๑.๑ - ปลอดมลพิษ ๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :33.22 |
เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาคม 2563 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 130,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 1,250 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 447,500 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 765,050 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 3,420.636 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 4,764.436 ตัน คิดเป็นร้อยละ (4,764.436/18,651.10)*30 = 7.66
เดือนมกราคม 2564 - เดือนมีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 160,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 3,580 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 614,780 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 523,350 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 3,568.78 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 4,870.49 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49)/18,651.10)*30 = 15.50
เดือนเมษายน 2564 - เดือนมิถุนายน 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 185,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 15,500 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 637,620 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 487,200 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 4,144.217 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 5,469.54 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49+5,469.54)/18,651.10)*30 = 24.30
เดือนกรกฏาคม 2564 - เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 117,055 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 346,900 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 428,180 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 283,000 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 4,375.43 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 5,550.57 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49+5,469.54+5,550.57)/18,651.10)*30 = 33.22
๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :33.22 |
เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาคม 2563 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 130,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 1,250 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 447,500 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 765,050 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 3,420.636 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 4,764.436 ตัน คิดเป็นร้อยละ (4,764.436/18,651.10)*30 = 7.66
เดือนมกราคม 2564 - เดือนมีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 160,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 3,580 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 614,780 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 523,350 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 3,568.78 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 4,870.49 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49)/18,651.10)*30 = 15.50
เดือนเมษายน 2564 - เดือนมิถุนายน 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 185,000 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 15,500 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 637,620 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 487,200 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 4,144.217 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 5,469.54 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49+5,469.54)/18,651.10)*30 = 24.30
เดือนกรกฏาคม 2564 - เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการดังนี้ - คัดแยกกิ่งไม้ ใบไม้ ที่ตัดแต่งจากสวนสาธารณะ สวนหย่อม ต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้ใหญ่อยู่ริมถนนในหมู่บ้าน เพื่อนำมาหมักกับเศษอาหารในพื้นที่เขตได้ปริมาณใบไม้/กิ่งไม้ 117,055 กิโลกรัม ลำต้นทำเชื้อเพลิง 346,900 กิโลกรัม - นำขยะเศษอาหาร ผักสด ผลไม้มาแปรรูปเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมักใบไม้แห้ง และเลี้ยงไส้เดือน จำนวน 428,180 กิโลกรัม และนำเศษอาหารเลี้ยงสัตว์ จำนวน 283,000 กิโลกรัม - การจัดการมูลฝอยแยกประเภทเพื่อใช้ประโยชน์ (รีไซเคิล เศษวัสดุ เศษไม้) จำนวน 4,375.43 ตัน เป้าหมาย 18,651.10 ตัน/ปี ผลงานที่ทำได้เท่ากับ 5,550.57 ตัน คิดเป็นร้อยละ ((4,764.436+4,870.49+5,469.54+5,550.57)/18,651.10)*30 = 33.22
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน ตุลาคม 2563- ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ร้านอาหาร 63 แห่ง ตลาด 7 แห่ง โรงเรียน 12 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน มกราคม 2564- มีนาคม 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 57 แห่ง ตลาด 7 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต 5 แห่ง มินิมาร์ท 74 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน เมษายน 2564 - มิถุนายน 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 20 แห่ง ตลาด 7 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน กรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 22 แห่ง ตลาด 7 แห่ง สรุปผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวนสถานประกอบการอาหาร เขตหลักสี่ จำนวน 272 ราย 1. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 240 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ปิดกิจการชั่วคราว 32 ราย) 2. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก จำนวน 66 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.265 3. สถานประกอบการอาหาร ปิดชั่วคราว 32 ราย หมายเหตุ สถานประกอบการบางส่วนปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า-2019
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :24.27 |
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน ตุลาคม 2563- ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ร้านอาหาร 63 แห่ง ตลาด 7 แห่ง โรงเรียน 12 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน มกราคม 2564- มีนาคม 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 57 แห่ง ตลาด 7 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต 5 แห่ง มินิมาร์ท 74 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน เมษายน 2564 - มิถุนายน 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 20 แห่ง ตลาด 7 แห่ง
ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานโครงการฯ ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามแผนปฏิบัติงานโครงการ และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้นเชื้อโรคและสารเคมี พร้อมประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารต่อผู้ค้าและประชาชนทั่วไป ประจำเดือน กรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564 ประกอบด้วย ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร 22 แห่ง ตลาด 7 แห่ง สรุปผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวนสถานประกอบการอาหาร เขตหลักสี่ จำนวน 272 ราย 1. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 240 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ปิดกิจการชั่วคราว 32 ราย) 2. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก จำนวน 66 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.265 3. สถานประกอบการอาหาร ปิดชั่วคราว 32 ราย หมายเหตุ สถานประกอบการบางส่วนปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า-2019
๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
จัดทำแผน -รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง เช่น ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน -ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชน ในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง -สำรวจและติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน -ปรับปรุงพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ และจุดเช็คอิน Check in อย่างน้อย 1 จุดต่อคลอง
1. สำรวจสะพานข้ามคลองเปรมประชากร เพื่อเตรียมซ่อมแซม และปรับปรุงให้แข็งแรง 2. กิจกรรมจิตอาสา พัฒนาคลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว พัฒนาความสะอาด เก็บขยะและวัชพืช รณรงค์ให้ประชาชน ร่วมกันทำความสะอาด คัดแยกขยะก่อนทิ้ง ไม่ทิ้งขยะสิ่งปฏิกูล หรือไขมันลงคลอง และรื้อถอนบ้านร้างรุกล้ำคลองเปรมประชากร 3. ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคลองเปรมประชากร มีน้ำสะอาดสดใส ขยะลดลง และโครงการก่อสร้างเขื่อนคลองเปรมประชากร ช่วงที่ 4 เขตหลักสี่ 4.ดำเนินการเก็บขยะชิ้นใหญ่ชุมชนริมคลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว เพื่อลดปัญหาประชาชนลักลอบนำขยะไปทิ้งในที่ว่าง และสามารถนำขยะมารีไซเคิลเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ได้ 5. สำรวจร้านค้าริมคลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว พร้อมแนะนำให้ติดตั้งถังดักไขมันบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงคลอง 6. ดำเนินการสำรวจข้อมูล หลักหมุดหมายคลองเปรมประชากร ณ จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อศึกษาข้อมูลและรูปแบบหลักหมุดหมายคลองเปรมประชากรที่ยังคงเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นข้อมูลประกอบการจัดสร้างหลักหมุดจำลองในพื้นที่เขตหลักสี่ และเพื่อเป็นสัญลักษณ์ทางประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น รวมถึงสร้างจุดท่องเที่ยวชุมชนเชิงประวัติศาสตร์ 7. ดำเนินการจัดกิจกรรมทอดผ้าป่ารีไซเคิลสายน้ำ ขยะสร้างบุญ เส้นทางคลองเปรมประชากร และคลองลาดพร้าว เพื่ออนุรักษ์สืบสานประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย พร้อมสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนสองฝั่งคลองได้ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของสายน้ำ ร่วมกันคัดแยกขยะและบริจาคขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กระป๋องน้ำอัดลม กระป๋องน้ำผลไม้ และกล่องเครื่องดื่ม อีกทั้งนำรายได้จากขยะรีไซเคิลไปสมทบกองทุนผ้าป่าเนื่องในวันมาฆบูชา
1. ดำเนินการกิจกรรมจิตอาสา และจิตอาสาจากหน่วยทหารพระราชทาน กรมทหารมหาดเล็ก 904 พล.ม.2 รอ. ร่วมกันเก็บขยะในคลองเปรมประชากร พร้อมรณรงค์ให้ประชาชนสองฝั่งคลองร่วมกันรักษาความสะอาด ไม่ทิ้งขยะลงคลอง เพื่อความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย สภาพแวดล้อมดี และปลอดภัยจากโรคระบาด 2. ดำเนินการกิจกรรมจิตอาสา "เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ" พัฒนาคลองเปรมประชากร โดยฉีดพ่นน้ำจุลินทรีย์ปรับสภาพคุณภาพน้ำ เก็บขยะในคลอง พร้อมรณรงค์ให้ประชาชนสองฝั่งคลองร่วมกันรักษาความสะอาด ไม่ทิ้งขยะ-ไขมันลงคลอง เพื่อความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย สภาพแวดล้อมดี และปลอดภัยจากโรคระบาด 3. ดำเนินการให้บริการรับซื้อน้ำมันพืชเก่าใช้แล้วจากชุมชน และสถานประกอบการ ในราคากิโลกรัมละ 12 บาท เพื่อให้ประชาชนลดการทิ้งน้ำมันใช้แล้วผ่านท่อสาธารณะและลำคลอง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อให้คุณภาพน้ำในคลองสายต่างๆ ในพื้นที่เขตหลักสี่ เช่น คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว 4. ดำเนินการตรวจความเป็นระเบียบเรียบร้อยตลอดแนวคลองลาดพร้าว และคลองเปรมประชากร ดูแลความปลอดภัยของประชาชนสองฝั่งคลอง ขอความร่วมมือไม่ทิ้งขยะลงคลอง และตรวจตราไม่ให้สิ่งปลูกสร้างรุกล้ำ กีดขวางการระบายน้ำ 5. ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาทำความสะอาดคลองลาดพร้าว โดยปรับปรุงทาสีสะพานข้ามคลอง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่พักอาศัยริมคลองลาดพร้าวให้ดียิ่งขึ้น 6. ดำเนินการรื้อถอนอาคารรุกล้ำแนวเขื่อนคลองลาดพร้าว ภายในชุมชนบางบัวเชิงสะพานไม้ 1 เพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัย พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนริมคลอง และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำของกรุงเทพมหานครในกรณีเกิดฝนตกหนัก 7. ติดตั้งดวงไฟฟ้าส่องสว่างระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ริมคลองลาดพร้าว บริเวณชุมชนบางบัวร่วมใจพัฒนา (เชิงสะพานไม้ 2) ได้จำนวน 20 ดวง 8. ติดตั้งดวงไฟฟ้าส่องสว่างระบบพลังงานแสงอาทิตย์ บริเวณชุมชนศิษย์หลวงปู่ขาว คลองเปรมประชากร ได้จำนวน 2 ดวง 9. ซ่อมแซมดวงไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะ ริมคลองเปรมประชากร ได้จำนวน 7 ดวง 10. สำรวจพื้นที่จุดที่จะดำเนินการติดตั้งป้ายบอกทางไปยังจุดเช็คอิน บริเวณคลองลาดพร้าว และคลองเปรมประชากร และอยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อจัดทำจุด Check in คลองเปรมประชากร บริเวณหลังวัดหลักสี่
1. ดำเนินการปรับปรุงจุด Check in คลองเปรมประชากร บริเวณบริเวณหลังวัดหลักสี่ และคลองลาดพร้าว บริเวณชุมชนสะพานไม้ 2 แล้วเสร็จ 2. ดำเนินการกิจกรรมจิตอาสา "เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ" พัฒนาคลองเปรมประชากร โดยฉีดพ่นน้ำจุลินทรีย์ปรับสภาพคุณภาพน้ำ เก็บขยะในคลอง พร้อมรณรงค์ให้ประชาชนสองฝั่งคลองร่วมกันรักษาความสะอาด ไม่ทิ้งขยะ-ไขมันลงคลอง เพื่อความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย สภาพแวดล้อมดี และปลอดภัยจากโรคระบาด สรุปผลการดำเนิน ดังนี้ 1. จัดทำแผนการพัฒนาพื้นที่คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว 2. บริหารจัดการขยะริมคลอง โดยการณรค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่ชุมชนริมคลอง - ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ (การเดินรณรงค์, ติดป้ายประชาสัมพันธ์, การกระจายเสียง, เว็บไซต์) จำนวน 40 ครั้ง - ให้ความรู้กับประชาชนริมคลองเรื่องการคัดแยกขยะ จำนวน 12 ครั้ง - ให้ความรู้บประชาชนริมคลองเรื่องการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมัน จำนวน 12 ครั้ง - จัดเก็บขยะริมคลอง ตั้งเเต่เดือนธันวาคม 2563 - กันยายน 2564 จำนวน 2,331.45 ตัน/ปี หรือ 6.39 ตัน/วัน 3. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน - ติดตั้งดวงไฟฟ้าส่องสว่างระบบพลังงานแสงอาทิตย์ บริเวณชุมชนศิษย์หลวงปู่ขาว คลองเปรมประชากร ได้จำนวน 2 ดวง พร้อมซ่อมแซมดวงไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะ ริมคลองเปรมประชากร ได้จำนวน 7 ดวง - ติดตั้งดวงไฟฟ้าส่องสว่างระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ริมคลองลาดพร้าว บริเวณชุมชนบางบัวร่วมใจพัฒนา (เชิงสะพานไม้ 2) ได้จำนวน 20 ดวง 4. ดูแลสิ่งปลูกสร้างตลอดแนวคลองให้อยู่สภาพที่ดี พร้อมใช้งาน - สิ่งปลูกสร้างสาธารณประโยชน์ เช่นราวกันตก มีสภาพที่ดีขึ้น พร้อมใช้งาน 5. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อนจุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check-in อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง - คลองเปรมประชากร บริเวณบริเวณหลังวัดหลักสี่ - คลองลาดพร้าว บริเวณชุมชนสะพานไม้