ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 08000000

Home Home SED

มิติที่ 4 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ

(1) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)
[มิติที่ 4 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
5.00

0 / 0
4
10.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เวียนแจ้ง/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการในหน่วยงานร่วมเสนอความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบัติงานฯ (แบบฟอร์มที่ 1) จำนวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด โดยส่วนราชการที่เสนอความคิดเห็นนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 24 นวัตกรรม โดยเตรียมการจัดประชุมในวันที่ 4 มกราคม 2564 เพื่อพิจารณาคัดเลือกนวัตกรรม จำนวน 3 นวัตกรรม จากทั้งหมด 24 นวัตกรรม เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหาร ในการประชุมคณะผู้บริหารสำนักอนามัย เพื่อคัดเลือก 1 นวัตกรรม เพื่อดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 4

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นำเสนอโครงการนวัตกรรม Happy mapping ต่อคณะกรรมการนวัตกรรมของกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการฯ เสนอแนะให้ข้อแก้ไขและปรับปรุงตัวชี้วัดโครงการให้สอดคล้องการประเมินผล 2. ดำเนินการประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง (ผู้คิดค้นนวัตกรรม) ปรับปรุงแก้ไขโครงการนวัตกรรม Happy mapping โดยปรับแก้ไขรายละเอียดตัวชี้วัดโครงการ ดังนี้ ตัวชี้วัดโครงการ ประกอบด้วย - มีระบบการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจาก Google Mapping จำนวน 1 ระบบ (นวัตกรรม Happy Mapping) - มีการนำนวัตกรรม Happy Mapping ไปใช้ประโยชน์ในการทำงานระหว่างเดือน มีนาคม-สิงหาคม 2564 - ร้อยละ 90 ของผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม Happy Mapping - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังได้รับบริการสุขภาพผ่านการใช้นวัตกรรม Happy Mapping วิธีการประเมินผลตัวชี้วัดโครงการ - ประเมินเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน - ประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม - ประเมินจากทะเบียนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนเป้าหมายทั้งหมดเปรียบเทียบกับจำนวนผู้สูงอายุและ ผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้บริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม คำนวณจาก : จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้รับบริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม Happy Mapping x 100 / จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังทั้งหมดในชุมชน 3. นำโครงการนวัตกรรมฯ ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้อำนวยการสำนักอนามัยลงนาม และประสานนำส่งโครงการ ไปยังสำนักงาน ก.ก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ 4 โดยดำเนินการ ปักหมุดพื้นที่บ้านผู้ป่วย พร้อมใส่ข้อมูลรายละเอียดการเยี่ยมบ้าน แล้วเสร็จประมาณ ร้อยละ 95 ของจำนวนผู้ป่วยที่ต้องออกเยี่ยมบ้านทั้งหมดในชุมชนสีน้ำเงิน 1 และออกแบบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการนวัตกรรม Happy mapping และเตรียมการสำหรับ การสำรวจเพื่อสอบถามความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามขั้นตอนที่สำนักงาน ก.ก.กำหนด ดังนี้ 1. การค้นหาและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาหรือความต้องการที่จะพัฒนางาน 2. การคัดเลือกความคิดเห็น 1 ความคิดเห็น และส่งข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 ให้สำนักงาน ก.ก. 3. การนำเสนอโครงการนวัตกรรม โดยพัฒนาจากความคิดเห็นที่ได้รับการคัดเลือก จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์ม 3 และ 4 4. การพัฒนานวัตกรรมตามโครงการที่เสนอ 5. การจัดทำแบบสำรวจผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 6. รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(2) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)
[มิติที่ 4 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
5.00

0 / 0
4
10.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เวียนแจ้ง/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการในหน่วยงานร่วมเสนอความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบัติงานฯ (แบบฟอร์มที่ 1) จำนวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด โดยส่วนราชการที่เสนอความคิดเห็นนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 24 นวัตกรรม โดยเตรียมการจัดประชุมในวันที่ 4 มกราคม 2564 เพื่อพิจารณาคัดเลือกนวัตกรรม จำนวน 3 นวัตกรรม จากทั้งหมด 24 นวัตกรรม เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหาร ในการประชุมคณะผู้บริหารสำนักอนามัย เพื่อคัดเลือก 1 นวัตกรรม เพื่อดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 4

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นำเสนอโครงการนวัตกรรม Happy mapping ต่อคณะกรรมการนวัตกรรมของกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการฯ เสนอแนะให้ข้อแก้ไขและปรับปรุงตัวชี้วัดโครงการให้สอดคล้องการประเมินผล 2. ดำเนินการประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง (ผู้คิดค้นนวัตกรรม) ปรับปรุงแก้ไขโครงการนวัตกรรม Happy mapping โดยปรับแก้ไขรายละเอียดตัวชี้วัดโครงการ ดังนี้ ตัวชี้วัดโครงการ ประกอบด้วย - มีระบบการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจาก Google Mapping จำนวน 1 ระบบ (นวัตกรรม Happy Mapping) - มีการนำนวัตกรรม Happy Mapping ไปใช้ประโยชน์ในการทำงานระหว่างเดือน มีนาคม-สิงหาคม 2564 - ร้อยละ 90 ของผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม Happy Mapping - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังได้รับบริการสุขภาพผ่านการใช้นวัตกรรม Happy Mapping วิธีการประเมินผลตัวชี้วัดโครงการ - ประเมินเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน - ประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม - ประเมินจากทะเบียนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนเป้าหมายทั้งหมดเปรียบเทียบกับจำนวนผู้สูงอายุและ ผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้บริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม คำนวณจาก : จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้รับบริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม Happy Mapping x 100 / จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังทั้งหมดในชุมชน 3. นำโครงการนวัตกรรมฯ ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้อำนวยการสำนักอนามัยลงนาม และประสานนำส่งโครงการ ไปยังสำนักงาน ก.ก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ 4 โดยดำเนินการ ปักหมุดพื้นที่บ้านผู้ป่วย พร้อมใส่ข้อมูลรายละเอียดการเยี่ยมบ้าน แล้วเสร็จประมาณ ร้อยละ 95 ของจำนวนผู้ป่วยที่ต้องออกเยี่ยมบ้านทั้งหมดในชุมชนสีน้ำเงิน 1 และออกแบบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการนวัตกรรม Happy mapping และเตรียมการสำหรับ การสำรวจเพื่อสอบถามความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามขั้นตอนที่สำนักงาน ก.ก.กำหนด ดังนี้ 1. การค้นหาและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาหรือความต้องการที่จะพัฒนางาน 2. การคัดเลือกความคิดเห็น 1 ความคิดเห็น และส่งข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 ให้สำนักงาน ก.ก. 3. การนำเสนอโครงการนวัตกรรม โดยพัฒนาจากความคิดเห็นที่ได้รับการคัดเลือก จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์ม 3 และ 4 4. การพัฒนานวัตกรรมตามโครงการที่เสนอ 5. การจัดทำแบบสำรวจผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 6. รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(3) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)
[มิติที่ 4 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
5.00

0 / 0
4
10.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เวียนแจ้ง/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการในหน่วยงานร่วมเสนอความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบัติงานฯ (แบบฟอร์มที่ 1) จำนวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด โดยส่วนราชการที่เสนอความคิดเห็นนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 24 นวัตกรรม โดยเตรียมการจัดประชุมในวันที่ 4 มกราคม 2564 เพื่อพิจารณาคัดเลือกนวัตกรรม จำนวน 3 นวัตกรรม จากทั้งหมด 24 นวัตกรรม เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหาร ในการประชุมคณะผู้บริหารสำนักอนามัย เพื่อคัดเลือก 1 นวัตกรรม เพื่อดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 4

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นำเสนอโครงการนวัตกรรม Happy mapping ต่อคณะกรรมการนวัตกรรมของกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการฯ เสนอแนะให้ข้อแก้ไขและปรับปรุงตัวชี้วัดโครงการให้สอดคล้องการประเมินผล 2. ดำเนินการประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง (ผู้คิดค้นนวัตกรรม) ปรับปรุงแก้ไขโครงการนวัตกรรม Happy mapping โดยปรับแก้ไขรายละเอียดตัวชี้วัดโครงการ ดังนี้ ตัวชี้วัดโครงการ ประกอบด้วย - มีระบบการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจาก Google Mapping จำนวน 1 ระบบ (นวัตกรรม Happy Mapping) - มีการนำนวัตกรรม Happy Mapping ไปใช้ประโยชน์ในการทำงานระหว่างเดือน มีนาคม-สิงหาคม 2564 - ร้อยละ 90 ของผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม Happy Mapping - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังได้รับบริการสุขภาพผ่านการใช้นวัตกรรม Happy Mapping วิธีการประเมินผลตัวชี้วัดโครงการ - ประเมินเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน - ประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม - ประเมินจากทะเบียนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนเป้าหมายทั้งหมดเปรียบเทียบกับจำนวนผู้สูงอายุและ ผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้บริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม คำนวณจาก : จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้รับบริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม Happy Mapping x 100 / จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังทั้งหมดในชุมชน 3. นำโครงการนวัตกรรมฯ ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้อำนวยการสำนักอนามัยลงนาม และประสานนำส่งโครงการ ไปยังสำนักงาน ก.ก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ 4 โดยดำเนินการ ปักหมุดพื้นที่บ้านผู้ป่วย พร้อมใส่ข้อมูลรายละเอียดการเยี่ยมบ้าน แล้วเสร็จประมาณ ร้อยละ 95 ของจำนวนผู้ป่วยที่ต้องออกเยี่ยมบ้านทั้งหมดในชุมชนสีน้ำเงิน 1 และออกแบบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการนวัตกรรม Happy mapping และเตรียมการสำหรับ การสำรวจเพื่อสอบถามความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามขั้นตอนที่สำนักงาน ก.ก.กำหนด ดังนี้ 1. การค้นหาและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาหรือความต้องการที่จะพัฒนางาน 2. การคัดเลือกความคิดเห็น 1 ความคิดเห็น และส่งข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 ให้สำนักงาน ก.ก. 3. การนำเสนอโครงการนวัตกรรม โดยพัฒนาจากความคิดเห็นที่ได้รับการคัดเลือก จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์ม 3 และ 4 4. การพัฒนานวัตกรรมตามโครงการที่เสนอ 5. การจัดทำแบบสำรวจผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 6. รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(4) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)
[มิติที่ 4 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบที่ 4)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
5.00

0 / 0
4
10.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เวียนแจ้ง/ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการในหน่วยงานร่วมเสนอความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานตามแบบฟอร์มการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบัติงานฯ (แบบฟอร์มที่ 1) จำนวนไม่น้อยกว่า 20 ชุด ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด โดยส่วนราชการที่เสนอความคิดเห็นนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 24 นวัตกรรม โดยเตรียมการจัดประชุมในวันที่ 4 มกราคม 2564 เพื่อพิจารณาคัดเลือกนวัตกรรม จำนวน 3 นวัตกรรม จากทั้งหมด 24 นวัตกรรม เพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหาร ในการประชุมคณะผู้บริหารสำนักอนามัย เพื่อคัดเลือก 1 นวัตกรรม เพื่อดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 4

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นำเสนอโครงการนวัตกรรม Happy mapping ต่อคณะกรรมการนวัตกรรมของกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการฯ เสนอแนะให้ข้อแก้ไขและปรับปรุงตัวชี้วัดโครงการให้สอดคล้องการประเมินผล 2. ดำเนินการประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง (ผู้คิดค้นนวัตกรรม) ปรับปรุงแก้ไขโครงการนวัตกรรม Happy mapping โดยปรับแก้ไขรายละเอียดตัวชี้วัดโครงการ ดังนี้ ตัวชี้วัดโครงการ ประกอบด้วย - มีระบบการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจาก Google Mapping จำนวน 1 ระบบ (นวัตกรรม Happy Mapping) - มีการนำนวัตกรรม Happy Mapping ไปใช้ประโยชน์ในการทำงานระหว่างเดือน มีนาคม-สิงหาคม 2564 - ร้อยละ 90 ของผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม Happy Mapping - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังได้รับบริการสุขภาพผ่านการใช้นวัตกรรม Happy Mapping วิธีการประเมินผลตัวชี้วัดโครงการ - ประเมินเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน - ประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม - ประเมินจากทะเบียนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนเป้าหมายทั้งหมดเปรียบเทียบกับจำนวนผู้สูงอายุและ ผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้บริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม คำนวณจาก : จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้รับบริการสุขภาพผ่านนวัตกรรม Happy Mapping x 100 / จำนวนผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรังทั้งหมดในชุมชน 3. นำโครงการนวัตกรรมฯ ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้อำนวยการสำนักอนามัยลงนาม และประสานนำส่งโครงการ ไปยังสำนักงาน ก.ก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ 4 โดยดำเนินการ ปักหมุดพื้นที่บ้านผู้ป่วย พร้อมใส่ข้อมูลรายละเอียดการเยี่ยมบ้าน แล้วเสร็จประมาณ ร้อยละ 95 ของจำนวนผู้ป่วยที่ต้องออกเยี่ยมบ้านทั้งหมดในชุมชนสีน้ำเงิน 1 และออกแบบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการนวัตกรรม Happy mapping และเตรียมการสำหรับ การสำรวจเพื่อสอบถามความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามขั้นตอนที่สำนักงาน ก.ก.กำหนด ดังนี้ 1. การค้นหาและรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาหรือความต้องการที่จะพัฒนางาน 2. การคัดเลือกความคิดเห็น 1 ความคิดเห็น และส่งข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 ให้สำนักงาน ก.ก. 3. การนำเสนอโครงการนวัตกรรม โดยพัฒนาจากความคิดเห็นที่ได้รับการคัดเลือก จัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์ม 3 และ 4 4. การพัฒนานวัตกรรมตามโครงการที่เสนอ 5. การจัดทำแบบสำรวจผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 6. รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **