รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรมและระดับความเชื่อมั่นในความปลอดภัยจากอาชญากรรมโดยเฉลี่ยของประชาชนในกรุงเทพมหานคร : 5034-968

ค่าเป้าหมาย นิยาม จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรว : 0

ผลงานที่ทำได้ นิยาม จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรว : 75

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 85

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(นิยาม จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรว)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
85
85 / 100
2
50.00
85
85 / 100
3
75.00

0 / 0
4
0.00
85
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมการก่ออาชญากรรม รายละเอียดผลการดำเนินการ พื้นที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายมีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน มีการสำรวจและจัดทำบัญชีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน จำนวน 7 จุด และขอรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัย มีรายละเอียดดังนี้คือ ประจำเดือนตุลาคม 2564 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนธันวาคม 2564 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ จำนวน 80 ครั้ง (จำนวน 4 โรงเรียน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) เปิดเฉพาะโรงเรียนระดับมัธยม รวม 20 วันทำการ 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประจำเดือนมกราคม 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 504 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 168 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนมีนาคม 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ จำนวน 80 ครั้ง (จำนวน 4 โรงเรียน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) เปิดเฉพาะโรงเรียนระดับมัธยม รวม 20 วันทำการ 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประจำเดือนเมษายน 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ - ได้ดำเนินการตามแผนฯ ครบถ้วนทุกรายงานตามแบบ 1-6 ตามหลักเกณฑ์และตามแผนทุกขั้นตอน ครบถ้วน (ประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) และได้จัดส่งรายงานประจำเดือนไปยังสำนักเทศกิจ ครบถ้วน และรายงานภายในกำหนด ประจำเดือนพฤษภาคม 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ - ได้ดำเนินการตามแผนฯ ครบถ้วนทุกรายงานตามแบบ 1-6 ตามหลักเกณฑ์และตามแผนทุกขั้นตอน ครบถ้วน (ประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) และได้จัดส่งรายงานประจำเดือนไปยังสำนักเทศกิจ ครบถ้วน และรายงานภายในกำหนด ประจำเดือนมิถุนายน 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ - ได้ดำเนินการตามแผนฯ ครบถ้วนทุกรายงานตามแบบ 1-6 ตามหลักเกณฑ์และตามแผนทุกขั้นตอน ครบถ้วน (ประสานงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) และได้จัดส่งรายงานประจำเดือนไปยังสำนักเทศกิจ ครบถ้วน และรายงานภายในกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ที่รกทึบและการทำความสะอาดพื้นที่ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมประสานขอข้อมูล สน.พื้นที่ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 1 และข้อ 2 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย การดูแลตัดต้นไม้และการทำความสะอาดพื้นที่ แบบ 1 โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขต 2.2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย แบบ 2 โดยฝายโยธา สำนักงานเขต เช่น ไฟฟ้าส่องสว่าง มอบ ฝ่ายโยธา และกล้องวงจรปิด (CCTV) โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.3 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม แบบ 3 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.4 ผลการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ แบบ 4 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต -2- 2.5 ผลการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) แบบ 5 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร แบบ 6 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต ประสานขอข้อมูล สน.พื้นที่ 2.7 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.6 รายงานให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน) 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (30 คะแนน)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ความสำเร็ํจของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตรา จุดเสี่ยงภัย X 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 1 และข้อ 2 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย การดูแลตัดต้นไม้และการทำความสะอาดพื้นที่ แบบ 1 โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ สำนักงานเขต 2.2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย แบบ 2 โดยฝายโยธา สำนักงานเขต เช่น ไฟฟ้าส่องสว่าง มอบ ฝ่ายโยธา และกล้องวงจรปิด (CCTV) โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.3 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม แบบ 3 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.4 ผลการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ แบบ 4 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต -2- 2.5 ผลการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) แบบ 5 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต 2.6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร แบบ 6 โดยฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขต ประสานขอข้อมูล สน.พื้นที่ 2.7 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.6 รายงานให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน) 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (30 คะแนน)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง