย์จากสถานประกอบการ ส่งเข้า “ศูนย์เรียนรู้” ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด เพื่อใช้ในกิจกรรมการเกษตรในวิถีเมือง 3. นำมูลฝอยอินทรีย์ที่จัดเก็บมาทำน้ำจุลินทรีย์ต่าง ๆ ทำฮอร์โมนบำรุงพืชผัก 4. มอบหมายเจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ทำวีดีโอ สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์พร้อมทั้งทำแผ่นพับและมีคิวอาร์โคทให้สแกนเพื่อติดตาม นำเสนอผ่านช่องทางออนไลน์เช่น ไลน์ เฟชบุ๊ค ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เฟชบุ๊คสำนักงานเขตบางพลัด และในเพจเกษตรเมือง 5. จัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผัก โดยให้รถจัดเก็บขยะคัดแยกวัสดุที่สามารถรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ทำกระถาง หรือภาชนะสำหรับการปลูกผักโดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เช่น ตะกร้าพลาสติกผลไม้ แผงไข่ ท่อนไม้ และใช้ปุ๋ยที่ผลิตจากขยะอินทรีย์ที่เก็บมาจากผู้ประกอบการในพื้นที่เขตและกิ่งไม้ใบไม้ที่เกิดจากการตัดแต่ง 6. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เพื่อให้สถานประกอบการ ประชาชนหรือสถานศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน ส่งเสริมให้นำมูลฝอยที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอย่างยั่งยืน เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้แล้ว นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณร้านค้าที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ตามแผน”การบริหารจัดการมูลฝอยของประเทศ” เพื่อไม่เป็นขยะและเป็นประโยชน์ในการทำปุ๋ยโดยจะเป็นผักปลอดสารพิษไม่ใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี และจะมีการประชาสัมพันธ์ต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ในเดือนเมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ ได้แก่ เดือนเมษายน 2564 วันที่ 4 เมษายน 2564 (ชุมชนสงวนทรัพย์) วันที่ 11 เมษายน 2564 (ชุมชนวัดดาวดึงษาราม) วันที่ 18 เมษายน 2564(ชุมชนวัดคฤหบดี) วันที่ 25เมษายน2564(ชุมชนมัสยิดบางอ้อ(ยกเลิก)เนื่องจากสถานการณ์โควิด และในเดือนเมษายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 274.301 ตัน ,ขยะอันตรายคัดแยกได้ 1,580 ตัน และได้ดำเนินโครงการในช่วงการแพร่ระบาดโรคcovid-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพิ่มมากขึ้น โดยนำสิ่งเหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำปุ๋ยตามชนิดต่างๆ ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย และได้นำปุ๋ยเหล่านี้มาใส่แปลงผักในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" บริเวณเรือนเพาะชำข้างห้างสำโลตัสซึ่งจะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อเมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม เนื่องจากสถานการณ์โควิดยังไม่คลี่คลายจึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆได้ แต่ได้มีการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เอง ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 245.39 ตัน ในเดือนนี้ไม่มีปริมาณขยะอันตราย ซึ่งอยู่ในระหว่างการรวบรวม และได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จในช่วงโควิด-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อจัดเก็บให้มากขึ้น โดยนำไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผลิตเป็นปุ๋ยชนิดต่างๆ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการลดขยะตามหลัก 3r และการแยกประเภทขยะ รวมทั้งสีของถังขยะซึ่งเป็นสีสากลว่าแต่ละสีเป็นขยะอะไรบ้าง ซึ่งในโอกาสต่อไปจะมาแนะนำการหมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง ในเดือนนี้ได้ผลิตน้ำขยะหอมไว้สำหรับใช้ในพื้นที่เขตและแจกประชาชน โดยผลิตได้ 6.04 ตัน เนื่องจากมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 แพร่ระบาดจึงไม่ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตามชุมชนลดขยะตามหลักการ 3 R และคัดแยกขยะประเภทขยะก่อนทิ้งเพื่อไม่ให้ปะปนไปกับขยะทั่วไป ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการนำขยะไปทำลาย และในเดือนมิถุนายน 2564 จัดเก็บกากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมักและเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ทั้งหมด 274.301 ตัน และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการแปรรูปขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยต่างๆ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง และในเดือนนี้ได้ขอความร่วมมือชุมชนที่มีเจ้าหน้าที่ชักลากมูลฝอยประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนคัดแยกมูลฝอยประเภทขยะวน ถุงหุ้มสินค้าต่าง ๆ ฟิล์มหุ้มกล่องนม ถุงหุ้มผ้าอ้อมสำเร็จรูป ผ้าอนามัย ถุงสำลี ถุงน้ำเข็ง ถุงขนมปัง ซองไปรษณีย์ ถุงใส่ผักผลไม้ ต่าง ๆ ซองยา ถุงหูหิ้ว ถุงน้ำตาลทราย ซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม ซองน้ำยาซักผ้า ซองบะหมี่ ซึ่งขยะเหล่านี้เป็นขยะสะอาด หรือหากเปื้อนสิ่งสกปรกที่สามารถทำความสะอาดได้ด้วยน้ำเปล่า ให้ทำความสะอาดและตากให้แห้ง เก็บรวบรวมไว้และมาส่งที่สำนักงานเขตบางพลัดฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ชั้น 3 หรือหากมีปริมาณมาก แจ้งความประสงค์มาที่ฝ่ายรักษาฯ เพื่อให้ดำเนินการจัดเก็บยังชุมชนตามสถานที่และวันที่นัดหมาย และคัดแยกขยะอินทรีย์ หรือขยะพืชสดต่างๆ สามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยใส่ต้นไม้ได้ หากสนใจวิธีทำปุ๋ยประเภทต่างๆ สามารถศึกษาได้ที่ศูนย์เรียนรู้ “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง” ข้างห้างโลตัส สาขาจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564และในเดือนมีนาคม - กันยายน 2564 ได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้นตามคำนิยามและตัวชี้วัด สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนคัดแยะขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ โดยสำนักงานเขตบางพลัด นำขยะอินทรีย์เหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 7 สูตร ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวเป็นรูปแบบออนไลน์ผ่าน เฟชบุ๊ค โดยได้ดำเนินการสาธิตการผลิตปุ๋ย ยูเรียน้ำ โดยโพสต์วิธีการทำปุ๋ย และประชาชนสามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมปุ๋ยสูตรอื่นๆได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้นำปุ๋ยที่ผลิตได้เหล่านี้มาใส่แปลงผักในเรือนเพาะชำ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุบาลต้นไม้ เพาะชำต้นไม้ของสำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตบางพลัด ได้จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ชื่อว่า “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง”ซึ่งผักที่ได้จะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อ นำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและในช่วงสถานการณ์โควิด ยังได้มอบผักปลอดสารพิษจากศูนย์ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง"ช่วยเหลือและแบ่งปันให้เจ้าหน้าที่เขตบางพลัด รวมทั้งประชาชนที่เป็นผู้กักตัวในชุมชนเพื่อใช้ในการดำรงชีพในสภาวะยากลำบากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อcovid-19 และตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ดังนี้ ตุลาคม 2563 613.040 ตัน พฤศจิกายน 2563 542.08 ตัน ธันวาคม 2563 474.830 ตัน มกราคม 2564 432.56 ตัน กุมภาพันธ์ 2564 1,017.44 ตัน มีนาคม 2564 1,718.90 ตัน เมษายน 2564 274.301 ตัน พฤษภาคม 2564 245.39 ตัน มิถุนายน 2564 232.180 ตัน กรกฎาคม 2564 85.22 ตัน สิงหาคม 2564 231.510 ตัน กันยายน 2564 305.42 ตัน รวม 6,095.841 ตัน ปริมาณขยะอินทรีย์ 6,095.841(ณ สิ้นเดือน ก.ย.64) เป้าหมาย 4,341.86 ตัน/ปี เทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30 คิดเป็น ร้อยละที่ทำได้ 42.12 และสำนักงานเขตบางพลัดได้ดำเนินการตามตัวชี้วัด ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ ปี 2560 ดังนี้ 1. วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยโดยตั้งถังรองรับขยะมูลฝอยแยกขยะประเภทต่างๆ สำหรับบริการประชาชนและบุคลากร 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุดต่อ 1 ฝ่าย 3. ตั้งจุดรับขยะอันตรายและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้าไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษ ใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล 5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง”ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” แก่บุคลากรและผู้ติดต่อ 6. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยก มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 6.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการ จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ โดยประชาสัมพันธ์ตามชุมชนต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ 6.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้าฯ 6.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสองฯลฯ 6.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติกฯลฯ 7. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนชินศรี 91 8. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวด โครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนบ้านปูน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๔. ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :36.75


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.98

100 / 100
2
28.92

100 / 100
3
36.75

0 / 0
4
42.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนตุลาคม 2563 1.ชุมชนบ้านมั่นคงฟ้าใหม่(วันที่ 4 ต.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดเพลง (วันที่ 11 ต.ค. 2563) 3.ชุมชนมะพร้าวคู่ (วันที่ 18 ต.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดสิงห์ (วันที่ 25 ต.ค. 2563) ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 613.04 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 100 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 200 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 600 กก. - ถังดับเพลิง 280 กก. ในเดือนตุลาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,280 กก. เดือน พฤศจิกายน 2563 1.ชุมชนอยู่ดีร่วมใจพัฒนา (วันที่ 1 พ.ย. 2563) 2.ชุมชนคลองสวนพริก(วันที่8 พ.ย.2563) 3.ชุมชนวัดภคินีนาถ(วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563) 4.ชุมชนร่วมพัฒนาจรัญฯ 65 (วันที่ 22 พฤศจิกายน 2563) 5. ชุมชนริมคลองบางพลัด(วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563) ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 542.08 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 100 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ 50 กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 370 กก. - ถังดับเพลิง 50 กก. ในเดือนพฤศจิกายน 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 670 กก. เดือนธันวาคม 2563 1.ชุมชนดวงดี(วันที่ 6 ธ.ค. 2563) 2.ชุมชนวัดทอง (วันที่ 13 ธ.ค. 2563) 3.ชุมชนชินศรี 91 (วันที่ 20 ธ.ค. 2563) 4. ชุมชนวัดรวกบางบำหรุ (วันที่ 27 ธ.ค. 2563) ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 474.83 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 100 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 230 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนธันวาคม 2563 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 530 กก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ได้แก่การลดการใช้ เช่น การใช้ปิ่นโต แทนโฟม ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนทิชชู ใช้แล้วใช้ซ้ำ เช่น เสื้อผ้า รังไข่สามารถนำมาปลูกต้นไม้ได้ และการนำเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ ขยะพลาสติก ขวดแก้ว กระดาษ โลหะ เป็นต้น และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ เดือนมกราคม 2654 วันที่ 3 มกราคม 2564 ชุมชนจรัญวิถี 74 วันที่ 10 มกราคม 2564 ชุมชนพัฒนาซอยจรัญ 79 วันที่ 17 มกราคม 2564 ชุมชนซอยรถไฟวรพงษ์ วันที่ 24 มกราคม 2564 ชุมชนบ้านญวน วันที่ 31 มกราคม 2564 ชุมชนเติมสุข ในเดือนมกราคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 432.56 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 500 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 170 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมกราคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 1,170 กก. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบางพลัด วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดบวรมงคล วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนโค้งมะขาม วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ชุมชนวัดวิมุตยาราม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 1,017.44 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 200 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 90 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 500 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 790 กก. เดือนมีนาคม 2564 วันที่ 7 มีนาคม 2564 ชุมชนสวนปรก วันที่ 14 มีนาคม 2564 ชุมชนสะพานไม้ วันที่ 21 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี วันที่ 28 มีนาคม 2564 ชุมชนวัดภาณุรังสี ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 420 ตัน ปริมาณขยะอันตรายที่จัดเก็บได้ ดังนี้ - หลอดไฟ 150 กก. - ถ่านไฟฉาย/แบตตารี่ - กก. - ภาชนะบรรจุสารเคมี 70 กก. - ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 200 กก. - อื่นๆ - กก. ในเดือนมีนาคม 2564 สามารถจัดเก็บมูลฝอยอันตรายได้ 420 กก. และในไตรมาสนี้ได้ดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง เกิดจากสังคมบริโภคนิยม ผู้คนบริโภคอาหาร และทิ้งของเหลือใช้หรือบรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยไม่ได้คัดแยกไว้ใช้หรือนำไปรีไซเคิล ขาดระบบการจัดการมูลฝอยที่สอดคล้องกับการจัดการขยะแยกประเภท จึงไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภท ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัดได้มุ่งเน้นการคัดแยกมูลฝอยเพื่อลดปริมาณมูลฝอย โดยมีแนวคิดในการสื่อสารกับประชาชน สถานประกอบการที่มีมูลฝอยอินทรีย์แต่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่กลายเป็นขยะเพราะประชาชนยังไม่มีแนวทางในการจัดการมูลฝอยให้เกิดประโยชน์ และการนำขยะมาใช้ประโยชน์ โดยได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้และนำไปใช้ประโยชน์ เช่น กากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมัก และนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผักตามวิถีเกษตรเมือง ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมได้แก่ 1. ผู้ประกอบการร้านกาแฟ จัดเก็บกากกาแฟ จำนวน 12 ร้าน ได้แก่ ห้างฟูดแลนด์ ร้านอเมซอน (ถ.บรมฯ) ร้านกาแฟมวลชน ร้านกาแฟเมาท์ฟีล ร้านอเมซอน(ตลาดอินดี้) ร้านกาแฟพันธุ์ไทยไซลิพลัส ร้านกาแฟดอยคำ ร้านกาแฟเดอะเมล ร้านกาแฟสด ร้านอเมซอน(จรัญสนิทวงศ์ 44) ร้านอเมซอน(ห้างโลตัส) ร้านอเมซอน (ราชวิถี) 2. ผู้ประกอบการร้านผลไม้ จัดเก็บเปลือกผลไม้ จำนวน 4 ตลาด ได้แก่ ตลาดกรุงธน ตลาดวัดเปาโรหิตย์ ตลาดซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ตลาดซอยวัดบางยี่ขัน 3. ผู้ประกอบการร้านทำบะหมี่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 จัดเก็บเปลือกไข่ 4. ผู้ประกอบการร้านปลาเผาซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 จัดเก็บไส้ปลา 5. ผู้ประกอบการร้านน้ำเต้าหู้ จัดเก็บกากถั่วเหลือง จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ร้านน้ำเต้าหู้ซอย วัดเปาโรหิตย์และร้านน้ำเต้าหู้ในตลาดกรุงธน ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ได้ออกสำรวจและประสานงานกับผู้ประกอบการในพื้นที่ที่มีมูลฝอยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ติดต่อให้สถานประกอบการคัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและนัดรับเป็นประจำ สม่ำเสมอ 2. จัดรถฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เข้ารับมูลฝอยอินทรีย์จากสถานประกอบการ ส่งเข้า “ศูนย์เรียนรู้” ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด เพื่อใช้ในกิจกรรมการเกษตรในวิถีเมือง 3. นำมูลฝอยอินทรีย์ที่จัดเก็บมาทำน้ำจุลินทรีย์ต่าง ๆ ทำฮอร์โมนบำรุงพืชผัก 4. มอบหมายเจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาด ทำวีดีโอ สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์พร้อมทั้งทำแผ่นพับและมีคิวอาร์โคทให้สแกนเพื่อติดตาม นำเสนอผ่านช่องทางออนไลน์เช่น ไลน์ เฟชบุ๊ค ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เฟชบุ๊คสำนักงานเขตบางพลัด และในเพจเกษตรเมือง 5. จัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผัก โดยให้รถจัดเก็บขยะคัดแยกวัสดุที่สามารถรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ทำกระถาง หรือภาชนะสำหรับการปลูกผักโดยไม่ต้องใช้งบประมาณ เช่น ตะกร้าพลาสติกผลไม้ แผงไข่ ท่อนไม้ และใช้ปุ๋ยที่ผลิตจากขยะอินทรีย์ที่เก็บมาจากผู้ประกอบการในพื้นที่เขตและกิ่งไม้ใบไม้ที่เกิดจากการตัดแต่ง 6. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เพื่อให้สถานประกอบการ ประชาชนหรือสถานศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน ส่งเสริมให้นำมูลฝอยที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อเป็นการลดปริมาณมูลฝอยอย่างยั่งยืน เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้แล้ว นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณร้านค้าที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ตามแผน”การบริหารจัดการมูลฝอยของประเทศ” เพื่อไม่เป็นขยะและเป็นประโยชน์ในการทำปุ๋ยโดยจะเป็นผักปลอดสารพิษไม่ใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี และจะมีการประชาสัมพันธ์ต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ในเดือนเมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการจัดเก็บในวันต่อไปนี้ ได้แก่ เดือนเมษายน 2564 วันที่ 4 เมษายน 2564 (ชุมชนสงวนทรัพย์) วันที่ 11 เมษายน 2564 (ชุมชนวัดดาวดึงษาราม) วันที่ 18 เมษายน 2564(ชุมชนวัดคฤหบดี) วันที่ 25เมษายน2564(ชุมชนมัสยิดบางอ้อ(ยกเลิก)เนื่องจากสถานการณ์โควิด และในเดือนเมษายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 274.301 ตัน ,ขยะอันตรายคัดแยกได้ 1,580 ตัน และได้ดำเนินโครงการในช่วงการแพร่ระบาดโรคcovid-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพิ่มมากขึ้น โดยนำสิ่งเหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำมาทำปุ๋ยตามชนิดต่างๆ ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย และได้นำปุ๋ยเหล่านี้มาใส่แปลงผักในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" บริเวณเรือนเพาะชำข้างห้างสำโลตัสซึ่งจะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อเมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม เนื่องจากสถานการณ์โควิดยังไม่คลี่คลายจึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆได้ แต่ได้มีการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เอง ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์วิธีการลดและคัดแยกขยะ การแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองใน Application facebook ในเดือนพฤษภาคม 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ 245.39 ตัน ในเดือนนี้ไม่มีปริมาณขยะอันตราย ซึ่งอยู่ในระหว่างการรวบรวม และได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จในช่วงโควิด-19 สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อจัดเก็บให้มากขึ้น โดยนำไปหมักทำปุ๋ย เป็นการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ ผลิตเป็นปุ๋ยชนิดต่างๆ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการลดขยะตามหลัก 3r และการแยกประเภทขยะ รวมทั้งสีของถังขยะซึ่งเป็นสีสากลว่าแต่ละสีเป็นขยะอะไรบ้าง ซึ่งในโอกาสต่อไปจะมาแนะนำการหมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง ในเดือนนี้ได้ผลิตน้ำขยะหอมไว้สำหรับใช้ในพื้นที่เขตและแจกประชาชน โดยผลิตได้ 6.04 ตัน เนื่องจากมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 แพร่ระบาดจึงไม่ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตามชุมชนลดขยะตามหลักการ 3 R และคัดแยกขยะประเภทขยะก่อนทิ้งเพื่อไม่ให้ปะปนไปกับขยะทั่วไป ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการนำขยะไปทำลาย และในเดือนมิถุนายน 2564 จัดเก็บกากถั่วเหลือง ไส้ปลา เปลือกผลไม้เปลือกไข่และกากกาแฟจากตลาดในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตเป็นปุ๋ยหมักและเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ โดยนำมาเป็นปุ๋ยในการปลูกผัก ซึ่งดำเนินการในศูนย์การเรียนรู้ " การเกษตรจากอินทรีย์ วิถีคนเมือง" สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ ได้ทั้งหมด 274.301 ตัน และได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์ ได้แก่ facebook โดยได้แนะนำการแปรรูปขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยต่างๆ ว่ามีวิธีการอย่างไร ใช้วัสดุอะไรบ้าง และในเดือนนี้ได้ขอความร่วมมือชุมชนที่มีเจ้าหน้าที่ชักลากมูลฝอยประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนคัดแยกมูลฝอยประเภทขยะวน ถุงหุ้มสินค้าต่าง ๆ ฟิล์มหุ้มกล่องนม ถุงหุ้มผ้าอ้อมสำเร็จรูป ผ้าอนามัย ถุงสำลี ถุงน้ำเข็ง ถุงขนมปัง ซองไปรษณีย์ ถุงใส่ผักผลไม้ ต่าง ๆ ซองยา ถุงหูหิ้ว ถุงน้ำตาลทราย ซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม ซองน้ำยาซักผ้า ซองบะหมี่ ซึ่งขยะเหล่านี้เป็นขยะสะอาด หรือหากเปื้อนสิ่งสกปรกที่สามารถทำความสะอาดได้ด้วยน้ำเปล่า ให้ทำความสะอาดและตากให้แห้ง เก็บรวบรวมไว้และมาส่งที่สำนักงานเขตบางพลัดฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ชั้น 3 หรือหากมีปริมาณมาก แจ้งความประสงค์มาที่ฝ่ายรักษาฯ เพื่อให้ดำเนินการจัดเก็บยังชุมชนตามสถานที่และวันที่นัดหมาย และคัดแยกขยะอินทรีย์ หรือขยะพืชสดต่างๆ สามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยใส่ต้นไม้ได้ หากสนใจวิธีทำปุ๋ยประเภทต่างๆ สามารถศึกษาได้ที่ศูนย์เรียนรู้ “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง” ข้างห้างโลตัส สาขาจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเกษตรของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขตบางพลัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิดจึงยังไม่สามารถเข้าไปสาธิตวิธีการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ในชุมชนได้จึงดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะโดยการแจกประกาศ ตามชุมชนคัดแยกขยะตามหลัก 3 R และประชาสัมพันธ์นัดวันเวลาเพื่อเข้าจัดเก็บวัสดุ สิ่งของเหลือใช้ เช่น ที่นอนเก่า เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ที่ชำรุด ฯ และขยะอันตราย โดยได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564และในเดือนมีนาคม - กันยายน 2564 ได้ดำเนินการเพื่อโครงการประสบความสำเร็จมากขึ้นตามคำนิยามและตัวชี้วัด สำนักงานเขตได้ติดต่อประสานกับผู้ประกอบการที่มีขยะอินทรีย์ เช่น กากกาแฟ เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ ไส้ปลา กากถั่วเหลือง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนคัดแยะขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ โดยสำนักงานเขตบางพลัด นำขยะอินทรีย์เหล่านั้นไปหมักทำปุ๋ย ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 7 สูตร ดังนี้ 1.น้ำหมักจากเปลือกผลไม้รสเปรี้ยว 2.ปุ๋ยหมักกากกาแฟ 3.น้ำหมักชีวภาพสูตรเพิ่มไนโตรเจน 4.สูตรปุ๋ยยูเรียน้ำ 5.หัวเชื้อ EM เพื่อต่อยอดน้ำหมัก 6.ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษปลา 7.ปุ๋ยน้ำสูตรยูเรีย ซึ่งได้ประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวเป็นรูปแบบออนไลน์ผ่าน เฟชบุ๊ค โดยได้ดำเนินการสาธิตการผลิตปุ๋ย ยูเรียน้ำ โดยโพสต์วิธีการทำปุ๋ย และประชาชนสามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมปุ๋ยสูตรอื่นๆได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง" และได้นำปุ๋ยที่ผลิตได้เหล่านี้มาใส่แปลงผักในเรือนเพาะชำ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุบาลต้นไม้ เพาะชำต้นไม้ของสำนักงานเขตบางพลัด และสำนักงานเขตบางพลัด ได้จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ชื่อว่า “การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง”ซึ่งผักที่ได้จะเป็นผักปลอดสารพิษ เมื่อผักเติบโตถึงเวลาที่เก็บเกี่ยวได้ นำผักใส่ตะกร้าและปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ ไปขอบคุณผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมือคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์ เพื่อให้ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ นำมาทำประโยชน์ และเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ และจะมีการส่งเสริมต่อไปให้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบการนอกจากสนับสนุนขยะอินทรีย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อ นำมาใช้ประโยชน์มากขึ้นโดยประชาชนสามารถทำได้เองและในช่วงสถานการณ์โควิด ยังได้มอบผักปลอดสารพิษจากศูนย์ "การเกษตรอินทรีย์ วิถีคนเมือง"ช่วยเหลือและแบ่งปันให้เจ้าหน้าที่เขตบางพลัด รวมทั้งประชาชนที่เป็นผู้กักตัวในชุมชนเพื่อใช้ในการดำรงชีพในสภาวะยากลำบากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อcovid-19 และตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 สามารถคัดแยกขยะอินทรีย์ได้ดังนี้ ตุลาคม 2563 613.040 ตัน พฤศจิกายน 2563 542.08 ตัน ธันวาคม 2563 474.830 ตัน มกราคม 2564 432.56 ตัน กุมภาพันธ์ 2564 1,017.44 ตัน มีนาคม 2564 1,718.90 ตัน เมษายน 2564 274.301 ตัน พฤษภาคม 2564 245.39 ตัน มิถุนายน 2564 232.180 ตัน กรกฎาคม 2564 85.22 ตัน สิงหาคม 2564 231.510 ตัน กันยายน 2564 305.42 ตัน รวม 6,095.841 ตัน ปริมาณขยะอินทรีย์ 6,095.841(ณ สิ้นเดือน ก.ย.64) เป้าหมาย 4,341.86 ตัน/ปี เทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30 คิดเป็น ร้อยละที่ทำได้ 42.12 และสำนักงานเขตบางพลัดได้ดำเนินการตามตัวชี้วัด ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ ปี 2560 ดังนี้ 1. วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยโดยตั้งถังรองรับขยะมูลฝอยแยกขยะประเภทต่างๆ สำหรับบริการประชาชนและบุคลากร 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุดต่อ 1 ฝ่าย 3. ตั้งจุดรับขยะอันตรายและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้าไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษ ใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล 5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง”ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” แก่บุคลากรและผู้ติดต่อ 6. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยก มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 6.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการ จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ โดยประชาสัมพันธ์ตามชุมชนต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ 6.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้าฯ 6.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสองฯลฯ 6.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติกฯลฯ 7. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนชินศรี 91 8. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวด โครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง ได้แก่ชุมชนบ้านปูน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
4.00

100 / 50
3
5.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแผนงานเสนอโครงการให้ผอ.เขตลงนาม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันและคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป/วาดรูปปรับภูมิทัศน์เรียบทางเดินคลองบางพระครู

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(6) ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
4.00

100 / 50
3
5.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแผนงานเสนอโครงการให้ผอ.เขตลงนาม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันและคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป/วาดรูปปรับภูมิทัศน์เรียบทางเดินคลองบางพระครู

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(7) ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
4.00

100 / 50
3
5.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแผนงานเสนอโครงการให้ผอ.เขตลงนาม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันและคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป/วาดรูปปรับภูมิทัศน์เรียบทางเดินคลองบางพระครู

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(8) ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 2 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ปี 2564 ๕. ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
4.00

100 / 50
3
5.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลงพื้นที่สำรวจและจัดทำแผนงานเสนอโครงการให้ผอ.เขตลงนาม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร่วมพัฒนาโครงการจิตอาสาคลองบางยี่ขันและคลองบางพระครูตักขยะ/จัดเก็บวัชพืช/ทาสีราวกันตก/ตกแต่งกิ่งไม้และเทน้ำชีวภาพรักษาสภาพน้ำในคลองดำเนินการแล้วเสร็จรักษาวงรอบต่อไป/วาดรูปปรับภูมิทัศน์เรียบทางเดินคลองบางพระครู

** สรุปผลการดำเนินงาน **