รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน : 5018-2001

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00
0
0 / 0
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนต.ค. 63 - แจ้งประชาสัมพันธ์เพื่อให้แต่ละฝ่ายร่วมเสนอความคิดเห็นการพัฒนา ปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เดือนพ.ย. 63 - ให้ทุกฝ่ายส่งแนวความคิดนวัตกรรมหน่วยงานละ 1 แนวความคิด เดือนธ.ค. 63 - แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงานของสำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประชุมคัดเลือกแนวความคิดนวัตกรรม ตามแบบฟอร์ม 1 จำนวน 15 นวัตกรรมให้เหลือเพียง 1 นวัตกรรม โดยคณะทำงานฯ สรุปรายละเอียดบันทึกการคัดเลือกตามแบบฟอร์มที่ 2 สรุปที่ประชุมพิจารณาคัดเลือกนวัตกรรมการให้บริการด้วย Line Official Account สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ฝ่ายปกครองเป็นผู้รับผิดชอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการลงข้อมูลเดือนม.ค.-มี.ค. 64 ให้เป็นปัจจุบัน และจัดทำโครงการฯ เพื่อส่งให้คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรอง โดยโครงการฯ ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการเรียบร้อยแล้วและดำเนินการตามโครงการตั้งแต่เดือนเม.ย. 64 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาส 3 - ดำเนินการเดือนเม.ย.-มิ.ย. 64 ได้นำนวตกรรมของโครงการผ่าน Line Official Account (bangkokyai_bkk) เสนอต่อผู้บริหาร มีจำนวนผู้ใช้บริการผ่านระบบมากขึ้นกว่า 200 รายต่อเดือน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายของโครงการและมีการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โดยได้รับการตอบรับจากประชาชนเป็นอย่างดี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาส 4 - สำนักงานเขตได้นำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ตั้งแต่เริ่มโครงการเดือนมี.ค. -เดือนส.ค. 2564 มีจำนวนผู้ใช้บริการผ่านระบบ Line Official Account (bangkokyai_bkk) จำนวน 2,778 ราย มีการทำรายงานเสนอผู้บริหารทราบทุกเดือน การวัดระดับความพึงพอใจผู้ใช้บริการ อยู่ที่ระดับ 5 สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ได้ส่งรายงานแบบฟอร์มที่กำหนด 1-5 เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร หมายถึง ภารกิจหลักของหน่วยงานที่มีความสอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายเป้าประสงค์การพัฒนารวมทั้งตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย และโครงการ/กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

คะแนนรวม = ส่วนที่ 1+ ส่วนที่ 2 + ส่วนที่ 3 เมื่อได้คะแนนรวมแล้ว จึงนำผลที่ได้มาเทียบหารระดับคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดการเสนอนวัตรกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เทียบระดับคะแนนที่จะได้รับตามช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ระดับความสำเร็จ ระดับที่ 1 (60 คะแนน) ระดับที่ 2 (70 คะแนน) ระดับที่ 3 (80 คะแนน) ระดับที่ 4 (90 คะแนน) ระดับที่ 5 (100 คะแนน) ความสำเร็จในการเสนอนวัตรกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ฺBMA Digital Plans 2. BMA Monitor Application

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๑ มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง