ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
อยู่ระหว่างดำเนินการแต่งตั้งคณะทำงานโครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงาน ก.ก. ตามคำสั่งสำนักงาน ก.ก. ที่ 1/2564 ลงวันที่ 6 มกราคม 2564 เพื่อคัดเลือกโครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการ จำนวน 27 โครงการ/กิจกรรม โดยจะจัดประชุมเพื่อคัดเลือกโครงการ/กิจกรรมฯ ในวันที่ 7 ม.ค.64 จำนวน 1 โครงการของสำนักงาน ก.ก. เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการนวัตกรรมฯ ของกรุงเทพมหานครต่อไป
ทดลองใช้ระบบการลงเวลาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Application) และประเมินผลการใช้งานระบบ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการปรับรูปแบบการทำงานของกรุงเทพมหานคร
ทดลองใช้ระบบการลงเวลาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Application) และประเมินผลการใช้งานระบบ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการปรับรูปแบบการทำงานของกรุงเทพมหานคร
ดำเนินการตามตัวชี้วัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยใช้ระบบการลงเวลาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 เดือน โดยเริ่มใช้ระบบฯ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 และมีการนำข้อมูลเรื่องเวลาการทำงานผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนของสำนักงาน ก.ก. จำนวน 1 ครั้ง เพื่อประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครั้งที่ 2 (1 ตุลาคม 2564)
นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธี และรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดำเนินงาน และการให้บริการ อันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน การเพิ่มประสิทธิภาพในหารปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มความสามารถ หรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และคุณภาพ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัคิงานและผู้รับบริการ
การประเมินการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน พิจารณาจากระดับความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมชิงแต่ละหน่วยงาน ตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การต้นหา และรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกความคิดเห็นจากขั้นตอนที่ 1 โดยคณะผู้บริหาร/คณะทำงานของแต่ละหน่วยงาน กำหนดให้แต่ละหน่วยงานพิจารณาเลือกเพียง 1 ความคิดเห็น เพื่อนำมาพัฒนาหรือปรับปรุงการทำงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ขั้นตอนที่ 3 การนำเสนอโครงการ โดยหน่วยงานนำแนวคิดที่ได้รับจากการคัดเลือกตามขั้นตอนที่ 2 มาจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ 1 โครงการ พร้อมจัดทำแบบฟอร์มนำเสนอโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ เพื่อเสนอคณะกรรมการนวัตกรรมกรุงเทพมหานครพิจารณาต่อไป ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนานวัตกรรมฯ ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำแบบสำรวจกาารนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
จากเอกสารแบบฟอร์มตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๒.๒ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ |