ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service : 08000000-7082

สำนักอนามัย : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

กองสุขาภิบาลอาหาร

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครโดยสำนักอนามัย และสำนักงานเขต ได้ดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย และให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสถานประกอบการอาหารที่สามารถพัฒนาจนผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ระดับ 3 ดาว) เพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง และนับจากในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีสถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 ดังนั้น กรุงเทพมหานครจึงได้มีแนวคิดในการพัฒนายกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร โดยให้ความสำคัญในการจัดการสถานประกอบการอาหาร ให้มีการเตรียม ประกอบปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่โดยปกติสุขของประชาชน ไม่ก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญจากการประกอบกิจการอาหาร เช่น กลิ่น เสียง ความร้อน การระบายน้ำเสีย หรือฝุ่นละออง กอรปกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินโครงการและกิจกรรมเพื่อการลดและคัดแยกมูลฝอยอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้ประกาศเจตนารมณ์ “กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรชั้นนำในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มุ่งมั่นลดการใช้พลาสติกและโฟม โดยให้หน่วยงานกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ปลอดขยะพลาสติกและโฟม” สำนักอนามัยจึงได้มีการประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และกำหนดองค์ประกอบของเกณฑ์การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) 2) ด้านคุณภาพอาหาร (Food) 3) ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler) และ 4) ด้านการบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) โดยกำหนดให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มี 3 ระดับ คือ ระดับดี/เกรด C (ระดับ ๓ ดาว) ระดับดีมาก /เกรด B (ระดับ ๔ ดาว/Green Service) และระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ ๕ ดาว/Green Service Plus) ซึ่งกรุงเทพมหานครได้เริ่มดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยผลดำเนินการพบว่ามีสถานประกอบการสามารถพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน ๘,๖๘๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๐๖ ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด (๒๐,๑๖๖ ราย) ทั้งนี้ พบว่าสถานประกอบการอาหารประเภท ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท สามารถพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๔๐ และ ๖๕.๑๘ ตามลำดับ ส่วนสถานประกอบการอาหารประเภท ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และตลาด ยังมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๔๔ ร้อยละ ๑๒.๒๗ และร้อยละ ๔.๓๖ ตามลำดับ ดังนั้นเพื่อเป็นการขับเคลื่อนและผลักดันการดำเนินงานให้สถานประกอบการอาหารมีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) จึงได้จัดทำโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service เพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชน และลดมลภาวะสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากสถานประกอบกิจการอาหาร อีกทั้งเป็นการเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อันก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร

08960000/08960000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑) เพื่อพัฒนา ยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร ๒) เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ และสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการและประชาชนในการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ๓) เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมโครงการ (อย่างน้อยร้อยละ ๑๕ ของจำนวนสถานประกอบการอาหารประเภทตลาด ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถีทั้งหมด) มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ร้อยละ ๙๐

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-07)

100.00

07/09/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000 บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 20,750 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 169,250 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,625 บาท - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมฯ เวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2566 - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,125 บาท 3. ผู้อำนวยการสำนักอนามัย อนุมัติยกเลิกการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการจัดสถานประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร การฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับพี่เลี้ยงและผู้ประกอบการอาหาร การประกวดพี่เลี้ยงฯ และการมอบรางวัลพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต โดยจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แทน

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-06)

100.00

06/09/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000 บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 10,625 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 179,375 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,625 บาท - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมฯ เวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2566 3. ผู้อำนวยการสำนักอนามัย อนุมัติยกเลิกการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการจัดสถานประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร การฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับพี่เลี้ยงและผู้ประกอบการอาหาร การประกวดพี่เลี้ยงฯ และการมอบรางวัลพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต โดยจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แทน

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-15)

95.00

15/08/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000 บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 10,625 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 179,375 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,625 บาท - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำรายงานการประชุม 3. ผู้อำนวยการสำนักอนามัย อนุมัติยกเลิกการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการจัดสถานประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร การฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับพี่เลี้ยงและผู้ประกอบการอาหาร การประกวดพี่เลี้ยงฯ และการมอบรางวัลพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต โดยจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แทน

** ปัญหาของโครงการ :ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 ได้มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำเนื้อหาคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service และจัดทำรายละเอียดหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ทั้ง 2 หลักสูตร นำเสนอให้คณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณารายละเอียดในการประชุมครั้งถัดไป จึงทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมในโครงการฯ ได้ตามแผนปฏิบัติการภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้ โดยจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แทน กองสุขาภิบาลอาหารจึงได้จัดทำหนังสือขอความเห็นชอบยกเลิกกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการจัดสถานประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร การฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับพี่เลี้ยงและผู้ประกอบการอาหาร การประกวดพี่เลี้ยงฯ และการมอบรางวัลพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต ซึ่งผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้อนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมฯ ดังกล่าว เรียบร้อยแล้ว รายละเอียดปรากฏตามหนังสือที่ กท 0714/625 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2566 ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารได้มีหนังสือที่ กท 0714/672 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2566 ส่งสำเนาเอกสารการอนุมัติยกเลิกการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2566 ในระบบการบริหารแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) ให้กับสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 21.00 (2023-07-15)

21.00

15/07/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000 บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 10,625 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 179,375 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service 5% - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,625 บาท 3. อยู่ระหว่างการพิจารณาอนุมัติยกเลิกกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เนื่องจากการประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยมีผู้อำนวยการสำนักอนามัยเป็นประธานในการประชุมนั้น ที่ประชุมมีมติให้ฝ่ายเลขานุการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำเนื้อหาคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service และจัดทำรายละเอียดหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ทั้ง 2 หลักสูตร นำเสนอให้คณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณารายละเอียดในการประชุมครั้งถัดไป ซึ่งขณะนี้ฝ่ายเลขานุการอยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียดเนื้อหาคู่มือฯ และหลักสูตรฯ ดังกล่าว และกำหนดจัดประชุมคณะกรรมมการฯ ครั้งที่ 2/2566 ในวันที่ 9 สิงหาคม 2566 เพื่อพิจารณาเนื้อหาคู่มือฯ และหลักสูตรอบรมฯ จึงทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมในโครงการฯ ได้ตามแผนปฏิบัติการภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้ โดยจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แทน จึงได้จัดทำหนังสือขอความเห็นชอบยกเลิกกิจกรรมภายใต้โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการจัดสถานประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร การฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับพี่เลี้ยงและผู้ประกอบการอาหาร การประกวดพี่เลี้ยงฯ และการมอบรางวัลพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 21.00 (2023-06-14)

21.00

14/06/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000 บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 10,625 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 179,375 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 โดยจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meetings และจัดทำรายงานการประชุมเวียนแจ้งให้คณะกรรมการฯทราบเรียบร้อยแล้ว - ทำเรื่องเบิกจ่ายเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เป็นเงินจำนวน 10,625 บาท 3. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข - อยู่ระหว่างการจัดทำเนื้อหาคู่มือฯ

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 19.00 (2023-05-12)

19.00

12/05/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 190,000 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - อยู่ระหว่างเตรียมการจัดประชุมครั้งที่ 1 โดยกำหนดจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meet ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 3. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 17.00 (2023-04-14)

17.00

14/04/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 190,000 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - อยู่ระหว่างเตรียมการจัดประชุมครั้งที่ 1 โดยกำหนดจัดประชุมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม WebEx Meet ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2566 3. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการและเป็นไปตามระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ กองสุขาภิบาลอาหารจึงขออนุมัติปรับรายละเอียดแผนปฏิบัติการโครงการฯ (ระยะเวลาดำเนินการ) ตามบันทึกที่ กท 0714/298 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2566 ซึ่งได้รับการอนุมัติเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 16.00 (2023-03-15)

16.00

15/03/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 190,000 บาท) 1. ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service - อยู่ระหว่างวางแผนการจัดประชุมครั้งที่ 1 3. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 11.00 (2023-02-14)

11.00

14/02/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 190,000 บาท) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. - อยู่ระหว่างเสนอร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครลงนาม 2. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข -//-

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-31)

10.00

31/01/2566 : โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารอาหารสู่มาตรฐาน Green Service (งบประมาณที่ขอจำนวน 190,000บาท งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 190,000บาท, งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 190,000 บาท) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของ กทม. - อยู่ระหว่างเสนอร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครลงนาม 2. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหาร - กำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะของคู่มือฯ เรียบร้อยแล้ว - ได้รับความเห็นชอบในหลักการผลิตคู่มือฯ - ดำเนินการจัดจ้างและประสานบริษัทดำเนินการออกแบบปกคู่มือฯ - ได้รับความเห็นชอบรูปแบบก่อนการผลิตคู่มือฯ จากสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2023-01-19)

5.00

19/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. จัดทำแผนการดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ และประสานแจ้งสำนักงานเขตร่วมดำเนินการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. จัดประชุมคณะกรรมการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service ของกรุงเทพมหานคร ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 4 ครั้ง (ครึ่งวัน)
:10.00%
เริ่มต้น :2022-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการสถานประกอบการอาหารเข้าสู่มาตรฐาน Green Service สำหรับผู้ประกอบการอาหารและจัดซื้อวัสดุ เครื่องเขียน อุปกรณ์ดำเนินโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดกิจกรรมฝึกอบรมหลักสูตรบ่มเพาะผู้ประกอบการอาหารสู่มาตรฐาน Green Service แบบออนไลน์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์4.1 หลักสูตรฯ สำหรับพี่เลี้ยง (เจ้าหน้าที่) จำนวน 1 รุ่น (1 วัน)4.2 หลักสูตรฯ สำหรับผู้ประกอบการอาหาร จำนวน 1 รุ่น (ครึ่งวัน)
:40.00%
เริ่มต้น :2023-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-01-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. การประกวดพี่เลี้ยงมือโปร (Professional mentor) ระดับเขต
:25.00%
เริ่มต้น :2023-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. สรุปและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหาร
:10.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-7082

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-7082

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-6741

ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 1) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับ ดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Gre

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 10

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 18.75

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
5.44

0 / 0
3
8.05

0 / 0
4
18.75

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **